30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

หลักการของ TOC จึงตองการเนนการบริหารจัดการจุดที่เปนขอจํากัด<br />

(Constraint) ของกระบวนการ หรือ จุดที่เปนคอขวด<br />

(Bottleneck) นั่นเอง<br />

กุญแจสําคัญของหลักการ TOC คือ ผลิตผลของกระบวนการ<br />

โดยรวมจะถูกกําหนดโดยเครื่องจักรหรือกระบวนการที่ทํางานชาที่สุด<br />

ซึ่งทําใหในระบบของ<br />

TOC มีการแบงเครื่องจักรหรือกระบวนการ<br />

ออกเปน 2 ประเภท คือ 1) เครื่องจักรหรือกระบวนการที่เปนคอขวดหรือ<br />

ขอจํากัดของระบบ (Bottleneck หรือ Capacity Constraint Resource<br />

(CCR)) และ 2) เครื่องจักรหรือกระบวนการที่ไมเปนคอขวดหรือไมเปน<br />

ขอจํากัดของระบบ (Non-bottleneck หรือ Non-CCR) เครื่องจักรหรือ<br />

กระบวนการแบบแรก ในที่นี้ขอเรียกวา<br />

จุดคอขวด (Bottleneck) ของ<br />

กระบวนการ หมายถึง เครื่องจักร<br />

หรือกระบวนการ ที่มีกําลังการผลิต<br />

นอยกวาหรือเทากับความตองการในการผลิตสินคา สวนเครื่องจักรหรือ<br />

กระบวนการผลิตประเภทที่สอง<br />

ซึ่งเปนเครื่องจักรหรือกระบวนการที่ไม<br />

เปนคอขวดหรือไมเปนขอจํากัดของระบบนั้น<br />

คือเครื่องจักรหรือ<br />

กระบวนการที่มีกําลังการผลิตมากกวาความตองการผลิตสินคานั่นเอง<br />

ดังนั้นตามหลักการของ<br />

TOC จึงตองการที่จะจัดสมดุลของการผลิต<br />

ณ จุด<br />

ที่เปนคอขวดใหเทากับหรือมากกวาความตองการสินคาจริงของตลาด<br />

DBR เปนกลไกที่นํามาใชควบคุมกระบวนการตามหลักการ<br />

ของ TOC เพื่อที่จะปรับปรุงการทํางาน<br />

ณ จุดที่เปนคอขวดเปนหลัก<br />

จุดที่<br />

เปนคอขวดจะถูกกําหนดใหเปน กลอง (Drum) ซึ่งหมายถึงผูควบคุม<br />

จังหวะ ความหมายคือจุดที่เปนคอขวดจะใหสัญญาณแกจุดอื่นๆในระบบ<br />

ใหทําการผลิตในอัตราเดียวกัน โดยทั้งระบบควรจะทํางานโดยอางอิง<br />

อัตราการทํางานของจุดที่เปนคอขวดเปนหลัก<br />

บัฟเฟอร (Buffer) คือ จํานวนชิ้นสวนระหวางการผลิตที่เก็บ<br />

ไวสําหรับปองกันการวางงาน ณ จุดที่เปนคอขวด<br />

ซึ่งตําแหนงที่เหมาะสม<br />

ของบัฟเฟอรจะอยูที่กอนหนากระบวนการที่เปนคอขวดนั่นเอง<br />

ตาม<br />

หลักการของ TOC จะใชบัฟเฟอรในลักษณะของ บัฟเฟอรที่เปนตัวเวลา<br />

(Time Buffer) ซึ่งแสดงตัวอยางในภาพที่<br />

1<br />

รูปที่<br />

1 บัฟเฟอรที่เปนตัวเวลา<br />

178<br />

การใชบัฟเฟอรเปนตัวเวลานี้<br />

จะเชื่อมโยงกับการปลอย<br />

วัตถุดิบเขาสูกระบวนการผลิต<br />

โดยใชอัตราการผลิตของเครื่องจักรหรือ<br />

กระบวนการที่เปนจุดคอขวดเปนตัวกําหนด<br />

