30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ควบคูกับขอมูลในอดีต<br />

ไมมีหลักการวางแผนการสั่งซื้อที่เหมาะสมกับ<br />

การเปลี่ยนแปลงความตองการวัสดุในแตละชวงเวลา<br />

ทําใหบางครั้งอาจ<br />

เกิดปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ หรือมีวัตถุดิบคงคลังมากเกินไป อีกทั้ง<br />

ยังตองมีการเปลี่ยนแปลงแผนการสั่งซื้อนอกเหนือจากแผนเดิมที่วางไว<br />

ถึง 6% ของจํานวนวัตถุดิบทั้งหมด<br />

สวนใหญจะเปนการสั่งซื้อวัตถุดิบ<br />

เพิ่มเติม<br />

และเรงกําหนดการจัดสงวัตถุดิบ งานวิจัยนี้จึงมุงเนนเพื่อหา<br />

ปริมาณการสั่งซื้อวัสดุในแตชวงเวลาที่ทําใหคาใชจายรวมในการสั่งซื้อ<br />

และจัดเก็บวัสดุคงคลังต่ําที่สุด<br />

(Minimized Cost)<br />

2. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

2.1 การบริหารวัสดุคงคลัง<br />

การบริหารวัสดุคงคลังมีหลากหลายวิธีจึงควรเลือกใชระบบ<br />

ควบคุมวัสดุคงคลังไดมีประสิทธิภาพมากที่สุด<br />

โดยการพิจารณาเลือก<br />

ระบบมาใชในการบริหาร และควบคุมวัสดุคงคลังจะตองเลือกวิธีการที่<br />

เหมาะสมกับสถานการณ ประเภทของวัสดุคงคลัง และกล-ยุทธในการ<br />

แขงขันทางธุรกิจ โดยคํานึงถึงหลักการสําคัญคือจะตองพยายามรักษา<br />

ระดับการลงทุนในวัสดุคงคลังใหต่ําที่สุด<br />

พรอมทั้งรักษาระดับการผลิต<br />

ใหมีประสิทธิภาพ และรักษาระดับการใหบริการลูกคาใหอยูในระดับที่<br />

เหมาะสม<br />

การกําหนดขนาดรุนในการสั่งซื้อวัสดุที่นิยมใช<br />

ไดแกวิธีการ<br />

สั่งแบบรุนตอรุน<br />

(Lot for Lot: LFL) ปริมาณรุนการสั่งซื้อที่ประหยัด<br />

(Economic Order Quantity: EOQ) วิธีปริมาณการสั่งเปนชวง<br />

(Periodic<br />

Order Quantity: POQ) เทคนิคสวนของชวงเวลาที่สมดุล<br />

(Part Period<br />

Balancing: PPB) วิธีคาใชจายตอหนวยต่ําสุด<br />

(Least Unit Cost: LUC)<br />

วิธีการ Silver-Meal Heuristic (SMH) และวิธีกําหนดการพลวัตของ แวก<br />

เนอร-วิทธิน (Wagner-Whitin Algorithm: WW) เปนตน กอนจะตัดสินใจ<br />

เลือกวิธีการกําหนดขนาดรุนใดมาใช<br />

ควรมีการประเมินคาใชจายในการ<br />

ควบคุมวัสดุคงคลังของแตละวิธี แลวนําตนทุนที่ไดมาเปรียบเทียบกัน<br />

เพื่อเลือกวิธีการที่เหมาะสม<br />

และทําใหตนทุนรวมต่ําที่สุด<br />

[1-3]<br />

2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

แกวปน<br />

[4] เสนอวิธีการกําหนดการสั่งซื้อ<br />

2 วิธี วิธีแรกใช<br />

หลักการคํานวณเบื้องตนจากวิธีของ<br />

Silver-Meal สวนวิธีที่สองใช<br />

หลักการคํานวณเบื้องตนจากวิธีการของ<br />

Wagner-Whitin และไดนําผล<br />

การคํานวณมาทดสอบประสิทธิภาพ โดยแบงการทดสอบออกเปน 2<br />

