30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ผลลัพธจากการคํานวณ และขั้นตอนการหาคําตอบ<br />

(รูปที่<br />

2)<br />

จะไดดังนี้<br />

วันลาชาในการสงมอบ (T2) เทากับ 9 วัน เสียคาปรับในการสง<br />

มอบคาชา (F1) เทากับ 22,716 บาท เมื่อใชกระบวนการเรงรัดเวลานํา<br />

จะ<br />

ไดวันที่เรงไดเร็วที่สุด<br />

(ai) เทากับ 71 วัน จากวันสงมอบของผูคา<br />

(bi) 80<br />

วัน คิดเปนคาเรงการผลิต (R(L)) เทากับ 20,250 บาท และเปนคาใชจาย<br />

ทั้งหมด<br />

(Total Cost) เทากับ 21,050 บาท ดังนั้น<br />

เราจึงควรใชวิธีเรงรัด<br />

ชวงเวลานํา เพราะเสียคาใชจายนอยกวา และเพื่อขจัดความลาชาในการ<br />

สงมอบ และสรางความเชื่อมั่นใหกับลูกคา<br />

4. ผลการวิจัย<br />

จากผลการทดลองจากแบบจําลอง ความเหมาะสมของการ<br />

เรงรัดชวงเวลานําจะขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ<br />

คือคาใชจายในการ<br />

เรงรัด (ci) ปริมาณการสั่งซื้อ<br />

(D) ระยะเวลาลาชาในการขอใบอนุญาต<br />

ชั่วคราว<br />

(T1) ระยะเวลานําของผูคา<br />

(bi) อัตราคาปรับในการสงมอบลาชา<br />

(M) และคาใชจายอื่นๆของโรงงานในการเรงรัด<br />

(W) เชน คาขนสง คา<br />

จัดเก็บ ซึ่งคาใชจายรวม<br />

(Total Cost) จะแปรผันตามคาการเรงรัดชวงเวลา<br />

นํา ปริมาณความตองการของลูกคา และระยะเวลาลาชาในการขอ<br />

ใบอนุญาตชั่วคราว<br />

ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ<br />

[7] ที่กลาววา<br />

การเรงรัด<br />

ชวงเวลานําที่เหมาะสมจะขึ้นกับเงื่อนไขตางๆ<br />

คือ 1.คาใชจายในการเรง<br />

เวลานําจะตองเพิ่มขึ้นอยางชาๆ<br />

2.ความตองการของลูกคามีความไม<br />

แนนอนสูง และ3.ราคาสินคาขายตองมีมูลคาเพิ่มมาก<br />

โดยเมื่อปริมาณความตองการสินคาของลูกคาเพิ่มขึ้น<br />

ระยะเวลาเรงรัดจะเพิ่มขึ้นตามไปดวย<br />

ซึ่งเมื่อทําการเรงรัดชวงเวลานํา<br />

ของวัตถุดิบ จะทําใหคาใชจายรวมเพิ่มขึ้น<br />

และเมื่อเปรียบเทียบกับคาปรับ<br />

ในการสงสินคาลาชา จะมีจุดตัดที่ทําใหคาใชจายรวมในการเรงรัด<br />

ชวงเวลานํา มีคาสูงกวาคาปรับ ซึ่งเปนจุดที่ใชตัดสินใจในการเลือก<br />

วิธีการ วาจะเรงรัดเวลานําหรือยอมเสียคาปรับ ดังแสดงในรูปที่<br />

3<br />

รูปที่<br />

3 ความสัมพันธระหวางเวลานํากับคาใชจายรวม<br />

และเชนเดียวกัน ปริมาณความตองการสินคาของลูกคาก็จะ<br />

เปนตัวแปรในการตัดสินใจ ในการเรงรัดเวลานํา หรือยอมเสียคาปรับ ดัง<br />

แสดงในรูปที่<br />

4<br />

216<br />

รูปที่<br />

4 ความสัมพันธระหวางปริมาณความตองการกับคาใชจายรวม<br />

สวนความสัมพันธระหวางเวลานํากับคาใชจายรวม ตาม<br />

เงื่อนไขของ<br />

P2 - A - S ≤ 0 และ P2 - A - S > 0 แสดงใหเห็นวาในกรณี<br />

แรก จํานวนที่ตองผลิตในล็อตแรกจะเทากับปริมาณการสั่งซื้อ<br />

ดังนั้น<br />

คาใชจายรวมจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เทากันตามระยะเวลาที่ลาชา<br />

สวนใน<br />

กรณีที่สอง<br />

จํานวนที่ตองผลิตในล็อตแรกจะขึ้นอยูกับ<br />

ปริมาณการสั่งซื้อ<br />

จํานวนวันคงเหลือสําหรับการผลิต จํานวนวันที่ตรวจรับและจัดเก็บ<br />

และ<br />

อัตราการผลิต ดังนั้นคาใชจายรวมจะเพิ่มขึ้นอยางชาๆ<br />

ดังแสดงในรูปที่<br />

5<br />

รูปที่<br />

5 ความสัมพันธระหวางเวลานํากับคาใชจายรวม<br />

ตามเงื่อนไขของ<br />

P2 - A - S ≤ 0 และ P2 - A - S > 0<br />

จากผลการทดลองที่ผานมาแสดงใหเห็นวา<br />

การเลือกวิธีการที่<br />

จะทําใหเสียคาใชจายนอยที่สุดจะขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง<br />

แตถา<br />

จุดประสงคหลักของการขาย คือการสงมอบสินคาใหตรงเวลา เพื่อใหเกิด<br />

ความเชื่อมั่นกับลูกคา<br />

ทางโรงงานก็จะตองยอมเสียคาเรงรัดชวงเวลานํา<br />

ถึงแมวาจะมีคาใชจายมากกวาคาปรับในการสงสินคาลาชาก็ตาม<br />

และจากป 2553 มีความลาชาที่เกิดจากขั้นตอนที่<br />

2 (ขั้นตอน<br />

ขออนุญาตชั่วคราว)<br />

อยู<br />

4 รายการ ดังนั้นจึงนําวิธีเรงการผลิตของผูสง<br />

มอบมาใช ทําใหไดผลดังตารางที่<br />

2 และ3 ซึ่งชวยลดปญหาการสงมอบ<br />

สินคาลาชาลงได

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!