30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ชิ้นงานทั้ง<br />

3 คน มีวิธีการทํางานที่เหมือนกันทําใหขอมูลที่ไดจากการวัดมี<br />

ความถูกตองและแมนยํา<br />

4.3 ผลการดําเนินงานดานโปรแกรม<br />

4.3.1 ผลการทดลองในชวงที่<br />

1<br />

ผลการทดลองในชวงที่<br />

1 เปนการทดลองตัดชิ้นงานโดย<br />

ยกเลิกโปรแกรมชวยปรับอัตโนมัติ แลวเก็บคาที่พนักงานควบคุม<br />

เครื่องจักรปรับคานํามาพลอตกราฟไดดังรูปที่<br />

1<br />

รูปที่<br />

1 คาการปรับตั้งเครื่องจักรของพนักงานในชวงการทดลองที่<br />

1<br />

จากผลการทดลองในชวงที่<br />

1 ไดมีการนําคาการปรับตั้ง<br />

เครื่องจักรของพนักงานควบคุมเครื่องมาทําการจําลองสถานการณ<br />

(Simulate) วาถาหากพัฒนาโปรแกรมชวยปรับอัตโนมัติแลวจะสามารถ<br />

ชวยทําใหพนักงานควบคุมเครื่องจักรมีการปรับคา<br />

(Adjust) ลดลงหรือไม<br />

โดยในการทําเงื่อนไขของโปรแกรมนั้นจะตองคํานึงถึงการชดเชยการสึก<br />

หรอของมีดตัด และการปรับคาของพนักงานควบคุมเครื่องจักร<br />

ดังตาราง<br />

ที่<br />

3 เมื่อนําขอมูลที่ไดมาทําการพลอตกราฟแลวจะไดเปนกราฟที่มีความ<br />

ตรงเปนชวงๆ ซึ่งจากการจําลองสถานการณจะไดดังรูปที่<br />

2<br />

ตารางที่<br />

3 ตัวอยางคาการปรับระยะชดเชยการสึกหรอของมีดตัด<br />

อายุการใชงาน<br />

มีดตัด (ชิ้น)<br />

คาที่พนักงาน<br />

ปรับจริง (มม.)<br />

คาที่โปรแกรม<br />

ชวยปรับ (มม.)<br />

ผลตาง<br />

(มม.)<br />

10 -0.001000 -0.000500 0.000500<br />

20 -0.001500 -0.001000 0.000500<br />

30 -0.002400 -0.001500 0.000900<br />

40 -0.002800 -0.002000 0.000800<br />

50 -0.003900 -0.002500 0.001400<br />

60 -0.003900 -0.003000 0.000900<br />

70 -0.004600 -0.003500 0.001100<br />

80 -0.003900 -0.004000 0.000100<br />

90 -0.005300 -0.004500 0.000800<br />

100 -0.005300 -0.005000 0.000300<br />

172<br />

รูปที่<br />

2 การจําลองสถานการณหากมีโปรแกรมชวยปรับอัตโนมัติ<br />

จากการจําลองสถานการณทําใหเราไดเงื่อนไขของโปรแกรม<br />

ปรับอัตโนมัติมา ดังตารางที่<br />

4<br />

ตารางที่<br />

4 เงื่อนไขของโปรแกรมปรับอัตโนมัติหลังจากที่ไดจากการ<br />

จําลองสถานการณ<br />

ชวงอายุการใชงาน<br />

โปรแกรมทํา<br />

ของมีดตัด (ชิ้น)<br />

การปรับทุกๆ (ชิ้น)<br />

1 – 200 2<br />

201 – 500 10<br />

501 – 2,000 50<br />

2,001 – 12,000 100<br />

*หมายเหตุ เมื่อเครื่องจักรที่ใชในการทดลองสามารถใสคาไดนอยสุด<br />

0.000010 มิลลิเมตร<br />

4.3.2 ผลการทดลองในชวงที่<br />

2<br />

เมื่อนําเงื่อนไขของโปรแกรมปรับอัตโนมัติที่ไดจากการ<br />

จําลองสถานการณไปใสในโปรแกรมชวยปรับอัตโนมัติ จากนั้นจึงทํา<br />

การทดลองไดคาดังภาคผนวก ง แลวจึงนําคามาพลอตกราฟจะไดดัง<br />

รูปที่<br />

3<br />

รูปที่<br />

3 คาการปรับงานของพนักงานควบคุมเครื่องจักร<br />

ในชวงการทดลองที่<br />

2<br />

จากรูปที่<br />

3 จะเห็นวากราฟมีความตรงเปนชวงๆ โดยตั้งแต<br />

ประมาณชวงอายุการใชงานของมีดตัดที่<br />

2,200 ชิ้น<br />

เปนตนไปจนกระทั่ง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!