สวน สวนแรกเปนการเปรียบเทียบกับวิธีการสั่งซื้อแบบเดิมของโรงงาน<br />

ตัวอยาง และสวนที่สองเปนการเปรียบเทียบประสิทธิภาพกับวิธีการหา<br />

คําตอบที่ดีที่สุดภายใตการจําลองปญหาแตกตางกัน<br />

500 กรณี โดยใช<br />

โปรแกรมวิชวลเบสิกชวยในการคํานวณ ผลการเปรียบเทียบพบวา<br />

205<br />

วิธีการสั่งซื้อที่<br />

1 และ 2 สามารถลดคาใชจายโดยรวมลงจากวิธีการเดิม<br />

ของโรงงานได 306,947.58 และ 309,742.73 บาท หรือคิดเปน 13.81%<br />

และ 13.94% ตามลําดับ<br />

อาคม [5] ไดพัฒนาแบบจําลองทางคณิตศาสตรที่พัฒนาตอ<br />

จากขั้นตอนการคํานวณของ<br />

Wagner-Whitin เพื่อศึกษาการกําหนดขนาด<br />

การสั่งซื้อที่เหมาะสมที่ทําใหเกิดตนทุนโดยรวมตลอดระยะเวลาการวาง<br />

แผนการสั่งซื้อมีคาต่ําที่สุด<br />

จากนั้นนําผลลัพธที่ไดไปเปรียบเทียบกับ<br />

วิธีการเดิมพบวาสามารถลดตนทุนรวมในการจัดการวัตถุดิบคงคลังลงได<br />

196,018,315 บาท หรือคิดเปน 24.94%<br />

3. การดําเนินการวิจัย<br />

งานวิจัยนี้ผูวิจัยไดพัฒนาแบบจําลองทางคณิตศาสตรโดย<br />

พัฒนาตอจากแบบจําลองทางคณิตศาสตรของ Wagner-Whitin (Wagner-<br />

Whitin Algorithm: WW) [6, 7-12] และหลักการระบบสินคาคงคลัง<br />

ประเภทหลายรายการจากหลายคลังสินคา (Multi-Item Multi Source:<br />

MIMS) [13-14] โดยวิเคราะหหาระดับความสําคัญของวัสดุแตละชนิด<br />

ดวยวิธีการจัดกลุมสินคา<br />

(ABC Classification- System) [1, 15] และเลือก<br />

ศึกษาวัตถุดิบ Class A ที่มีมูลคาเงิน<br />

80% ของตนทุนวัสดุทั้งหมดจํานวน<br />

49 ชนิด จากนั้นจึงใชโปรแกรม<br />

Lingo 12.0 ชวยในการแกปญหาของ<br />

แบบจําลองที่สรางขึ้น<br />

[5, 16]<br />

่<br />

่<br />

ตารางที 1 การจัดอันดับความสําคัญของวัสดุแตละชนิดจากคาใชจายใน<br />

ไตรมาสที 4 ป 2553 เปนจํานวนเงิน 14,621,000 บาท<br />

ประเภท ปริมาณวัสดุ งบประมาณที่ใช<br />

A 13 % (49 ชนิด) 80 % (11,694,000)<br />

B 15 % (58 ชนิด) 15 % (2,194,000)<br />

C 72 % (272 ชนิด) 5% (733,000)<br />

3.1 แบบจําลองทางคณิตศาสตร<br />

N T<br />

N T<br />

N T<br />

i=<br />

1t=<br />

1<br />

สมการขอจํากัด<br />

it<br />

i=<br />

1t=<br />

1<br />

i it<br />

i=<br />

1t=<br />

1<br />

i it<br />

I i , t 1 X i , ( t Li<br />

) I i , t − + − − = it D ∀ it<br />

(2)<br />

I i , 0<br />

≥<br />

Li<br />

∑ D i , t<br />

t=<br />

0<br />

∀ it<br />

(3)<br />

N<br />

∑ ( Ci<br />

* X it )<br />

i=<br />

1<br />

≤ BG ∀ t<br />

(4)<br />

MinTC = ∑∑(<br />

O*<br />

y ) + ∑∑(<br />

C * X ) + ∑∑(<br />

H * I ) (1)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!