30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

3. การออกแบบวิธีการวัดความขรุขระผิว<br />

การวัดคาความขรุขระผิว จะวัดหนาผิวไมตาลโตนดที่ผานการ<br />

กัดปาดผิวหนาดวยเครื่องวัดความขรุขระผิว<br />

ในแตละคาของสภาวะการ<br />

กัดจะทําการวัดซ้ํา<br />

5 ครั้ง<br />

เพื่อหาคาเฉลี่ยโดยคาที่วัดไดมีคาความหยาบผิว<br />

คือ Ra = คาเฉลี่ยทางเลขคณิต<br />

รูปที่<br />

5 ชวงการวัดชิ้นงาน<br />

4. วิธีดําเนินงานวิจัย<br />

การดําเนินงานวิจัยแบงออกเปน 4 ขั้นตอนดังนี้<br />

ขั้นตอนที่<br />

หนึ่ง<br />

หาขนาดสิ่งตัวอยางในการกัด<br />

ขั้นตอนที่สองศึกษาปจจัยที่คาดวา<br />

มีผลตอความขรุขระผิวในการกัดปาดผิวหนาไมตาลโตนด ขั้นตอนที่สาม<br />

ทดลองปรับตัวแปรเพื่อหาคาความขรุขระผิวและเพื่อหาสมการ<br />

ที่เหมาะสมที่ใชในงานกัด<br />

และขั้นตอนสุดทาย<br />

เปนการทดลองเพื่อ<br />

ยืนยันผล<br />

การทดลองตอนที่<br />

1 หาขนาดสิ่งตัวอยางในการกัดออกแบบ<br />

การทดลองโดยใชโปรแกรม มินิแทบ รุน<br />

15 ใชสถิติในการวิเคราะห<br />

ขอมูลที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95% ที่ระดับนัยสําคัญ<br />

