ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

[8] ประเสริฐ ศรีบุญจันทร และ สมจิตร ลาภโนนเขวา, ระบบการผลิต แบบลีนของสายการประกอบเครื่องเชื่อมในอุตสาหกรรมผลิต เครื่องเชื่อม, การประชุมวิชาการครุศาสตรอุตสาหกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 1, สถานบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง , 2549, หนา 78 – 86 [9] ศิระพงศ ลือชัย, การลดตนทุนการผลิตในโรงงานเซรามิกโดยใช เทคนิคการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา, วารสารโลกพลังงาน 8,26 (ม.ค.-มี.ค. 2548) 20-27., 2548. [10] อรอุมา กอสนาน, วรลักษณ จันทรกระจาง, วัชระ พรหมสมบูรณ, จรูญศักดิ์ มีทอง, การเพิ่มผลผลิตของสายการผลิตสลีฟสําหรับสปน เดิลมอเตอรในอุตสาหกรรมการผลิตฮารดดิสก, การประชุมวิชาการ เครือขายวิศวกรรมอุตสาหการแหงประเทศไทย, สงขลา, 2551. [11] R. Baptista ,J.F Antune Simoes, “Three and five axes milling of sculptured surfaces”, Technical University of Lisboa, Libson, Portugal, 1999. [12] Kuang – Hua Fuh , Hung – Yen Chang, “An accuracy model for the peripheral milling of aluminum alloys using response surface design”, Mechanical Engineering, 1996. [13] Chowdhury K. K. and E. V. Gopal., Quality Improvement Through Design of Experiments, Quality Engineering, 2000. ประวัติผูเขียนบทความ ผูชวยศาสตราจารยวันชัย ลีลากวีวงศ สําเร็จการศึกษา วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการงาน วิศวกรรม) มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย และวิศวกรรม ศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ) สถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทเวศน สนใจงานวิจัย ดานวิศวกรรมอุตสาหการ ผูชวยศาสตราจารยสุขุม โฆษิตชัยมงคล สําเร็จ การศึกษา วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยี วัสดุ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และ ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี สนใจงานวิจัย ดานวิศวกรรมอุตสาหการ นายสิริพงศ จึงถาวรรณ สําเร็จการศึกษา บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัย รามคําแหง และ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรม 176 อุตสาหการ) มหาวิทยาลัยศิลปากร สนใจงานวิจัยดาน วิศวกรรมอุตสาหการ นางสาวอภัสนันท แพงทอง สําเร็จการศึกษา วิศวกรรม ศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ) มหาวิทยาลัย ศิลปากร สนใจงานวิจัยดานวิศวกรรมอุตสาหการ

