ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

โดยที่ไมพิจารณาความแปรปรวนของกระบวนการ rb คือ อัตราการผลิตที่ สูงที่สุดของระบบซึ่งหมายถึง อัตราการผลิตที่ต่ําที่สุด ณ จุดคอขวด นั่นเอง และ To คือ เวลารวมของการผลิตทั้งหมด หลังจากทั้งสองขั้นตอนนี้ จะไดทางเลือกของขนาดบัพเฟอร จากคา K ซึ่งอาจจะมีไดหลายคาและคา Wo เพื่อมาทําการทดสอบหาคาที่ เหมาะสมที่จะนํามาใชเปนขนาดของบัฟเฟอรในระบบของ TOC 3.2 การใชเทคนิคการจําลองสถานการณมาใชในการหาขนาด บัฟเฟอรที่เหมาะสมาราง เมื่อมี Buffer Size Candidate หลายๆคา เราจะใชการจําลอง สถานการณ เขามาชวยในการหาคาขนาดของบัฟเฟอรที่เหมาะสมโดยที่ ใชการจําลองสถานการณมาทดสอบคา Buffer Size Candidate ที่มีอยู และเก็บคาผลิตผลรวมออกมาทําการเปรียบเทียบกันในแตละสถานการณ และเลือกเอาคา Buffer Size Candidate ที่ทําใหมีคาผลผลิตรวมมากกวา คาผลผลิตรวมเปาหมาย มาตั้งเปน คาบัฟเฟอรของจุดคอขวดนั้นๆ โดย ในการเปรียบเทียบผลผลิตรวม จะใชหลักการของการสราง Mean Confidence Interval ของผลผลิตขึ้นมาทําการเปรียบเทียบกับคาผลผลิต เปาหมาย ซึ่งจะไดแสดงตัวอยางในสวนตอไป 4. ตัวอยางการประยุกตใช ในที่นี้จะขออาศัยตัวอยางจากงานวิจัย [8] มาทําการแสดงให เห็นถึงการนําวิธีการที่นําเสนอนี้ไปใชงาน โดยตัวอยางที่จะนํามาแสดงนี้ เปนตัวอยางของปญหาในรูปแบบระบบการผลิตแบบยืดหยุน (Flexible Manufacturing) ที่มีจํานวนผลิตภัณฑ 5 ประเภทและจํานวนเครื่องจักร 7 ประเภท (A, B, C, D, E, F และ G) ขอมูลตั้งตน : 180 1) ตําแหนงของจุดคอขวด คือ เครื่องจักร G (การหาจุดที่เปนคอขวด ของกระบวนการสามารถทําไดหลายวิธี แตจากตัวอยางนี้กําหนดโดยวิธี ที่นําเสนอใน [9]) 2) ρ = 1.066 (ที่ G) ( λ = 0.001623 lot/min, µ = 0.001522 lot/min) 3) rb = 0.00122 lot/ min (ที่ G) 4) To = 4520.12 โดย กําหนดให: 1 Lot = 100 หนวย จากขอมูลตั้งตนที่มาจากงานวิจัย [8] ขอมูลในขอ 1), 2) มา จากการใชเทคนิคการจําลองสถานการณมาทําเก็บขอมูล โดยใชหลักการ การสรางตัวแบบจําลองสถานการณสําหรับระบบ TOC ที่เสนอใน งานวิจัย [10] และใชวิธีการหาตําแหนงของคอขวดในกระบวนการตาม วิธีของ [9] สวนขอมูลในขอ 3) และ 4) มาจากการนําขอมูลพื้นฐานของ ระบบการผลิตมาใชไดโดยตรง ในการทดลองนี้ เราจะทําการใชคา x ทั้งหมด 3 คา คือ 1%, 3% และ 5% มาใชในการคํานวณขนาดของบัฟเฟอรในรูปแบบของ แถวคอยของเครื่องจักรที่เปนจุดคอขวด ซึ่งในที่นี้คือเครื่องจักร G ดังนั้น ตารางของขนาดบัฟเฟอรที่จะนํามาทําการทดสอบจะแสดงดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ขนาดของบัฟเฟอรที่จะนํามาทําการทดลองโดยการจําลอง สถานการณ Factor ขนาดบัฟเฟอร (หนวย) x = 1 % 31 x = 3% 18 x = 5% 13 W o 6

