ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

208 การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554 วันที่ 8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ การนําระบบการผลิตแบบโตโยตามาใชในกระบวนการประกอบแบตเตอรี่รถยนต Implementing the Toyota Production System in Automotive Battery Assembly Process สมพร จุลวรรณ 1 อนันต มุงวัฒนา 2 และปวิณ สุวแข 3 1, 2, 3 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 50 ถ.งามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0-2942-8555 ตอ 1603 E-mail: 1 dolphin_jibs@hotmail.com, 2 fenganm@ku.ac.th, 3 pawinsuwakae@gmail.com บทคัดยอ งานวิจัยฉบับมีวัตถุประสงคเพื่อ ลดชวงเวลานําใน กระบวนการผลิตแบตเตอรี่ โดยระบบการผลิตในปจจุบันที่ใช คือระบบ การผลิตแบบผลัก จากเงื่อนไขดังกลาวทําใหชวงเวลานําสงแบตเตอรี่สูง ถึง 22.5 วัน สําหรับแบตเตอรี่รุน A และ รุน B ตามลําดับ และชวงเวลานํา ที่ยาวนานเปนผลมาจาก การเก็บสต็อกแบตเตอรี่ในกระบวนการผลิต ที่มากเกินไป เพราะเมื่อแบตเตอรี่ถูกเก็บไวเปนเวลานาน จะทําใหโวลต ตก และตองนําไปรี่ชารจไฟใหม จากปญหาขางตนจึงนําระบบการผลิต แบบโตโยตามาใชแทนที่ระบบการผลิตแบบผลัก ดวยเทคนิคตางๆ เชน ระบบคัมบัง การเฮจุงกะ เปนตน ผลจากการประยุกตใชทําใหสามารถลด ชวงเวลานํา ลดลงเปน 11.9 วัน สําหรับแบตเตอรี่รุน A และ 14.2 วัน สําหรับแบตเตอรี่รุน B ตามลําดับ คําสําคัญ: ระบบการผลิตแบบโตโยตา, คัมบัง, เฮจุงกะ Abstract This research aims at reducing the production lead time of battaries. Currently, the manufacturing system which is used to produces these battaries is under the push system. With such operating conditions, the lead times are 22.5 days for Model A and for B, respectively. The long lead time is caused by the excessive stock of battaries in the manufacturing system. In addition, when battaries are kept for a long period of time, the voltage will drop. In turn, the battaries would have to be recharged. From the above problem, the Toyota Production System (TPS) is implemented to the manufacturing system to replace the push system. Many techniques such as kanban, heijunka, etc. are implemented to the manufacturing system. As a result, the production lead times are reduced to 11.9 days for Model 80B26L and 14.2 days for B, respectively. Keywords: manuscript format, font size, font style 1. บทนํา ในปจจุบันบริษัทผูผลิตแบตเตอรี่รถยนตรายหนึ่งซึ่งผลิต แบตเตอรี่ใหกับกลุมลูกคาอีซูซุพบปญหาการมีชวงเวลานําใน กระบวนการการประกอบแบตเตอรี่รถยนต (Automotive Battery Assembly Process) กระบวนการชารจไฟ (Jar-formation Process) และ กระบวนการขั้นสุดทาย (Finishing Process) สูง โดยชวงเวลานํารวมโดย เฉลียของทั้ง 3 กระบวนการนี้สูงถึง 22.5 วัน ซึ่งถาเที่ยบกับ กลุมโตโยตา จะมีชวงเวลานํารวมโดยเฉลียในกระบวนการที่เหมือนกันนี้เทากับ 16.5 วัน ซึ่ง 3 กระบวนการนี้ยิ่งมีชวงเวลานําสงสูงมากเทาไหรก็จะสงผล กระทบตอการบริหารพื้นที่ในการจัดเก็บแบตเตอรี่ สูญเสียพื้นที่เก็บไป โดยเปลาประโยชน แบตเตอรี่ที่เก็บไวจะมีปญหาเรื่องโวลตต่ําเนื่องจาก การเก็บไวนาน และตองนํากลับมาชารจไฟใหม ซึ่งปญหาเหลานี้สงผล ตอบริษัทในดานการควบคุมคุณภาพ และสูญเสียเวลาในการแกไขปญหา ดังนั้นทางบริษัทไดนําแนวคิดระบบการผลิตแบบโตโยตามาเพื่อ แกปญหาดังกลาวใน 3 กระบวนการนี้ Valerie Tardif [1] ไดนําเสนอระบบคัมบังที่สามารถ ปรับเปลี่ยนระดับสินคาคงคลัง และ backorder ไดโดยที่จํานวนบัตรคัม บังนั้นยังคงมีเทาเดิม P.Shahabudeen [2] ไดเสนอแนวทางในการกําหนด จํานวนบัตรคัมบังใน และขนาดของ lot size แตละสถานีงานที่ทําใหเกิด ประสิทธิภาพในการทํางานมากที่สุด Gravel, Marc [3] แสดงใหเห็นวา ระบบคัมบังสามารถนํามาปรับใชกับการผลิตแบบ job shop ได 2. ทฤษฎีที่เกี่ยวของ 2.1 ระบบคัมบัง (Kanban System) [4] เปนคําสั่งในการผลิต และขนยายชิ้นสวน เปนเครื่องมือ สําหรับการควบคุมดวยสายตา เพื่อปองกันความสูญเปลา จากการผลิต เกินความจําเปน เพื่อแสดงความคืบหนา และเพื่อตรวจหาสาเหตุการลาชา ของกระบวนการ เปนเครื่องมือสําหรับการปรับปรุง และเปนวิธีการ สําหรับปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในการผลิต แบงออกเปน 4 ประเภท คือ คัมบังสั่งผลิต คัมบังเบิกถอน คัมบังชั่วคราว และอิเล็กทรอนิกสคัมบัง