177 การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554 วันที่ 8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ การคัดเลือกขนาดของบัฟเฟอรโดยอาศัยเทคนิคการจําลองสถานการณ Buffer Size Selection via Using Simulation Technique ชมพูนุท เกษมเศรษฐ 1 และวรทัศร ขจิตวิชยานุกูล 2 1 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2 Industrial and Manufacturing Engineering, School of Engineering & Technology, Asian Institute of Technology บทคัดยอ ระบบ Drum-Buffer-Rope (DBR) เปนกลไกในการควบคุม ระบบการผลิตซึ่งมาจากแนวคิดของทฤษฎีขอจํากัด (Theory of Constraints, TOC) ซึ่งเปนทฤษฎีที่เนนการปรับปรุงคอขวดใน กระบวนการผลิต บัฟเฟอร คือจํานวนชิ้นสวนระหวางการประกอบที่ควร เผื่อไว เพื่อปองกันการวางงานของเครื่องจักรในจุดที่เปนคอขวดของ กระบวนการผลิต และเพื่อที่จะใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่ง หมายถึงการใชกําลังการผลิตของจุดที่เปนคอขวดใหไดมากที่สุด การ ขนาดของบัฟเฟอรนั้นเปนสิ่งที่ยากในการคํานวณวา ควรจะใชที่จํานวน เทาใด จึงจะทําใหระบบโดยรวมสามารถทํางานไดเกิดประสิทธิภาพมาก ที่สุด งานวิจัยฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อนําเสนอระเบียบวิธีการกําหนดขนาด ของบัฟเฟอร โดยอาศัยเทคนิคการจําลองสถานการณ โดยทําการจําลอง ระบบ เพื่อหาขนาดของบัฟเฟอรที่เหมาะสม เริ่มจากการหาทางเลือก ขนาดของบัฟเฟอร ซึ่งมาจากการคํานวณโดยใชหลักการของทฤษฎี แถวคอย (Queuing Theory) และหลักการของฟสิกสโรงงาน (Factory Physics) หลังจากนั้นจึงทําการหาขนาดบัฟเฟอรที่เหมาะสมโดยอาศัยการ จําลองสถานการณ ซึ่งจะไดมีการแสดงตัวอยาง เพื่อใหเห็นถึงการนํา ระเบียบวิธีที่นําเสนอไปประยุกตใชในงานวิจัยฉบับนี้ดวย คําสําคัญ: บัฟเฟอร, ทฤษฎีขอจํากัด, เทคนิคการจําลองสถานการณ, ทฤษฎีแถวคอย, DBR, ฟสิกสโรงงาน Abstract Drum-Buffer-Rope (DBR) is the Theory of Constraints (TOC) based mechanism to control the system in order to improve the bottleneck. Buffers are stored parts to protect the system bottleneck from the shortage in order to maximize the use of bottleneck’s capacity. The size of buffer is one parameter that is difficult to set up and it has the effect on the system output and production cost. The motivation of this study is to present a procedure to obtain the size of buffer by applying simulation technique. Simulation experiment is conduct to evaluate the sizes of buffer that derive from queuing theory and Factory E-mail: 1 chompook@gmail.com, 2 voratas@ait.ac.th Physic concept. Then, the appropriate buffer size is selected. The numerical example is illustrated to show how the procedure works. Keywords: Buffer, Theory of Constraints, Simulation, Queuing Theory, DBR, Factory Physic 1. บทนํา ทฤษฎีขอจํากัด (Theory of Constraints, TOC) ไดถูกพัฒนา และใชอยางแพรหลายเพื่อการบริหารจัดการโรงงานอยางมีประสิทธิภาพ วิธีการคิดตามแบบของ TOC นี้เปนการนําเสนอแนวคิดใหมสําหรับการ บริหารและจัดการกระบวนการทํางาน โดยมีหลักการคือ การเนน การจัดการ ณ จุดที่เปนขอจํากัด (Constraint) ของกระบวนการเปนหลัก หรือที่เราเรียกวา จุดคอขวด (Bottleneck) ของกระบวนการนั่นเอง Drum-Buffer-Rope (DBR) เปนกลไกที่นํามาใชควบคุม กระบวนการตามหลักการของ TOC เพื่อที่จะปรับปรุงการทํางาน ณ จุดที่ เปนคอขวดเปนหลัก บัฟเฟอร (Buffers) คือ จํานวนชิ้นสวนระหวาง ประกอบของผลิตภัณฑ ซึ่งตองเผื่อไวเพื่อปองกันไมใหเกิดการวางงาน ของเครื่องจักร หรือกระบวนการที่เปนคอขวดของระบบ ทั้งนี้เพื่อใหคอ ขวดของระบบสามารถใชกําลังการผลิตอยางเต็มที่ ขนาดหรือปริมาณ ของบัฟเฟอร เปนพารามิเตอรที่ยากแกการกําหนดคาที่จะทําใหเกิด ประสิทธิภาพรวมของกระบวนการดีที่สุด ดังนั้นงานวิจัยฉบับนี้จึง ตองการนําเสนอระเบียบวิธีการกําหนดขนาดของบัฟเฟอรที่เหมาะสม โดยอาศัยเทคนิคการจําลองสถานการณ 2. ความรูพื้นฐานและงานวิจัยที่เกี่ยวของ “An hour lost at the bottleneck is an hour lost for the entire system. An hour saved at a non-bottleneck is a mirage” จากประโยค ขางตนซึ่งเขียนไวใน [1] โดย Goldratt and Cox ในป 1986 สามารถ ตีความไดวา จํานวนชั่วโมงการผลิตที่เสียไปของจุดคอขวดของ กระบวนการ คือการสูญเสียกําลังการผลิตของทั้งระบบ ดังนั้น ตาม

177<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

การคัดเลือกขนาดของบัฟเฟอรโดยอาศัยเทคนิคการจําลองสถานการณ<br />

Buffer Size Selection via Using Simulation Technique<br />

ชมพูนุท เกษมเศรษฐ 1 และวรทัศร ขจิตวิชยานุกูล 2<br />

1<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม<br />

2<br />

Industrial and Manufacturing Engineering, School of Engineering & Technology, Asian Institute of Technology<br />

บทคัดยอ<br />

ระบบ Drum-Buffer-Rope (DBR) เปนกลไกในการควบคุม<br />

ระบบการผลิตซึ่งมาจากแนวคิดของทฤษฎีขอจํากัด<br />

(Theory of<br />

Constraints, TOC) ซึ่งเปนทฤษฎีที่เนนการปรับปรุงคอขวดใน<br />

กระบวนการผลิต บัฟเฟอร คือจํานวนชิ้นสวนระหวางการประกอบที่ควร<br />

เผื่อไว<br />

เพื่อปองกันการวางงานของเครื่องจักรในจุดที่เปนคอขวดของ<br />

กระบวนการผลิต และเพื่อที่จะใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากที่สุด<br />

