ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

1) วิธีมาตรฐาน 1.1) นโยบาย (s, S) เปนการตรวจสอบสินคาคงคลัง แบบตอเนื่อง จะสั่งซื้อเมื่อปริมาณสินคาคงคลังต่ํากวาจุดสั่งซื้อหรือจุดสั่ง ผลิต (Reorder Point, s) และจะสั่งซื้อเพื่อใหมีสินคาคงคลังเทากับ จุดสูงสุดของคลังสินคา (Max Inventory, S) ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด EOQ Q 2KD h * = = (1) ปริมาณสินคาคงคลังสํารอง (SS) = Z × σ d L (2) จุดสั่งซื้อ (s) = L µ + SS (3) ปริมาณวัตถุดิบคงคลังสูงสุด (S) = จุดสั่งซื้อ + ปริมาณการ สั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด 1.2) นโยบาย (s, Q) เปนนโยบายที่มีการตรวจสอบระดับ สินคาคงคลังแบบตอเนื่อง โดยกําหนดใหมีการจัดหาสินคาเมื่อสินคาคง คลังลงมาถึงระดับ s หรือต่ํากวา และปริมาณสินคาที่จัดหามีจํานวน เทากับ EOQ โดยใชสูตรเดียวกับนโยบาย (s, S) 1.3) นโยบาย (S) เปนนโยบายที่มีการสั่งซื้อทุกชวงเวลาที่คงที่ เชน สั่งซื้อสินคาทุกชวงเวลา T และสั่งซื้อเพื่อใหไดระดับปริมาณสินคา คงคลังเปาหมาย โดยการหาคา T หรือชวงเวลาที่เหมาะสมที่สุด ปริมาณวัตถุดิบคงคลังขั้นต่ํา (S) = µ × ( T + L) + SS (4) ปริมาณสินคาคงคลังสํารอง (SS) = Z × σ × T + L (5) µ = คาเฉลี่ยความตองการตอชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง ควรใหมี หนวยเดียวกับเวลานํา σ = สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความตองการตอชวงเวลา d ใดเวลาหนึ่ง L = ระยะเวลาการสั่งซื้อจนถึงไดรับสินคา (Lead Time) = 2 วัน Z = คาระดับความเชื่อมั่นในการตอบสนองความตองการของ ลูกคา กําหนดไวที่ 99%, Z = 2.33 หรือ สามารถคํานวณจากสูตรใน Excel = Normsinv(0.99) D = ความตองการตอป K = ตนทุนการสั่งซื้อตอครั้ง 190 h = ตนทุนการเก็บรักษาสินคาตอหนวยตอป 