5%<br />

การทดลองตอนที่<br />

2 การทดลองเบื้องตน<br />

เพื่อทําการศึกษา<br />

ปจจัยที่คาดวาจะมีผลตอความขรุขระของผิวไมตาลโตนด<br />

โดยใชสถิติใน<br />

การวิเคราะหผลการทดลอง และใชหลักการวิเคราะหขอมูลแบบแผนการ<br />

ทดลองแบบสุมสมบูรณ<br />

ทดลองซ้ํา<br />

8 ครั้ง<br />

และวัดซ้ํา<br />

3 ครั้ง<br />

เพื่อลดความ<br />

แปรปรวนของตัวอยาง ศึกษาปจจัยที่คาดวามีผลตอความขรุขระผิว<br />

และ<br />

ใชโปรแกรมมินิแทป รุน<br />

15 ชวยในการคํานวณคาทางสถิติ และทําการ<br />

วิเคราะหผลการทดลองหลายปจจัยแบบ 2 4 โดยคาสถิติที่ใชในการ<br />

วิเคราะหขอมูลคือ อัตราความเปลี่ยนแปลง<br />

(F-Ratio) และที่ระดับความ<br />

เชื่อมั่น<br />

95 เปอรเซ็นต และที่ระดับนัยสําคัญ<br />

5 เปอรเซ็นต (α = 0.05)<br />

กําหนดปจจัย 4 ปจจัย ประกอบดวยทิศทาง การกัดเทียบกับแนวเสี้ยนไม<br />

2 ระดับ คือ 0 องศา และ 90 องศา คาอัตราการปอน 2 ระดับ คือ 0.03 และ<br />

0.05 มิลลิเมตร/ฟน คาความเร็วรอบ 2 ระดับ คือ 800 และ 1000 รอบ/<br />

นาที คาความลึกในการกัด 2 ระดับ คือ 1 มิลลิเมตร และ 3 มิลลิเมตร<br />

ผลตอบสนองเปนคาความขรุขระผิวไมตาลโตนด<br />

3<br />

่ ตารางที 1 กําหนดคาตัวแปรเบื้องตนสําหรับการทดลอง<br />

Factor High Low<br />

Speed (rpm) 1000 800<br />

Feed (mm/tooth) 0.05 0.03<br />

Depth (mm) 3 1<br />

Angle (degree) 90 0<br />

การทดลองตอนที่<br />

3 การทดลองเพื่อปรับตัวแปรเพื่อหาความ<br />

ขรุขระผิวครั้งที่หนึ่งที่มีผลตอการทดลอง<br />

และเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสม<br />

ในการกัด โดยกําหนดความเร็วรอบ 3 ระดับ คือ 800, 1000, 1200 รอบ/<br />

นาที กําหนดอัตราปอน 3 ระดับ คือ 0.03, 0.04 และ 0.05 มิลลิเมตร/ฟน<br />

กําหนดคาคงที่ทิศทางการกัดที่<br />

0 องศา กําหนดคาคงที่ความลึกในการกัด<br />

ที่<br />

1 มิลลิเมตร เนื่องจากการทดลองเบื้องตนพบวา<br />

ทิศทางการกัด<br />

และความลึกในการกัด ไมมีผลตอความขรุขระผิว และนําขอมูลที่ไดจาก<br />

การทดลองหาสภาวะที่เหมาะสมในการกัด<br />

่ ่ ่ ตารางที 2 กําหนดคาตัวแปรสําหรับการทดลองตอนที 3 ครั้งที<br />

1<br />

Factor Level 1 Level 2 Level 3<br />

Speed (rpm) 1200 1000 800<br />

Feed (mm/tooth) 0.05 0.04 0.03<br />

Depth (mm) 1 1 1<br />

Angle (degree) 0 0 0<br />

การทดลองตอนที่<br />

4 การทดลองเพื่อยืนยันผล<br />

เปนการทดลอง<br />

เพื่อยืนยันวา<br />

ผลการทดลองใหการทดลองที่สอดคลองกัน<br />

โดยเปนการนํา<br />

สมการเชิงเสนจากสมการการทดลองตอนที่<br />

3 นํามาพยากรณสภาวะการ<br />

กัดผิวหนาไมตาลโตนดที่เกิดจาการสุมเลือก<br />

เพื่อนํามาเปรียบเทียบกับ<br />

คาที่ไดจากการทดลอง<br />

5. ผลการดําเนินงานวิจัย<br />

ผลการทดลองวิเคราะหผลการทดลองตอนที่<br />

1 เพื่อหาขนาด<br />

สิ่งตัวอยางในการกัด<br />

ใชโปรแกรม มินิแทบ รุน<br />

15 ออกแบบการทดลอง<br />

ใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95% ที่ระดับนัยสําคัญ<br />

5% โดยการเก็บขอมูลจากอัตราปอน 0.03 มิลลิเมตร/ฟน ความเร็วรอบ<br />

1000 รอบ/นาที ความลึกในการกัด 2 มิลลิเมตร ทิศทางในการกัด 0 องศา<br />

ทดลองซ้ําในสภาวะการกัด<br />

12 ครั้ง<br />

หาคาเฉลี่ยของความขรุขระผิว<br />

เทากับ 2.75 µm หาคาความเบี่ยงเบนมาตรฐานไดเทากับ<br />

0.732 µm<br />

ผลการหาขนาดสิ่งตัวอยางกับ<br />

6 ตัวอยาง<br />

ผลการทดลองและวิเคราะหผลการทดลองตอนที่<br />

2 การ<br />

วิเคราะหคาความแปรปรวนจากการทดลองวัดความขรุขระผิวตามที่ได<br />

ออกแบบไวไดผลวา R 2 มีคาเทากับ 67.71 % และคา Adjust R 2 มีคา<br />

เทากับ 59.10 % ซึ่งมีความหมายวาถาหากความแปรปรวนในขอมูลมี<br />

100<br />

µm 2 แลวความแปรปรวน 67.71 % µm 2 สามารถอธิบายไดดวยตัวแบบ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!