ซึ่ง<br />

หมายถึงการใชกําลังการผลิตของจุดที่เปนคอขวดใหไดมากที่สุด<br />

การ<br />

ขนาดของบัฟเฟอรนั้นเปนสิ่งที่ยากในการคํานวณวา<br />

ควรจะใชที่จํานวน<br />

เทาใด จึงจะทําใหระบบโดยรวมสามารถทํางานไดเกิดประสิทธิภาพมาก<br />

ที่สุด<br />

งานวิจัยฉบับนี้<br />

จัดทําขึ้นเพื่อนําเสนอระเบียบวิธีการกําหนดขนาด<br />

ของบัฟเฟอร โดยอาศัยเทคนิคการจําลองสถานการณ โดยทําการจําลอง<br />

ระบบ เพื่อหาขนาดของบัฟเฟอรที่เหมาะสม<br />

เริ่มจากการหาทางเลือก<br />

ขนาดของบัฟเฟอร ซึ่งมาจากการคํานวณโดยใชหลักการของทฤษฎี<br />

แถวคอย (Queuing Theory) และหลักการของฟสิกสโรงงาน (Factory<br />

Physics) หลังจากนั้นจึงทําการหาขนาดบัฟเฟอรที่เหมาะสมโดยอาศัยการ<br />

จําลองสถานการณ ซึ่งจะไดมีการแสดงตัวอยาง<br />

เพื่อใหเห็นถึงการนํา<br />

ระเบียบวิธีที่นําเสนอไปประยุกตใชในงานวิจัยฉบับนี้ดวย<br />

คําสําคัญ: บัฟเฟอร, ทฤษฎีขอจํากัด, เทคนิคการจําลองสถานการณ,<br />

ทฤษฎีแถวคอย, DBR, ฟสิกสโรงงาน<br />

Abstract<br />

Drum-Buffer-Rope (DBR) is the Theory of Constraints<br />

(TOC) based mechanism to control the system in order to improve the<br />

bottleneck. Buffers are stored parts to protect the system bottleneck<br />

from the shortage in order to maximize the use of bottleneck’s capacity.<br />

The size of buffer is one parameter that is difficult to set up and it has<br />

the effect on the system output and production cost. The motivation of<br />

this study is to present a procedure to obtain the size of buffer by<br />

applying simulation technique. Simulation experiment is conduct to<br />

evaluate the sizes of buffer that derive from queuing theory and Factory<br />

E-mail: 1 chompook@gmail.com, 2 voratas@ait.ac.th<br />

Physic concept. Then, the appropriate buffer size is selected. The<br />

numerical example is illustrated to show how the procedure works.<br />

Keywords: Buffer, Theory of Constraints, Simulation, Queuing Theory,<br />

DBR, Factory Physic<br />

1. บทนํา<br />

ทฤษฎีขอจํากัด (Theory of Constraints, TOC) ไดถูกพัฒนา<br />

และใชอยางแพรหลายเพื่อการบริหารจัดการโรงงานอยางมีประสิทธิภาพ<br />

วิธีการคิดตามแบบของ TOC นี้เปนการนําเสนอแนวคิดใหมสําหรับการ<br />

บริหารและจัดการกระบวนการทํางาน โดยมีหลักการคือ การเนน<br />

การจัดการ ณ จุดที่เปนขอจํากัด<br />

(Constraint) ของกระบวนการเปนหลัก<br />

หรือที่เราเรียกวา<br />

จุดคอขวด (Bottleneck) ของกระบวนการนั่นเอง<br />

Drum-Buffer-Rope (DBR) เปนกลไกที่นํามาใชควบคุม<br />

กระบวนการตามหลักการของ TOC เพื่อที่จะปรับปรุงการทํางาน<br />

ณ จุดที่<br />

เปนคอขวดเปนหลัก บัฟเฟอร (Buffers) คือ จํานวนชิ้นสวนระหวาง<br />

ประกอบของผลิตภัณฑ ซึ่งตองเผื่อไวเพื่อปองกันไมใหเกิดการวางงาน<br />

ของเครื่องจักร<br />

หรือกระบวนการที่เปนคอขวดของระบบ<br />

ทั้งนี้เพื่อใหคอ<br />

ขวดของระบบสามารถใชกําลังการผลิตอยางเต็มที่<br />

ขนาดหรือปริมาณ<br />

ของบัฟเฟอร เปนพารามิเตอรที่ยากแกการกําหนดคาที่จะทําใหเกิด<br />

ประสิทธิภาพรวมของกระบวนการดีที่สุด<br />

ดังนั้นงานวิจัยฉบับนี้จึง<br />

ตองการนําเสนอระเบียบวิธีการกําหนดขนาดของบัฟเฟอรที่เหมาะสม<br />

โดยอาศัยเทคนิคการจําลองสถานการณ<br />

2. ความรูพื้นฐานและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

“An hour lost at the bottleneck is an hour lost for the entire<br />

system. An hour saved at a non-bottleneck is a mirage” จากประโยค<br />

ขางตนซึ่งเขียนไวใน<br />

[1] โดย Goldratt and Cox ในป 1986 สามารถ<br />

ตีความไดวา จํานวนชั่วโมงการผลิตที่เสียไปของจุดคอขวดของ<br />

กระบวนการ คือการสูญเสียกําลังการผลิตของทั้งระบบ<br />

ดังนั้น<br />

ตาม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!