2) วิธีการจําลองสถานการณ (Simulation) การจําลองสถานการณ (Simulation) แบบ Monte Carlo โดย ใชโปรแกรมคริสตัลบอลและฟงกชั่น OptQuest เพื่อหาจุดสั่งซื้อ ปริมาณ คงคลังสูงสุด ปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม หรือชวงเวลาที่เหมาะสม ตามแตละนโยบาย โดยมีคาตัวแปรสุม คือ ปริมาณการใชวัตถุดิบ และ ฟงกชั่นเปาหมาย คือ ตนทุนรวมต่ําสุด โดยวัตถุดิบที่มีลักษณะการใช แบบปกติ จะกําหนดรูปแบบการแจกแจงเปนแบบปกติ (Normal) สวน วัตถุดิบที่มีลักษณะการใชแบบซ้ํา ๆ จะกําหนดรูปแบบการแจกแจงเปน แบบกําหนดเอง (Custom) สวนการกําหนดคาของนโยบายแสดงดัง ตารางที่ 1 ่ ่ ตารางที 1 การกําหนดคาของนโยบายตาง ๆ รายการ ตัวแปรตัดสินใจ ขอจํากัด นโยบาย (s, S) -จุดสั่งซื้อ -ปริมาณคงคลังสูงสุด -ปริมาณคงคลังสูงสุด มากกวาจุดสั่งซื้อ นโยบาย (s, Q) -จุดสั่งซื้อ -ปริมาณการสั่งซื้อที เหมาะสม - นโยบาย (S) -ชวงเวลา (T) - 4. ผลการวิจัย 4.1 การควบคุมสินคาคงคลังดวยวิธีเอบีซี (ABC Analysis) เนื่องจากโรงงานกรณีศึกษามีการจัดเก็บวัตถุดิบคงคลัง จํานวนมาก ดังนั้น การแบงกลุมตามความตองการใช สามารถลดภาระใน การดูแลและควบคุมคงคลังที่มี เพราะถาควบคุมทุกรายการเขมงวดเทา เทียมกันทําใหเสียเวลาและคาใชจายมากเกินความจําเปน โดยมูลคาของ วัตถุดิบคงคลังแตละรายการหาไดจากการคูณปริมาณการใชของวัตถุดิบ คงคลังตอปแตละรายการดวยราคาตอหนวย จากนั้นทําการเรียงลําดับจาก มูลคามากที่สุดไปยังนอยที่สุด แลวทําการจัดกลุมวัตถุดิบคงคลัง ผลที่ได พบวา มีวัตถุดิบประเภทสารเคมีทั้งหมดจํานวน 106 รายการ จัดอยูใน กลุมเอจํานวน 17 รายการ ซึ่งเปนกลุมที่มีมูลคาการใชมากที่สุดและควร ควบคุมอยางเขมงวด กลุมบีเปนกลุมที่ควรควบคุมปานกลาง มี 19 รายการ และกลุมซีเปนกลุมที่ไมตองเขมงวดมาก มี 71 รายการ ดังแสดง ในตารางที่ 2 และรูปที่ 1