การใชบัฟเฟอรเปนตัวเวลาก็<br />

เนื่องจากวาชวงเวลานั้นสามารถถูกกําหนดตายตัวได<br />

ในขณะที่จํานวน<br />

ขนาดของผลิตภัณฑนั้นไมตายตัว<br />

เนื่องจากในกระบวนการผลิตอาจจะมี<br />

ผลิตภัณฑไดหลายชนิดและใชเวลาในการผลิตที่แตกตางกัน<br />

สวนประกอบสุดทายคือ เชือก (Rope) ซึ่งหมายถึง<br />

ขอมูลที่สง<br />

จากเครื่องจักรหรือกระบวนการที่เปนคอขวด<br />

เพื่อควบคุมไมใหมีปริมาณ<br />

สินคาระหวางการผลิตมากเกินไป ซึ่งอาจสงผลกระทบกับผลผลิต<br />

โดยรวมของกระบวนการ<br />

วัตถุประสงคของกลไก DBR คือการทําใหเกิดกระบวนการ<br />

ผลิตที่สามารถควบคุมใหเกิดการผลิตที่เพิ่มขึ้น<br />

โดยใหมีสินคาระหวาง<br />

การผลิตที่ลดลง<br />

รวมไปถึงการลดของเสียและงานที่ตองทําการแกไข<br />

และใหสามารถจัดสงสินคาใหไดตามเวลาที่กําหนด<br />

ดังนั้นเพื่อจะให<br />

บรรลุจุดมุงหมายทั้งหมด<br />

กระบวนการหรือเครื่องจักรที่เปนขอจํากัดของ<br />

กระบวนการหรือจุดคอขวดนั้น<br />

จําเปนที่จะตองถูกปกปองไมใหไดรับผล<br />

ที่เกิดจากการผันแปรของกระบวนการ<br />

เพื่อใหการผลิตสามารถเกิด<br />

ประสิทธิภาพสูงสุด<br />

จากผลการศึกษาใน [3] นําเสนอ การใชเทคนิคการจําลอง<br />

สถานการณในการวัดประสิทธิภาพของกลไก DBR โดยทําการศึกษา<br />

ประสิทธิภาพของระบบการผลิต 3 แบบ คือ ระบบ MRP (Push System),<br />

DBR (TOC system) และระบบบัฟเฟอรใชรวมกับระบบ MRP พบวา ใน<br />

สถานการณที่ความผันแปรของระบบเพิ่มขึ้น<br />

กลไกของ DBR สามารถจะ<br />

ชวยรักษาสมดุลการผลิตของสายการผลิตได นอกจากนั้นยังพบวา<br />

ระบบ<br />

MRP ที่มีการใชบัฟเฟอร<br />

สามารถรักษาสมดุลการผลิตไดดีกวาระบบ<br />

MRP ดั้งเดิม<br />

และเมื่อทําการเปรียบเทียบระบบ<br />

DBR กับระบบ MRP ที่มี<br />

การใชบัฟเฟอร พบวา ระบบ MRP ที่มีการใชบัฟเฟอรทําใหเกิดการ<br />

วางงานบนกระบวนการที่เปนจุดคอขวด<br />

ดังนั้นการศึกษาฉบับนี้จึง<br />

สรุปวา กลไก DBR ในระบบ TOC นั้นดีที่สุดจากการเปรียบเทียบกันของ<br />

ทั้งสามระบบ<br />

จากผลการศึกษาใน [4] ซึ่งศึกษาการทดสอบกลไก<br />

DBR ใน<br />

ระบบการผลิตแบบตามกระบวนการ (Job-shop) ซึ่งผลการศึกษาไดแสดง<br />

ใหเห็นวา DBR นั้นชวยใหระบบทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

นอกจากนี้ยังมีการศึกษาของ<br />

[5] อธิบายถึงหลักการของการ<br />

ใชบัฟเฟอรเพื่อตอสูกับความแปรปรวนของกระบวนการ<br />

แตในตอนทาย<br />

ของการศึกษานี้ไดมีการสรุปวา<br />

ไมวาจะใชวิธีใดก็ตาม การลดความ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!