สูตรที่ใชในการคํานวณจํานวนคัมบังสั่งผลิตในระบบการผลิตแบบสะสม จํานวนคัมบังคือ จํานวนคัมบัง = {ความตองการตอรอบของเฮจูงกะ + ชวงเวลา นํา (คือ ชวงเวลานําของขอมูล + ชวงเวลานําของกระบวนการ + ชวงเวลา ปรับตั้งเครื่อง) + อัตราการแกวงของลูกคา } / จํานวนแบตเตอรี่ตอพาเลท (1) สูตรที่ใชในการคํานวณจํานวนคัมบังเบิกถอน จํานวนคัมบังนอยสุด = จํานวนแบตเตอรี่ตอวัน / จํานวน แบตเตอรี่ตอพาเลท (2) จํานวนคัมบังมากสุด = (1 รอบการดึงจากตูพักคัมบัง + รอย ละคา กวง + จํานวนที่หยุดนิ่งในกลองพักคัมบัง + การจัดคัมบังในตูเฮจุง กะ + ชวงเวลานําในการเตรี่ยมความพรอม + สวนตางวันทํางาน + สต็อก เผื่อความปลอดภัย) / จํานวนแบตเตอรี่ตอพาเลท (3) 2.2 วิธีการผลิตแบบกําหนดจํานวนคัมบัง เพื่อทําการสั่งผลิต (Fix Quantity) คือ การกําหนดปริมาณหรือจํานวนของงานที่จะทําการผลิต ในแตละครั้ง โดยระบบการผลิตแบบสะสมจํานวนมีวิธีการคํานวณ ชวงเวลานําคือ ชวงเวลานําแบบสะสมจํานวน = ความตองการตอรอบของ เฮจูงกะ + จํานวนสะสม + ชวงเวลานํา (ประกอบไปดวย: ชวงเวลานําของ ขอมูล+ชวงเวลานําของกระบวนการ + ชวงเวลาปรับตั้งเครื่อง) + อัตรา การแกวงของลูกคา (4) 2.3 แผนผังกระบวนการไหลของวัตถุดิบและขอมูล (Material and Information Flow Chart: MIFC) เครื่องมือในการควบคุมกระบวนการผลิตใหเปนระบบการ ผลิตแบบทันเวลา เพื่อหาและขจัดจุดชะงักของขอมูลและชิ้นงานโดยจะ แสดงกระบวนการไหลของวัตถุดิบและขอมูลกระบวนการตางๆ เชน วิธีการสั่งผลิตในกระบวนการ รอบของคัมบังลูกคา วิธีการรับขอมูลการ สั่งซื้อของลูกคา วิธีการเตรี่ยมสินคาสําหรับจัดสงวาทําอยางไร เมื่อไร มี ความถี่กี่ครั้งตอวัน และจํานวนตอรอบการดึงเปนปริมาณเทาไร เปนตน 3. การประยุกตใชระบบการผลิตแบบโตโยตากับแบตเตอรี่ อีซูซุรุน A และ รุน B แบตเตอรี่ที่บริษัทไดผลิตใหกับบริษัทอีซูซุมีดวยกัน 4 รุน 209 ่ ตารางที 1 ปริมาณการสั่งแบตเตอรี่ในแตละรุน ตั้งแตเดือน มกราคม ถึง เดือนกรกฎาคม 2553 (หนวย : เปอรเซ็น) รุน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. A 185 94 101 93 98 102 112 B 156 105 105 107 100 98 114 C 300 - - 109 67 76 125 D 125 100 - - - - - จากตารางที่ 1 แสดงปริมาณการสั่งผลิตแบตเตอรี่ในแตละรุน จากบริษัทอีซูซุ ซึ่งจะเห็นวาแบตเตอรี่รุน A และ B มีการสั่งผลิตที่สมํา เสมอ ซึ่งเหมาะสมจะนํามาศึกษา 3.1 รายงานผลชวงเวลานําในการเก็บสต็อกและชวงเวลานํา รวมกอนจัดทําระบบการผลิตแบบโตโยตา (ขณะใช ระบบการผลิตแบบผลัก ) รายงานผลชวงเวลานําของขอมูล ชวงเวลานําของ กระบวนการ และชวงเวลานําของสต็อก ตั้งแตคลังสินคา กระบวนการ ขั้นสุดทาย กระบวนการชารจไฟ และ กระบวนการประกอบแบตเตอรี่ รถยนต COS-8 ซึ่งเก็บสต็อกแบตเตอรี่แหง ดังแสดงในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ชวงเวลานํารวมของแบตเตอรี่อีซูซุ ขณะบริหารงานภายใตระบบการผลิตแบบผลัก การบวนการ (Process) ชวงเวลานํา (Lead Time) สตอก แบตเตอรี่ แหง ชารจไฟ ขั้น สุดทาย คลังสินคา สําเร็จรูป รวม (วัน) ขอมูล 3.5 3.3 0.004 0.2 7.0 กระบวนการ 2.0 1.0 0.3 0.2 3.5 สตอก 4.0 3.0 5.0 - 12.0 รวม (วัน) 22.5 3.2 คํานวณจํานวนคัมบังที่นํามาใชในแตละกระบวนการ ในเดือนมกราคม 2554 คํานวณจํานวนคัมบังจากตารางการคํานวณในกระบวนการ ขั้นสุดทาย กระบวนการชารจไฟ และ กระบวนการประกอบรถยนต COS-8 ของแบตเตอรี่อีซูซุแตละรุน ดังตารางที่ 3 และ ตารางที่ 4