ตารางที่ 2 สรุปการแบงกลุมวัตถุดิบจากการวิเคราะหเอบีซี กลุม มูลคาวัตุดิบ (บาท) จํานวน วัตถุดิบ รอยละของ วัตถุดิบ รอยละของ มูลคา เอ 29,173,011.53 17 16.04 74.50 บี 7,539,060.52 19 17.92 19.25 ซี 2,445,688.76 70 66.04 6.25 รวม 39,157,760.81 106 100.00 100.00 A B C รูปที่ 1 การแบงกลุมตามมูลคาการใช โดย ABC Analysis 4.2 การวิเคราะหนโนบายวัตถุดิบคงคลังที่เหมาะสม เนื่องจากปริมาณการใชวัตถุดิบแตละรายการมีลักษณะการใช ที่แตกตางกัน จึงไดเลือกวัตถุดิบประเภทสารเคมีในกลุมเอ คือมีมูลคาการ ใชตอปสูงและมีรอบของวัตถุดิบคงคลังสูง เมื่อนําขอมูลปริมาณการใช รายวันของกลุมเอไปทดสอบคาทางสถิติดวย Input Analysis จาก โปรแกรม Arena สามารถแบงลักษณะการใชที่มีการแจกแจงแบบปกติ และการแจกแจงแบบรูปแบบอื่น เนื่องจากวัตถุดิบในกลุมเอมีหลายตัว ดังนั้นจึงเลือกวัตถุดิบ 2 รายการ คือวัตถุดิบที่มีลักษณะการแจกแจงแบบ ปรกติ ดังแสดงในรูปที่ 2 กับวัตถุดิบที่มีลักษณะการแจกแจงแบบอื่น ๆ เชน วัตถุดิบที่มีลักษณะการใชแบบซ้ําๆ ดังแสดงในรูปที่ 3 เพื่อ ทําการศึกษา หลังจากนั้นนําขอมูลปริมาณการใชวัตถุดิบระหวางเดือน มกราคม – ธันวาคม ไปคํานวณคาตาง ๆ ตามนโยบายคงคลังที่ศึกษา พรอมทั้งคํานวณตนทุนและอัตราการเติมเต็มวัตถุดิบของแตละนโยบาย เพื่อนําไปเปรียบเทียบกับตนทุนของนโยบายปจจุบัน ซึ่งไดกําหนดใหไม มีวัตถุดิบขาดมือหรืออัตราการเติมเต็มเทากับรอยละ 99 โดยผลการศึกษาพบวา การนํานโยบายวัตถุดิบคงคลังโดย อางอิงจากทฤษฎีและวิธีการจําลองสถานการณ มาประยุกตใชกับขอมูล วัตถุดิบที่มีลักษณะ การใชที่มีการแจกแจงแบบปกติ ดังแสดงในตาราง 191 ที่ 3 ทั้ง 6 วิธี สามารถลดตนทุนรวมได โดยนโยบายที่เหมาะสมที่ทําให ตนทุนรวม ต่ําที่สุด คือ วิธีการจําลองสถานการณแบบนโยบาย (s, S) สามารถลดตนทุนรวมของการจัดการวัตถุดิบคงคลังไดเปนจํานวนเงิน 172,059.27 บาท หรือคิดเปนรอยละ 5.34 และปริมาณวัตถุดิบคงคลัง เฉลี่ยลดลงรอยละ 78.71 สวนลักษณะการใชวัตถุดิบที่มีการแจกแจง รูปแบบอื่น ๆ เชน มีลักษณะการใชแบบซ้ํา ๆ ดังแสดงในตารางที่ 4 คาที่ ไดจากการคํานวณตามทฤษฎี ยังไมสามารถลดตนทุนได แตวิธีการ จําลองสถานการณทั้งแบบนโยบาย (s, S) และ (s, Q) สามารถลดตนทุน รวมลงได โดยวิธีการจําลองสถานการณแบบนโยบาย (s, Q) เหมาะสม กับลักษณะการใชวัตถุดิบแบบซ้ํา ๆ มากกวาวิธีการจําลองสถานการณ แบบนโยบาย (s, S) โดยสามารถลดตนทุนรวมของการจัดการวัตถุดิบคง คลังไดเปนจํานวนเงิน 11,191.81 บาท หรือคิดเปนรอยละ 0.28 และ ปริมาณวัตถุดิบคงคลังเฉลี่ยลดลงรอยละ 36.05 รูปที่ 2 วัตถุดิบที่มีลักษณะการแจกแจงแบบปกติ รูปที่ 3 วัตถุดิบที่มีลักษณะการใชแบบซ้ํา ๆ