จากนั้นทําการทดลองโดยใชแบบจําลองสถานการณบน ARENA 11.0 โดยใชเวลาการผลิตคือ 30 วัน วันละ 24 ชั่วโมง โดยทําการ ทดลองทั้งหมด 50 ครั้งตอหนึ่งสถานการณ และมีสถานการณทั้งหมด 5 สถานการณ คือ สถานการณที่ 1 ไมมีการใชบัฟเฟอร และสถานการณที่ 2 ถึง 5 เปลี่ยนขนาดบัฟเฟอรตามตารางที่ 1 จากนั้นทําการเก็บขอมูลของคาผลผลิตที่ไดจากกระบวนการ นํามาเปรียบเทียบโดยใช Throughput Mean Confidence Interval Comparison ที่ชวงความเชื่อมั่น 95% เพื่อหาวาขนาดบัฟเฟอรที่เหมาะสม ซึ่งแสดงดังรูปภาพที่ 2 จากรูปภาพที่ 2 แสดงใหเห็นวา การใชบัฟเฟอรมาปองกันจุด คอขวดไมใหเกิดการวางงานนั้น ทําใหมีผลผลิตเพิ่มขึ้นโดยรวมในทุก สถานการณเทียบกับสถานการณตั้งตน ดังนั้น ผลที่ไดจากการทดลองในตัวอยางนี้ จะเห็นไดวาการ ใชบัฟเฟอรทุกขนาดก็ทําใหเกิดความแตกตางของผลผลิตที่ไดเมื่อเทียบ กับสถานการณที่ไมมีการใชบัฟเฟอรเขามาชวย (ซึ่งในตัวอยางนี้ ไมไดมี การกําหนดคาผลผลิตเปาหมายดังนั้นจะเลือกขนาดบัพเฟอรจาก สถานการณที่เกิดการเพิ่มของผลผลิตที่แตกตางจากสถานการณที่ไมมี การใชบัพเฟอร) 5. วิเคราะหและสรุปผลการศึกษา จากวิธีการที่นําเสนอนี้เปนการใชเทคนิคการจําลอง สถานการณมาชวยในการเลือกขนาดของบัฟเฟอรที่จะนําไปใช ณ จุดคอ ขวดของกระบวนการ ซึ่งการใชเทคนิคการจําลองสถานการณนั้นมี ประโยชนมากในการใหขอมูลประกอบการตัดสินใจเนื่องจากในบางครั้ง การทําการทดลองไมสามารถทําในระบบผลิตได ซึ่งวิธีที่นําเสนอนี้ นอกจากจะนําเทคนิคทางการจําลองสถานการณมาใชแลวยังเปนการนํา แนวคิดในเรื่องของทฤษฎีแถวคอยและ Factory Physics เขามาประกอบ ในการหาทางเลือกของขนาดบัฟเฟอรอยางมีหลักการ จากผลการทดลองในตัวอยางที่ไดยกขึ้นมานี้แสดงใหเห็นถึง ประโยชนของการนําเทคนิคการจําลองสถานการณเขามาชวยในการ ตัดสินใจในการเลือกขนาดของบัฟเฟอรที่จะนํามาใช เชนในตัวอยางที่ได นําเสนอ จะเห็นวาทุกขนาดของบัฟเฟอรนั้นจะชวยใหผลผลิตโดยรวม เพิ่มขึ้น แตหลักการในการเลือกขนาดบัฟเฟอรถามองไปถึงตนทุนใน สายการผลิต ทางเลือกที่ดีที่สุดคือ ควรจะเลือกขนาดบัฟเฟอรที่นอยที่สุด รูปที่ 2 การเปรียบเทียบคาผลผลิตโดยการสราง Mean Confidence Interval ที่สามารถทําใหผลผลิตโดยรวมเพิ่มขึ้นตามความตองการ ดังนั้นใน ตัวอยางนี้ ไมไดมีการกําหนดคาผลผลิตเปาหมาย ทางเลือกที่เหมาะสม ที่สุดจึงเปนทางเลือกของขนาดบัฟเฟอรที่เทากับ 6 แตถาหากวาทางเลือก เพิ่มหรือลด หรือมีเงื่อนไขอื่นๆเพิ่มเติม เชน คาผลผลิตเปาหมายที่ เปลี่ยนไป หรือการเลือกใช % ของชวงความเชื่อมั่นที่เปลี่ยนไป ซึ่งอาจมี ผลตอการตัดสินใจได (มีผลการศึกษาระบุใน [11]) การตัดสินใจเลือก ขนาดของบัฟเฟอรที่จะนํามาใชก็จะขึ้นกับดุลยพินิจของผูนําวิธีการนี้ไป ใช 6. ขอเสนอแนะ วิธีการที่ทําการเสนอในผลงานวิจัยนี้เปนการนําเอาเทคนิคการ จําลองสถานการณมาใชในการหาขนาดบัฟเฟอร ณ จุดที่เปนคอขวดของ กระบวนการ เพื่อใหมีขนาดที่เหมาะสม ซึ่งวิธีการนี้มีประโยชนมาก เนื่องจากวาเปนการหาขนาดของบัฟเฟอรที่อาศัยหลักการคํานวณอยางมี หลักการ ตามทฤษฎีแถวคอยและ Factory Physics ซึ่งในผลงานวิจัยฉบับ นี้ไดนําเสนอตัวอยางการนําไปใชในระบบของ Flexible Manufacturing ที่มีจุดขอขวดเพียงจุดเดียว อยางไรก็ดี วิธีการนี้สามารถนําไปขยายใชใน กรณีที่มีจุดคอขวดมากกวาสองจุดขึ้นไปไดเชนกัน โดยมีตัวอยางที่ ใกลเคียงนําเสนอใน [12] ดังนั้นการอาศัยวิธีการเลือกขนาดบัฟเฟอรอยางมีหลักการจะ ทําใหสามารถเลือกใชขนาดของบัฟเฟอรที่เหมาะสม ไมมากและไมนอย จนเกินไป รวมทั้งการนําเทคนิคการจําลองสถานการณมาใชก็ทําใหเห็น ถึงแนวโนมของกระบวนการหลังจากที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดวย ซึ่งหากจะมีการนําขนาดบัฟเฟอรที่ไดจากการทดลองไปใชนั้น เพื่อให เกิดประโยชนสูงสุด จึงควรใชรวมกันทั้งระบบของ DBR และการนํา หลักการของ Transfer Lot Size ซึ่งเปนเครื่องมืออีกอยางหนึ่งที่สําคัญ ของแนวคิดแบบ TOC เขามารวมดวย โดยไดมีการนําเสนอการใชเทคนิค Simulation มาชวยในการตั้งระบบของ TOC ในงานวิจัยหลายๆ ฉบับ [10, 12, 13] เอกสารอางอิง [1] Goldratt, E.M. and CoX, J., The Goal: A Process of Ongoing Improvement, Revised Edition, North River Press, 1986. [2] Youngman, K.J., A Guide to Implementing the Theory of Constraint (TOC) For Innovative; Production, Supply Chain, Service Provision, Distribution, Marshalling, Healthcare, 181

