ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

204 การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554 วันที่ 8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ การพัฒนากลยุทธการสั่งซื้อวัสดุ กรณีศึกษา: การสั่งซื้อวัสดุในอุตสาหกรรมฮารดดิสกไดรฟ The Improvement on Inventory Control Strategies of Material: A case study in Hard Disk Drive Industry สรณธร ไกรภิญญามาศ 1 และอรรถกร เกงพล 2 1, 2 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรอุตสาหการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 1518 ถ.พิบูลสงคราม แขวงวงศสวาง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 โทรศัพท/โทรสาร: 081-870-6072 E-mail: 1 sornnatorn.k@gmail.com, 2 athakorn@kmutnb.ac.th บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนากลยุทธการสั่งซื้อวัสดุที่มี ความตองการวัสดุในแตละชวงเวลาไมคงที่ของบริษัทกรณีศึกษา เพื่อลด คาใชจายรวมทั้งทางดานการสั่งซื้อ และการจัดเก็บวัสดุคงคลังใหต่ําที่สุด โดยมีหลักการเริ่มตนจากการวิเคราะหหาระดับความสําคัญของวัสดุแต ละชนิดดวยวิธีการจัดกลุมสินคา (ABC Classification- System) และ เลือกศึกษาวัตถุดิบ Class A ที่มีมูลคาเงิน 80% ของตนทุนวัสดุทั้งหมด จํานวน 49 ชนิด จากนั้นจึงพัฒนาแผนสั่งซื้อใหเหมาะสมกับลักษณะ ความตองการใชวัสดุ และชวงเวลานําในการจัดสงวัสดุแตละชนิด ซึ่ง วัสดุแตละชนิดมีชวงเวลานําไมเทากัน โดยในงานวิจัยนี้จะประยุกตใช แบบจําลองทางคณิตศาสตรของวิธีกําหนดการพลวัตของแวกเนอร-วิ ทธิน (Wagner-Whitin Algorithm: WW) เพื่อกําหนดปริมาณการสั่งซื้อ วัสดุในแตชวงเวลาที่ทําใหคาใชจายรวมในการสั่งซื้อ และจัดเก็บวัสดุคง คลังต่ําที่สุด (Minimized Cost) จากนั้นนําผลลัพธที่ไดจากแบบจําลองไป เปรียบเทียบกับแผนสั่งซื้อแบบเดิม ผลการวิจัยพบวาแผนการสั่งซื้อวัสดุ ที่พัฒนาขึ้นทําใหคาใชจายรวมในการสั่งซื้อ และจัดเก็บวัสดุคงคลังลดลง ทําใหการวางแผนการสั่งซื้อมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น คําสําคัญ: กลยุทธการสั่งซื้อ, คาใชจายรวมต่ําสุด, วิธีการพลวัตของ แวกเนอร-วิทธิน Abstract The primary purpose of this study is to develop the ordering strategy which material requirement varies between variable lead time at a case company, aiming to reduce the ordering cost and minimize the inventories. Initially, analysis is performed using the ABC Classification System to determine the level of significance for each type of materials. In present study, 49 Class A materials with 80% monetary value of overall costs are chosen. The ordering plan is then developed in consistence with the material requirement and shipment lead time for each type of materials, which the lead time varies from material to material. The Wagner-Whitin Algorithm (WW) is applied to determine the quantity of ordering at each lead time that minimizes overall ordering and inventories cost. The results are compared with traditional ordering plan. The finding indicates that the developed ordering plan reduces the ordering cost and inventory storage cost, leading to more effective ordering plan. Keywords: Strategies, Minimized cost, Wagner-Whitin Algorithm 1. บทนํา การวางแผนการสั่งซื้อ และการควบคุมปริมาณวัสดุคงคลัง เปนสวนหนึ่งที่มีความสําคัญในการลดตนทุนของการดําเนินธุรกิจ เพราะ การจัดใหมีวัสดุคงคลังนั้นจําเปนตองใชตนทุนในกลุมของทรัพยสิน หมุนเวียนที่มีมูลคาสูงจึงควรมีการพิจารณาอยางรอบคอบ การมีปริมาณ วัสดุคงคลังอยูในระดับต่ํานั้นยอมเปนสิ่งที่ผูวางแผนตองการ เพราะทําให สามารถลดตนทุนในการดําเนินงานไดเปนจํานวนมาก และนํามาซึ่งการ เพิ่มผลกําไรของธุรกิจเพิ่มขึ้น แตการมีปริมาณวัสดุคงคลังในระดับที่ต่ํา เกินไปอาจทําใหมีวัสดุคงคลังมีไมเพียงพอกับความตองการของการผลิต สงผลใหการผลิตหยุดชะงัก และอาจกอใหเกิดปญหาสงสินคาไดไมทัน กําหนดเวลาของลูกคา ซึ่งอาจจะเปนสาเหตุใหลูกคาขาดความเชื่อถือ และ สูญเสียความเชื่อถือจากลูกคาได แตหากมีปริมาณวัสดุคงคลังอยูใน ระดับสูงก็จะตองใชตนทุนจํานวนมากเพื่อจะถือครองวัสดุคงคลัง เหลานั้น สงผลใหเงินลงทุนในสวนของราคาวัสดุคงคลัง และตนทุนใน การจัดใหมีวัสดุคงคลังเพิ่มขึ้น ดังนั้นการรักษาระดับของปริมาณวัสดุคง คลังใหเหมาะสมนั้นจึงเปนสิ่งที่สําคัญในการดําเนินธุรกิจ สภาพปญหาปจจุบันของบริษัทกรณีศึกษาคือทางบริษัท กรณีศึกษาวางแผนการสั่งซื้อวัตถุดิบโดยใชประสบการณของผูวางแผน

