ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

จัดเก็บสินคาไดจํานวนมากที่สุด เปนจํานวน 20,352 ถังแตการบริหาร จัดการสินคาที่จัดเก็บสินคาและขนยายสินคาแบบเขาออกกอน (FIFO) ทําไดยาก จากขอมูลที่ไดจากการจัดแผนผังใหมทําใหเลือกใชการจัด แผนผังรูปแบบที่ 4 ซึ่งสามารถบริหารจัดการในการจัดเก็บสินคาไดดีกวา รูปแบบที่ 1 และแบบที่ 2, 3 สามารถใชพื้นที่ในการจัดเก็บได 1,892 ตารางเมตร และสามารถจัดเก็บสุราถังไมโอค ได 16,512 ถัง ใชพื้นที่ใน การจัดเก็บสินคาไดมากกวาแบบที่ 2 และ 3 แตนอยกวารูปแบบที่ 1 อยู 3,840 ถัง แผนผังรูปแบบที่ 4 สามารถเคลื่อนยายสินคาเขาออกได สะดวก และสามารถกําหนดพื้นที่จัดเก็บสินคาแตละประเภทไดชัดเจน การคํานวณพื้นที่ที่ใชในการจัดเก็บสินคาจากการจัดเรียถังไม โอคบนพาเลท ใชพนักงานเก็บบมจํานวน 2 คน พนักงานบันทึกขอมูล 1 คน พนักงานขับรถยก 1 คน โดยใชเวลาเฉลี่ยในการจัดเรียง 1 วัน สามารถจัดเก็บไดจํานวน 20 พาเลท รวมจํานวน 80 ถัง โดยจัดเตรียมพื้นที่อาคารเก็บบมใหม ตามรูปแบบแผนผัง คลังสินคา รูปแบบที่ 4 กําหนดใหการจัดถังไมโอคแยกตามพื้นที่การ จัดเก็บ ไดดังนี้ พื้นที่ A จัดเก็บ น้ําสุราเก็บบม (องุน) พื้นที่ B จัดเก็บ น้ําสุราเก็บบม (สับปะรดสด) พื้นที่ C จัดเก็บ น้ําสุราเก็บบม (โมลาส) พื้นที่ D จัดเก็บ น้ําสุราเก็บบม (ธัญพืช) รูปที่ 12 แผนผังการจัดเก็บสินคา แบบที่ 4 กําหนดพื้นที่วางสินคา รูปแบบแผนผังสินคาที่ไดมากําหนดพื้นที่เพื่อจัดวางสินคา แยกตามประเภทน้ําสุราที่เก็บบม กําหนดใหเรียงถังไมโอคจากซายไป 202 ขาว โดยกําหนดพื้นที่ตามเสาอาคาร แนวกวาง 1-11 และ แนวยาว 1-12 ซึ่งจะตองบันทึกในแบบฟอรมการจัดเก็บ เพื่อนํามาบันทึกเปนฐานขอมูล ในเครื่องคอมพิวเตอร ใชควบคุมดูแลปริมาณการรับน้ําสุราไมโอคเขา จัดเก็บบม และการตัดจายออกเพื่อสงปรุงสุราตอไป 4. สรุป ผลการวิจัยทําใหทราบวาการจัดแผนผังตามรูปแบบที่ 4 จาก ขอมูลที่ไดจากการจัดแผนผังใหมทําใหเลือกใชการจัดแผนผังรูปแบบที่ 4 ซึ่งสามารถบริหารจัดการในการจัดเก็บสินคาไดดีกวารูปแบบที่ 1 และ แบบที่ 2, 3 ซึ่งปริมาณการจัดเก็บสินคาไดนอยกวารูปแบบที่ 1 อยู 3,840 ถัง แผนผังรูปแบบที่ 4 สามารถเคลื่อนยายสินคาเขาออกไดสะดวก และ สามารถกําหนดพื้นที่จัดเก็บสินคาแตละประเภทไดชัดเจน ดังนั้นเพื่อใหการจัดการและบริหารการใชสอยพื้นที่อาคาร คลังสินคาใหไดประโยชนเต็มที่ และทําใหการจัดเก็บสินคาอยางมี ประสิทธิภาพ ตองอาศัยการจัดเก็บสินคาแบบการเขากอนออกกอน น้ํา สุราถังไมโอคที่เขาเก็บบมในคลังสินคากอนก็หมุนเวียนออกไปกอน เพื่อ ลดการสูญเสียจากการจัดเก็บเปนเวลานาน การจัดรูปแบบของการจัดการวางแผนผังการจัดเก็บถังไมโอค แบบใหม และการนําระบบสารสนเทศเขามาชวยในการจัดการและ จัดเก็บขอมูล สามารถชวยลดระยะเวลาการคนหาของถังไมโอค และมี ฐานขอมูลที่ดีทราบถึงจํานวนของถังไมโอคไดแนนอน สามารถสืบคน ถังไมโอคที่ตองการตามวัน เดือน ปที่ผลิตไดอยางถูกตองรวดเร็ว เนื่องจากพนักงานเก็บบมถังไมโอคสามารถทราบตําแหนงจากแผนผัง การจัดเก็บถังไมโอค ทําใหบริหารการจัดเก็บถังไมโอคมีประสิทธิภาพ มากขึ้น และมีฐานขอมูลที่ดีสามารถนําไปใชในการควบคุมงบประมาณ คาใชจายไดอีกดวย เอกสารอางอิง วิทยานิพนธ [1] ประเสริฐ ลาดสุวรรณ, การลดระยะการเคลื่อนยายสินคาใน คลังสินคา โดยใชระบบการจัดเก็บแบบแบงกลุมสินคา, วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการขนสงและโลจิสติกส บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา, กรุงเทพฯ, 2549. [2] กัญญทอง หรดาล, การใชระบบสารสนเทศในการจัดการคลังสินคา สําหรับอุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง, วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย ศิลปากร, นครปฐม, 2551.