208<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

การนําระบบการผลิตแบบโตโยตามาใชในกระบวนการประกอบแบตเตอรี่รถยนต<br />

Implementing the Toyota Production System in Automotive Battery Assembly Process<br />

สมพร จุลวรรณ 1 อนันต มุงวัฒนา<br />

2 และปวิณ สุวแข 3<br />

1, 2, 3<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

50 ถ.งามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

โทรศัพท: 0-2942-8555 ตอ 1603 E-mail: 1 dolphin_jibs@hotmail.com, 2 fenganm@ku.ac.th, 3 pawinsuwakae@gmail.com<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยฉบับมีวัตถุประสงคเพื่อ<br />

ลดชวงเวลานําใน<br />

กระบวนการผลิตแบตเตอรี่<br />

โดยระบบการผลิตในปจจุบันที่ใช<br />

คือระบบ<br />

การผลิตแบบผลัก จากเงื่อนไขดังกลาวทําใหชวงเวลานําสงแบตเตอรี่สูง<br />

ถึง 22.5 วัน สําหรับแบตเตอรี่รุน<br />

A และ รุน<br />

B ตามลําดับ และชวงเวลานํา<br />

ที่ยาวนานเปนผลมาจาก<br />

การเก็บสต็อกแบตเตอรี่ในกระบวนการผลิต<br />

ที่มากเกินไป<br />

เพราะเมื่อแบตเตอรี่ถูกเก็บไวเปนเวลานาน<br />

จะทําใหโวลต<br />

ตก และตองนําไปรี่ชารจไฟใหม<br />

จากปญหาขางตนจึงนําระบบการผลิต<br />

แบบโตโยตามาใชแทนที่ระบบการผลิตแบบผลัก<br />

ดวยเทคนิคตางๆ เชน<br />

ระบบคัมบัง การเฮจุงกะ เปนตน ผลจากการประยุกตใชทําใหสามารถลด<br />

ชวงเวลานํา ลดลงเปน 11.9 วัน สําหรับแบตเตอรี่รุน<br />

A และ 14.2 วัน<br />

สําหรับแบตเตอรี่รุน<br />

B ตามลําดับ<br />

คําสําคัญ: ระบบการผลิตแบบโตโยตา, คัมบัง, เฮจุงกะ<br />

Abstract<br />

This research aims at reducing the production lead time of<br />

battaries. Currently, the manufacturing system which is used to<br />

produces these battaries is under the push system. With such operating<br />

conditions, the lead times are 22.5 days for Model A and for B,<br />

respectively. The long lead time is caused by the excessive stock of<br />

battaries in the manufacturing system. In addition, when battaries are<br />

kept for a long period of time, the voltage will drop. In turn, the<br />

battaries would have to be recharged. From the above problem, the<br />

Toyota Production System (TPS) is implemented to the manufacturing<br />

system to replace the push system. Many techniques such as kanban,<br />

heijunka, etc. are implemented to the manufacturing system. As a result,<br />