ควบคูกับขอมูลในอดีต ไมมีหลักการวางแผนการสั่งซื้อที่เหมาะสมกับ การเปลี่ยนแปลงความตองการวัสดุในแตละชวงเวลา ทําใหบางครั้งอาจ เกิดปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ หรือมีวัตถุดิบคงคลังมากเกินไป อีกทั้ง ยังตองมีการเปลี่ยนแปลงแผนการสั่งซื้อนอกเหนือจากแผนเดิมที่วางไว ถึง 6% ของจํานวนวัตถุดิบทั้งหมด สวนใหญจะเปนการสั่งซื้อวัตถุดิบ เพิ่มเติม และเรงกําหนดการจัดสงวัตถุดิบ งานวิจัยนี้จึงมุงเนนเพื่อหา ปริมาณการสั่งซื้อวัสดุในแตชวงเวลาที่ทําใหคาใชจายรวมในการสั่งซื้อ และจัดเก็บวัสดุคงคลังต่ําที่สุด (Minimized Cost) 2. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 การบริหารวัสดุคงคลัง การบริหารวัสดุคงคลังมีหลากหลายวิธีจึงควรเลือกใชระบบ ควบคุมวัสดุคงคลังไดมีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยการพิจารณาเลือก ระบบมาใชในการบริหาร และควบคุมวัสดุคงคลังจะตองเลือกวิธีการที่ เหมาะสมกับสถานการณ ประเภทของวัสดุคงคลัง และกล-ยุทธในการ แขงขันทางธุรกิจ โดยคํานึงถึงหลักการสําคัญคือจะตองพยายามรักษา ระดับการลงทุนในวัสดุคงคลังใหต่ําที่สุด พรอมทั้งรักษาระดับการผลิต ใหมีประสิทธิภาพ และรักษาระดับการใหบริการลูกคาใหอยูในระดับที่ เหมาะสม การกําหนดขนาดรุนในการสั่งซื้อวัสดุที่นิยมใช ไดแกวิธีการ สั่งแบบรุนตอรุน (Lot for Lot: LFL) ปริมาณรุนการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity: EOQ) วิธีปริมาณการสั่งเปนชวง (Periodic Order Quantity: POQ) เทคนิคสวนของชวงเวลาที่สมดุล (Part Period Balancing: PPB) วิธีคาใชจายตอหนวยต่ําสุด (Least Unit Cost: LUC) วิธีการ Silver-Meal Heuristic (SMH) และวิธีกําหนดการพลวัตของ แวก เนอร-วิทธิน (Wagner-Whitin Algorithm: WW) เปนตน กอนจะตัดสินใจ เลือกวิธีการกําหนดขนาดรุนใดมาใช ควรมีการประเมินคาใชจายในการ ควบคุมวัสดุคงคลังของแตละวิธี แลวนําตนทุนที่ไดมาเปรียบเทียบกัน เพื่อเลือกวิธีการที่เหมาะสม และทําใหตนทุนรวมต่ําที่สุด [1-3] 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ แกวปน [4] เสนอวิธีการกําหนดการสั่งซื้อ 2 วิธี วิธีแรกใช หลักการคํานวณเบื้องตนจากวิธีของ Silver-Meal สวนวิธีที่สองใช