[3] สาวิตรี ทันจิตต, การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินคาคงคลัง, วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางการ บัญชี บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยหอการคาไทย, 2551. [4] ชาคริยา ธาระรูป, การวิเคราะหตนทุนและการลดตนทุนโลจิสติกส, วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเทคโลโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, 2552. [5] กฤษนันท ธาดาบดินทร, การปรับปรุงประสิทธิภาพคลังสินคาเหล็ก แผนมวนรีดรอน ดวยวิธีการจัดวางแบบแบงกลุมลําดับชั้นสินคา, วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการขนสงและโลจิ สติกส บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550. [6] กอบชัย ธนสารกุลัง, การปรับปรุงขั้นตอนการจัดการวัตถุดิบคงคลัง ของบริษัทรับติดตั้งอุปกรณเสริมในรถยนต, วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการขนสงและโลจิสติกส บัณฑิต วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา, กรุงเทพฯ, 2550. หนังสือภาษาไทย [7] สมศักดิ์ ตรีสัตย. 2545. การออกแบบและการวางผังโรงงาน. พิมพ ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ ส.ส.ท. [8] ชัยนนท ศรีสุภินานนท. 2541. การออกแบบผังโรงงานเพื่อเพิ่ม ผลผลิต. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น. [9] คํานาย อภิปรัชญาสกุล. 2547. การจัดการคลังสินคา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพตํารวจ. 203

[3] สาวิตรี ทันจิตต, การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินคาคงคลัง,<br />

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางการ<br />

บัญชี บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยหอการคาไทย, 2551.<br />

[4] ชาคริยา ธาระรูป, การวิเคราะหตนทุนและการลดตนทุนโลจิสติกส,<br />

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส<br />

บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเทคโลโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, 2552.<br />

[5] กฤษนันท ธาดาบดินทร, การปรับปรุงประสิทธิภาพคลังสินคาเหล็ก<br />

แผนมวนรีดรอน ดวยวิธีการจัดวางแบบแบงกลุมลําดับชั้นสินคา,<br />

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการขนสงและโลจิ<br />

สติกส บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550.<br />

[6] กอบชัย ธนสารกุลัง, การปรับปรุงขั้นตอนการจัดการวัตถุดิบคงคลัง<br />

ของบริษัทรับติดตั้งอุปกรณเสริมในรถยนต,<br />

วิทยานิพนธปริญญา<br />

มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการขนสงและโลจิสติกส บัณฑิต<br />

วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา, กรุงเทพฯ, 2550.<br />

หนังสือภาษาไทย<br />

[7] สมศักดิ์<br />

ตรีสัตย. 2545. การออกแบบและการวางผังโรงงาน. พิมพ<br />

ครั้งที่<br />

12. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ ส.ส.ท.<br />

[8] ชัยนนท ศรีสุภินานนท. 2541. การออกแบบผังโรงงานเพื่อเพิ่ม<br />

ผลผลิต. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.<br />

[9] คํานาย อภิปรัชญาสกุล. 2547. การจัดการคลังสินคา. กรุงเทพฯ:<br />

โรงพิมพตํารวจ.<br />

203

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!