จากนั้นทําการทดลองโดยใชแบบจําลองสถานการณบน<br />

ARENA 11.0 โดยใชเวลาการผลิตคือ 30 วัน วันละ 24 ชั่วโมง<br />

โดยทําการ<br />

ทดลองทั้งหมด<br />

50 ครั้งตอหนึ่งสถานการณ<br />

และมีสถานการณทั้งหมด<br />

5<br />

สถานการณ คือ สถานการณที่<br />

1 ไมมีการใชบัฟเฟอร และสถานการณที่<br />

2<br />

ถึง 5 เปลี่ยนขนาดบัฟเฟอรตามตารางที่<br />

1<br />

จากนั้นทําการเก็บขอมูลของคาผลผลิตที่ไดจากกระบวนการ<br />

นํามาเปรียบเทียบโดยใช Throughput Mean Confidence Interval<br />

Comparison ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95% เพื่อหาวาขนาดบัฟเฟอรที่เหมาะสม<br />

ซึ่งแสดงดังรูปภาพที่<br />

2<br />

จากรูปภาพที่<br />

2 แสดงใหเห็นวา การใชบัฟเฟอรมาปองกันจุด<br />

คอขวดไมใหเกิดการวางงานนั้น<br />

ทําใหมีผลผลิตเพิ่มขึ้นโดยรวมในทุก<br />

สถานการณเทียบกับสถานการณตั้งตน<br />

ดังนั้น<br />

ผลที่ไดจากการทดลองในตัวอยางนี้<br />

จะเห็นไดวาการ<br />

ใชบัฟเฟอรทุกขนาดก็ทําใหเกิดความแตกตางของผลผลิตที่ไดเมื่อเทียบ<br />

กับสถานการณที่ไมมีการใชบัฟเฟอรเขามาชวย<br />

(ซึ่งในตัวอยางนี้<br />

ไมไดมี<br />

การกําหนดคาผลผลิตเปาหมายดังนั้นจะเลือกขนาดบัพเฟอรจาก<br />

สถานการณที่เกิดการเพิ่มของผลผลิตที่แตกตางจากสถานการณที่ไมมี<br />

การใชบัพเฟอร)<br />

5. วิเคราะหและสรุปผลการศึกษา<br />

จากวิธีการที่นําเสนอนี้เปนการใชเทคนิคการจําลอง<br />

สถานการณมาชวยในการเลือกขนาดของบัฟเฟอรที่จะนําไปใช<br />

ณ จุดคอ<br />

ขวดของกระบวนการ ซึ่งการใชเทคนิคการจําลองสถานการณนั้นมี<br />

ประโยชนมากในการใหขอมูลประกอบการตัดสินใจเนื่องจากในบางครั้ง<br />

การทําการทดลองไมสามารถทําในระบบผลิตได ซึ่งวิธีที่นําเสนอนี้<br />

นอกจากจะนําเทคนิคทางการจําลองสถานการณมาใชแลวยังเปนการนํา<br />

แนวคิดในเรื่องของทฤษฎีแถวคอยและ<br />

Factory Physics เขามาประกอบ<br />

ในการหาทางเลือกของขนาดบัฟเฟอรอยางมีหลักการ<br />

จากผลการทดลองในตัวอยางที่ไดยกขึ้นมานี้แสดงใหเห็นถึง<br />

ประโยชนของการนําเทคนิคการจําลองสถานการณเขามาชวยในการ<br />

ตัดสินใจในการเลือกขนาดของบัฟเฟอรที่จะนํามาใช<br />

เชนในตัวอยางที่ได<br />

นําเสนอ จะเห็นวาทุกขนาดของบัฟเฟอรนั้นจะชวยใหผลผลิตโดยรวม<br />

เพิ่มขึ้น<br />

แตหลักการในการเลือกขนาดบัฟเฟอรถามองไปถึงตนทุนใน<br />

สายการผลิต ทางเลือกที่ดีที่สุดคือ<br />

ควรจะเลือกขนาดบัฟเฟอรที่นอยที่สุด<br />

รูปที่<br />

2 การเปรียบเทียบคาผลผลิตโดยการสราง Mean Confidence Interval<br />