หลักการคํานวณเบื้องตนจากวิธีการของ Wagner-Whitin และไดนําผล การคํานวณมาทดสอบประสิทธิภาพ โดยแบงการทดสอบออกเปน 2 สวน สวนแรกเปนการเปรียบเทียบกับวิธีการสั่งซื้อแบบเดิมของโรงงาน ตัวอยาง และสวนที่สองเปนการเปรียบเทียบประสิทธิภาพกับวิธีการหา คําตอบที่ดีที่สุดภายใตการจําลองปญหาแตกตางกัน 500 กรณี โดยใช โปรแกรมวิชวลเบสิกชวยในการคํานวณ ผลการเปรียบเทียบพบวา 205 วิธีการสั่งซื้อที่ 1 และ 2 สามารถลดคาใชจายโดยรวมลงจากวิธีการเดิม ของโรงงานได 306,947.58 และ 309,742.73 บาท หรือคิดเปน 13.81% และ 13.94% ตามลําดับ อาคม [5] ไดพัฒนาแบบจําลองทางคณิตศาสตรที่พัฒนาตอ จากขั้นตอนการคํานวณของ Wagner-Whitin เพื่อศึกษาการกําหนดขนาด การสั่งซื้อที่เหมาะสมที่ทําใหเกิดตนทุนโดยรวมตลอดระยะเวลาการวาง แผนการสั่งซื้อมีคาต่ําที่สุด จากนั้นนําผลลัพธที่ไดไปเปรียบเทียบกับ วิธีการเดิมพบวาสามารถลดตนทุนรวมในการจัดการวัตถุดิบคงคลังลงได 196,018,315 บาท หรือคิดเปน 24.94% 3. การดําเนินการวิจัย งานวิจัยนี้ผูวิจัยไดพัฒนาแบบจําลองทางคณิตศาสตรโดย พัฒนาตอจากแบบจําลองทางคณิตศาสตรของ Wagner-Whitin (Wagner- Whitin Algorithm: WW) [6, 7-12] และหลักการระบบสินคาคงคลัง ประเภทหลายรายการจากหลายคลังสินคา (Multi-Item Multi Source: MIMS) [13-14] โดยวิเคราะหหาระดับความสําคัญของวัสดุแตละชนิด ดวยวิธีการจัดกลุมสินคา (ABC Classification- System) [1, 15] และเลือก ศึกษาวัตถุดิบ Class A ที่มีมูลคาเงิน 80% ของตนทุนวัสดุทั้งหมดจํานวน 49 ชนิด จากนั้นจึงใชโปรแกรม Lingo 12.0 ชวยในการแกปญหาของ แบบจําลองที่สรางขึ้น [5, 16] ่ ่ ตารางที 1 การจัดอันดับความสําคัญของวัสดุแตละชนิดจากคาใชจายใน ไตรมาสที 4 ป 2553 เปนจํานวนเงิน 14,621,000 บาท ประเภท ปริมาณวัสดุ งบประมาณที่ใช A 13 % (49 ชนิด) 80 % (11,694,000) B 15 % (58 ชนิด) 15 % (2,194,000) C 72 % (272 ชนิด) 5% (733,000) 3.1 แบบจําลองทางคณิตศาสตร N T N T N T i= 1t= 1 สมการขอจํากัด it i= 1t= 1 i it i= 1t= 1 i it I i , t 1 X i , ( t Li ) I i , t − + − − = it D ∀ it (2) I i , 0 ≥ Li ∑ D i , t t= 0 ∀ it (3) N ∑ ( Ci * X it ) i= 1 ≤ BG ∀ t (4) MinTC = ∑∑( O* y ) + ∑∑( C * X ) + ∑∑( H * I ) (1)