the production lead times are reduced to 11.9 days for Model 80B26L<br />

and 14.2 days for B, respectively.<br />

Keywords: manuscript format, font size, font style<br />

1. บทนํา<br />

ในปจจุบันบริษัทผูผลิตแบตเตอรี่รถยนตรายหนึ่งซึ่งผลิต<br />

แบตเตอรี่ใหกับกลุมลูกคาอีซูซุพบปญหาการมีชวงเวลานําใน<br />

กระบวนการการประกอบแบตเตอรี่รถยนต<br />

(Automotive Battery<br />

Assembly Process) กระบวนการชารจไฟ (Jar-formation Process) และ<br />

กระบวนการขั้นสุดทาย<br />

(Finishing Process) สูง โดยชวงเวลานํารวมโดย<br />

เฉลียของทั้ง<br />

3 กระบวนการนี้สูงถึง<br />

22.5 วัน ซึ่งถาเที่ยบกับ<br />

กลุมโตโยตา<br />

จะมีชวงเวลานํารวมโดยเฉลียในกระบวนการที่เหมือนกันนี้เทากับ<br />

16.5<br />

วัน ซึ่ง<br />

3 กระบวนการนี้ยิ่งมีชวงเวลานําสงสูงมากเทาไหรก็จะสงผล<br />

กระทบตอการบริหารพื้นที่ในการจัดเก็บแบตเตอรี่<br />

สูญเสียพื้นที่เก็บไป<br />

โดยเปลาประโยชน แบตเตอรี่ที่เก็บไวจะมีปญหาเรื่องโวลตต่ําเนื่องจาก<br />

การเก็บไวนาน และตองนํากลับมาชารจไฟใหม ซึ่งปญหาเหลานี้สงผล<br />

ตอบริษัทในดานการควบคุมคุณภาพ และสูญเสียเวลาในการแกไขปญหา<br />

ดังนั้นทางบริษัทไดนําแนวคิดระบบการผลิตแบบโตโยตามาเพื่อ<br />

แกปญหาดังกลาวใน 3 กระบวนการนี้<br />

Valerie Tardif [1] ไดนําเสนอระบบคัมบังที่สามารถ<br />

ปรับเปลี่ยนระดับสินคาคงคลัง<br />

และ backorder ไดโดยที่จํานวนบัตรคัม<br />

บังนั้นยังคงมีเทาเดิม<br />

P.Shahabudeen [2] ไดเสนอแนวทางในการกําหนด<br />

จํานวนบัตรคัมบังใน และขนาดของ lot size แตละสถานีงานที่ทําใหเกิด<br />

ประสิทธิภาพในการทํางานมากที่สุด<br />

Gravel, Marc [3] แสดงใหเห็นวา<br />

ระบบคัมบังสามารถนํามาปรับใชกับการผลิตแบบ job shop ได<br />

2. ทฤษฎีที่เกี่ยวของ<br />

2.1 ระบบคัมบัง (Kanban System)<br />

[4] เปนคําสั่งในการผลิต<br />

และขนยายชิ้นสวน<br />

เปนเครื่องมือ<br />

สําหรับการควบคุมดวยสายตา เพื่อปองกันความสูญเปลา<br />

จากการผลิต<br />

เกินความจําเปน เพื่อแสดงความคืบหนา<br />

และเพื่อตรวจหาสาเหตุการลาชา<br />

ของกระบวนการ เปนเครื่องมือสําหรับการปรับปรุง<br />

และเปนวิธีการ<br />

สําหรับปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในการผลิต<br />

แบงออกเปน 4 ประเภท คือ<br />

คัมบังสั่งผลิต<br />

คัมบังเบิกถอน คัมบังชั่วคราว<br />

และอิเล็กทรอนิกสคัมบัง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!