ที่สามารถทําใหผลผลิตโดยรวมเพิ่มขึ้นตามความตองการ<br />

ดังนั้นใน<br />

ตัวอยางนี้<br />

ไมไดมีการกําหนดคาผลผลิตเปาหมาย ทางเลือกที่เหมาะสม<br />

ที่สุดจึงเปนทางเลือกของขนาดบัฟเฟอรที่เทากับ<br />

6 แตถาหากวาทางเลือก<br />

เพิ่มหรือลด<br />

หรือมีเงื่อนไขอื่นๆเพิ่มเติม<br />

เชน คาผลผลิตเปาหมายที่<br />

เปลี่ยนไป<br />

หรือการเลือกใช % ของชวงความเชื่อมั่นที่เปลี่ยนไป<br />

ซึ่งอาจมี<br />

ผลตอการตัดสินใจได (มีผลการศึกษาระบุใน [11]) การตัดสินใจเลือก<br />

ขนาดของบัฟเฟอรที่จะนํามาใชก็จะขึ้นกับดุลยพินิจของผูนําวิธีการนี้ไป<br />

ใช<br />

6. ขอเสนอแนะ<br />

วิธีการที่ทําการเสนอในผลงานวิจัยนี้เปนการนําเอาเทคนิคการ<br />

จําลองสถานการณมาใชในการหาขนาดบัฟเฟอร ณ จุดที่เปนคอขวดของ<br />

กระบวนการ เพื่อใหมีขนาดที่เหมาะสม<br />

ซึ่งวิธีการนี้มีประโยชนมาก<br />

เนื่องจากวาเปนการหาขนาดของบัฟเฟอรที่อาศัยหลักการคํานวณอยางมี<br />

หลักการ ตามทฤษฎีแถวคอยและ Factory Physics ซึ่งในผลงานวิจัยฉบับ<br />

นี้ไดนําเสนอตัวอยางการนําไปใชในระบบของ<br />

Flexible Manufacturing<br />

ที่มีจุดขอขวดเพียงจุดเดียว<br />

อยางไรก็ดี วิธีการนี้สามารถนําไปขยายใชใน<br />

กรณีที่มีจุดคอขวดมากกวาสองจุดขึ้นไปไดเชนกัน<br />

โดยมีตัวอยางที่<br />

ใกลเคียงนําเสนอใน [12]<br />

ดังนั้นการอาศัยวิธีการเลือกขนาดบัฟเฟอรอยางมีหลักการจะ<br />

ทําใหสามารถเลือกใชขนาดของบัฟเฟอรที่เหมาะสม<br />

ไมมากและไมนอย<br />

จนเกินไป รวมทั้งการนําเทคนิคการจําลองสถานการณมาใชก็ทําใหเห็น<br />

ถึงแนวโนมของกระบวนการหลังจากที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดวย<br />

ซึ่งหากจะมีการนําขนาดบัฟเฟอรที่ไดจากการทดลองไปใชนั้น<br />

เพื่อให<br />

เกิดประโยชนสูงสุด จึงควรใชรวมกันทั้งระบบของ<br />

DBR และการนํา<br />

หลักการของ Transfer Lot Size ซึ่งเปนเครื่องมืออีกอยางหนึ่งที่สําคัญ<br />

ของแนวคิดแบบ TOC เขามารวมดวย โดยไดมีการนําเสนอการใชเทคนิค<br />

Simulation มาชวยในการตั้งระบบของ<br />

TOC ในงานวิจัยหลายๆ ฉบับ<br />

[10, 12, 13]<br />

เอกสารอางอิง<br />

[1] Goldratt, E.M. and CoX, J., The Goal: A Process of Ongoing<br />

Improvement, Revised Edition, North River Press, 1986.<br />

[2] Youngman, K.J., A Guide to Implementing the Theory of<br />

Constraint (TOC) For Innovative; Production, Supply Chain,<br />

Service Provision, Distribution, Marshalling, Healthcare,<br />

181

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!