204<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

การพัฒนากลยุทธการสั่งซื้อวัสดุ<br />

กรณีศึกษา: การสั่งซื้อวัสดุในอุตสาหกรรมฮารดดิสกไดรฟ<br />

The Improvement on Inventory Control Strategies of Material: A case study in Hard Disk Drive Industry<br />

สรณธร ไกรภิญญามาศ 1 และอรรถกร เกงพล 2<br />

1, 2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรอุตสาหการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ<br />

1518 ถ.พิบูลสงคราม แขวงวงศสวาง เขตบางซื่อ<br />

กรุงเทพมหานคร 10800<br />

โทรศัพท/โทรสาร: 081-870-6072 E-mail: 1 sornnatorn.k@gmail.com, 2 athakorn@kmutnb.ac.th<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนากลยุทธการสั่งซื้อวัสดุที่มี<br />

ความตองการวัสดุในแตละชวงเวลาไมคงที่ของบริษัทกรณีศึกษา<br />

เพื่อลด<br />

คาใชจายรวมทั้งทางดานการสั่งซื้อ<br />

และการจัดเก็บวัสดุคงคลังใหต่ําที่สุด<br />

โดยมีหลักการเริ่มตนจากการวิเคราะหหาระดับความสําคัญของวัสดุแต<br />

ละชนิดดวยวิธีการจัดกลุมสินคา<br />

(ABC Classification- System) และ<br />

เลือกศึกษาวัตถุดิบ Class A ที่มีมูลคาเงิน<br />

80% ของตนทุนวัสดุทั้งหมด<br />

จํานวน 49 ชนิด จากนั้นจึงพัฒนาแผนสั่งซื้อใหเหมาะสมกับลักษณะ<br />

ความตองการใชวัสดุ และชวงเวลานําในการจัดสงวัสดุแตละชนิด ซึ่ง<br />

วัสดุแตละชนิดมีชวงเวลานําไมเทากัน โดยในงานวิจัยนี้จะประยุกตใช<br />

แบบจําลองทางคณิตศาสตรของวิธีกําหนดการพลวัตของแวกเนอร-วิ<br />

ทธิน (Wagner-Whitin Algorithm: WW) เพื่อกําหนดปริมาณการสั่งซื้อ<br />

วัสดุในแตชวงเวลาที่ทําใหคาใชจายรวมในการสั่งซื้อ<br />

และจัดเก็บวัสดุคง<br />

คลังต่ําที่สุด<br />

(Minimized Cost) จากนั้นนําผลลัพธที่ไดจากแบบจําลองไป<br />

เปรียบเทียบกับแผนสั่งซื้อแบบเดิม<br />

ผลการวิจัยพบวาแผนการสั่งซื้อวัสดุ<br />

ที่พัฒนาขึ้นทําใหคาใชจายรวมในการสั่งซื้อ<br />

และจัดเก็บวัสดุคงคลังลดลง<br />

ทําใหการวางแผนการสั่งซื้อมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น<br />

คําสําคัญ: กลยุทธการสั่งซื้อ,<br />

คาใชจายรวมต่ําสุด,<br />

วิธีการพลวัตของ<br />

แวกเนอร-วิทธิน<br />

Abstract<br />

The primary purpose of this study is to develop the ordering<br />

strategy which material requirement varies between variable lead time<br />

at a case company, aiming to reduce the ordering cost and minimize the<br />

inventories. Initially, analysis is performed using the ABC<br />

Classification System to determine the level of significance for each<br />

type of materials. In present study, 49 Class A materials with 80%<br />

monetary value of overall costs are chosen. The ordering plan is then<br />

developed in consistence with the material requirement and shipment<br />

lead time for each type of materials, which the lead time varies from<br />

material to material. The Wagner-Whitin Algorithm (WW) is applied to<br />

determine the quantity of ordering at each lead time that minimizes<br />

overall ordering and inventories cost. The results are compared with<br />

traditional ordering plan. The finding indicates that the developed<br />

ordering plan reduces the ordering cost and inventory storage cost,<br />

leading to more effective ordering plan.<br />

Keywords: Strategies, Minimized cost, Wagner-Whitin Algorithm<br />

1. บทนํา<br />

การวางแผนการสั่งซื้อ<br />

และการควบคุมปริมาณวัสดุคงคลัง<br />

เปนสวนหนึ่งที่มีความสําคัญในการลดตนทุนของการดําเนินธุรกิจ<br />

เพราะ<br />

การจัดใหมีวัสดุคงคลังนั้นจําเปนตองใชตนทุนในกลุมของทรัพยสิน<br />

หมุนเวียนที่มีมูลคาสูงจึงควรมีการพิจารณาอยางรอบคอบ<br />

การมีปริมาณ<br />

วัสดุคงคลังอยูในระดับต่ํานั้นยอมเปนสิ่งที่ผูวางแผนตองการ<br />

เพราะทําให<br />

สามารถลดตนทุนในการดําเนินงานไดเปนจํานวนมาก และนํามาซึ่งการ<br />

เพิ่มผลกําไรของธุรกิจเพิ่มขึ้น<br />

แตการมีปริมาณวัสดุคงคลังในระดับที่ต่ํา<br />

เกินไปอาจทําใหมีวัสดุคงคลังมีไมเพียงพอกับความตองการของการผลิต<br />

สงผลใหการผลิตหยุดชะงัก และอาจกอใหเกิดปญหาสงสินคาไดไมทัน<br />

กําหนดเวลาของลูกคา ซึ่งอาจจะเปนสาเหตุใหลูกคาขาดความเชื่อถือ<br />

และ<br />

สูญเสียความเชื่อถือจากลูกคาได<br />

แตหากมีปริมาณวัสดุคงคลังอยูใน<br />

ระดับสูงก็จะตองใชตนทุนจํานวนมากเพื่อจะถือครองวัสดุคงคลัง<br />

เหลานั้น<br />

สงผลใหเงินลงทุนในสวนของราคาวัสดุคงคลัง และตนทุนใน<br />

การจัดใหมีวัสดุคงคลังเพิ่มขึ้น<br />

ดังนั้นการรักษาระดับของปริมาณวัสดุคง<br />

คลังใหเหมาะสมนั้นจึงเปนสิ่งที่สําคัญในการดําเนินธุรกิจ<br />

สภาพปญหาปจจุบันของบริษัทกรณีศึกษาคือทางบริษัท<br />

กรณีศึกษาวางแผนการสั่งซื้อวัตถุดิบโดยใชประสบการณของผูวางแผน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!