ตารางที่<br />

2 สรุปการแบงกลุมวัตถุดิบจากการวิเคราะหเอบีซี<br />

กลุม<br />

มูลคาวัตุดิบ (บาท) จํานวน<br />

วัตถุดิบ<br />

รอยละของ<br />

วัตถุดิบ<br />

รอยละของ<br />

มูลคา<br />

เอ 29,173,011.53 17 16.04 74.50<br />

บี 7,539,060.52 19 17.92 19.25<br />

ซี 2,445,688.76 70 66.04 6.25<br />

รวม 39,157,760.81 106 100.00 100.00<br />

A B C<br />

รูปที่<br />

1 การแบงกลุมตามมูลคาการใช<br />

โดย ABC Analysis<br />

4.2 การวิเคราะหนโนบายวัตถุดิบคงคลังที่เหมาะสม<br />

เนื่องจากปริมาณการใชวัตถุดิบแตละรายการมีลักษณะการใช<br />

ที่แตกตางกัน<br />

จึงไดเลือกวัตถุดิบประเภทสารเคมีในกลุมเอ<br />

คือมีมูลคาการ<br />

ใชตอปสูงและมีรอบของวัตถุดิบคงคลังสูง เมื่อนําขอมูลปริมาณการใช<br />

รายวันของกลุมเอไปทดสอบคาทางสถิติดวย<br />

Input Analysis จาก<br />

โปรแกรม Arena สามารถแบงลักษณะการใชที่มีการแจกแจงแบบปกติ<br />

และการแจกแจงแบบรูปแบบอื่น<br />

เนื่องจากวัตถุดิบในกลุมเอมีหลายตัว<br />

ดังนั้นจึงเลือกวัตถุดิบ<br />

2 รายการ คือวัตถุดิบที่มีลักษณะการแจกแจงแบบ<br />

ปรกติ ดังแสดงในรูปที่<br />

2 กับวัตถุดิบที่มีลักษณะการแจกแจงแบบอื่น<br />

ๆ<br />

เชน วัตถุดิบที่มีลักษณะการใชแบบซ้ําๆ<br />

ดังแสดงในรูปที่<br />

3 เพื่อ<br />

ทําการศึกษา หลังจากนั้นนําขอมูลปริมาณการใชวัตถุดิบระหวางเดือน<br />

มกราคม – ธันวาคม ไปคํานวณคาตาง ๆ ตามนโยบายคงคลังที่ศึกษา<br />

พรอมทั้งคํานวณตนทุนและอัตราการเติมเต็มวัตถุดิบของแตละนโยบาย<br />

เพื่อนําไปเปรียบเทียบกับตนทุนของนโยบายปจจุบัน<br />

ซึ่งไดกําหนดใหไม<br />

มีวัตถุดิบขาดมือหรืออัตราการเติมเต็มเทากับรอยละ 99<br />

โดยผลการศึกษาพบวา การนํานโยบายวัตถุดิบคงคลังโดย<br />

อางอิงจากทฤษฎีและวิธีการจําลองสถานการณ มาประยุกตใชกับขอมูล<br />

วัตถุดิบที่มีลักษณะ<br />

การใชที่มีการแจกแจงแบบปกติ<br />

ดังแสดงในตาราง<br />

191<br />

ที่<br />

3 ทั้ง<br />

6 วิธี สามารถลดตนทุนรวมได โดยนโยบายที่เหมาะสมที่ทําให<br />

ตนทุนรวม ต่ําที่สุด<br />

คือ วิธีการจําลองสถานการณแบบนโยบาย (s, S)<br />

สามารถลดตนทุนรวมของการจัดการวัตถุดิบคงคลังไดเปนจํานวนเงิน<br />

172,059.27 บาท หรือคิดเปนรอยละ 5.34 และปริมาณวัตถุดิบคงคลัง<br />

เฉลี่ยลดลงรอยละ<br />

78.71 สวนลักษณะการใชวัตถุดิบที่มีการแจกแจง<br />

รูปแบบอื่น<br />

ๆ เชน มีลักษณะการใชแบบซ้ํา<br />

ๆ ดังแสดงในตารางที่<br />

4 คาที่<br />

ไดจากการคํานวณตามทฤษฎี ยังไมสามารถลดตนทุนได แตวิธีการ<br />

จําลองสถานการณทั้งแบบนโยบาย<br />

(s, S) และ (s, Q) สามารถลดตนทุน<br />

รวมลงได โดยวิธีการจําลองสถานการณแบบนโยบาย (s, Q) เหมาะสม<br />

กับลักษณะการใชวัตถุดิบแบบซ้ํา<br />

ๆ มากกวาวิธีการจําลองสถานการณ<br />

แบบนโยบาย (s, S) โดยสามารถลดตนทุนรวมของการจัดการวัตถุดิบคง<br />

คลังไดเปนจํานวนเงิน 11,191.81 บาท หรือคิดเปนรอยละ 0.28 และ<br />

ปริมาณวัตถุดิบคงคลังเฉลี่ยลดลงรอยละ<br />

36.05<br />

รูปที่<br />

2 วัตถุดิบที่มีลักษณะการแจกแจงแบบปกติ<br />

รูปที่<br />

3 วัตถุดิบที่มีลักษณะการใชแบบซ้ํา<br />

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!