30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การศึกษาพบวาสามรถลดเวลาในการผลิตชิ้นงานแตละชิ้นได<br />

ซึ่งทําให<br />

สามารถที่จะผลิตสินคาไดปริมาณที่มากขึ้นในแตวัน<br />

รวมทั้งทําให<br />

สามารถลดปริมาณการวางงานของคนงานและของเครื่องจักรทําให<br />

สามารถใชเครื่องจักรไดอยางเต็มที่ยิ่งขึ้น<br />

ทําใหตนทุนการผลิตลดลงและ<br />

ประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น<br />

อรอุมา กอสนาน, วรลักษณ จันทรกระจาง, วัชระ พรหม<br />

สมบูรณ, จรูญศักดิ์<br />

มีทอง (2551) ไดทํางานวิจัยเรื่อง<br />

การเพิ่มผลผลิตของ<br />

สายการผลิตสลีฟสําหรับสปนเดิลมอเตอรในอุตสาหกรรมการผลิต<br />

ฮารดดิสก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพปญหาในสาย<br />

การ<br />

ผลิตสลีฟซึ่งเปนชิ้นสวนที่ประกอบอยูในสปนเดิลมอเตอรของบริษัท<br />

ผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสแหงหนึ่งโดยการประยุกตใชหลักการทาง<br />

วิศวกรรมอุตสาหการ และเพื่อเพิ่มผลผลิตของสายการผลิตดังกลาว<br />

ผล<br />

จากการ ศึกษาพบวา สาเหตุที่ทําใหอัตราการผลิตมีคาต่ํากวาเปาหมายที่<br />

ไดกําหนดไวและสงผลทําใหอัตราการทํางานของสายการผลิตสลีฟอยูใน<br />

เกณฑต่ํา<br />

เนื่องมาจาก<br />

พนักงานขาดขอกําหนดของวิธีการทํางานที่เปน<br />

มาตรฐาน ทางคณะผูวิจัยจึงไดนําเทคนิค<br />

ECRS มาประยุกตใชเพื่อชวยใน<br />

การแกไขปญหาดังกลาว ทําใหสามารถเพิ่มอัตราการผลิตเปน<br />

304 ชิ้นตอ<br />

ชั่วโมง<br />

จากเดิมซึ่งมีอัตราการผลิตอยูที่<br />

245 ชิ้นตอชั่วโมง<br />

นั่นคือ<br />

ทํา<br />

ใหผลผลิตในการทํางานของสายการผลิต Sleeve เพิ่มขึ้น<br />

24.08%<br />

3. ขั้นตอนการดําเนินงาน<br />

3.1 วิธีการศึกษาขอมูล<br />

1. ศึกษากระบวนการผลิตชิ้นงานสลีฟในโรงงานผลิตอุปกรณ<br />

และสวนประกอบคอมพิวเตอรตัวอยาง<br />

2. ศึกษาหลักการในการทํางานของเครื่องจักรกลอัตโนมัติ<br />

3. ศึกษาโปรแกรมชวยปรับอัตโนมัติ<br />

4. ศึกษาเทคนิคทางวิศวกรรมเพื่อนํามาปรับปรุงแกไขใน<br />

กระบวนการผลิตชิ้นงาน<br />

3.2 ขั้นตอนและวิธีการ<br />

1. ทําความเขาใจปญหาที่เกิดขึ้น<br />

และศึกษาสภาพปญหาหลัก<br />

2. ศึกษาและวิเคราะหปจจัยที่มีผลทําใหเกิดปญหา<br />

3. ปจจัยและขอบเขตที่ทําการวิเคราะห<br />

4. ทําการทดลอง<br />

4.1 การทดลองดานโปรแกรม<br />

4.2 การทดลองดานบุคคล<br />

5. ทําการทดลองเพื่อยืนยันประสิทธิภาพของโปรแกรมที่<br />

พัฒนาขึ้น<br />

6. เก็บขอมูลและสรุปผลการทดลอง<br />

4. ผลการทดลอง<br />

4.1 ผลการศึกษาขั้นตอนการทํางานม<br />

171<br />

ขั้นตอนและเวลา<br />

3 ลําดับแรกที่มากที่สุดในการทํางานของ<br />

พนักงานควบคุมเครื่องจักรในกระบวนการผลิตชิ้นงานสลีฟของ<br />

โรงงานผลิตอุปกรณ และสวนประกอบคอมพิวเตอรตัวอยาง เปนดังนี้<br />

่ ตารางที 1 ขั้นตอนที่ใชเวลามากสุด<br />

3 อันดับแรก<br />

ลําดับ รายละเอียด<br />

เวลาตอกะ<br />

(วินาที)<br />

1. การตรวจสอบงานรายชั่วโมง<br />

992<br />

2. การตรวจสอบชิ้นงานในขั้นการตัดงานแบบหยาบ<br />

320<br />

3. การนํางานจากสวนกลางมาวางไวขางเครื่อง<br />

288<br />

ที่มา:<br />

โรงงานผลิตอุปกรณสวนประกอบคอมพิวเตอรตัวอยาง, 2553<br />

จากตารางที่<br />

1 ขั้นตอนการตรวจสอบงานรายชั่วโมงเปน<br />

ขั้นตอนที่ใชเวลาตอกะมากที่สุด<br />

ทางคณะผูวิจัยจึงทําการศึกษา<br />

รายละเอียดยอยในขั้นตอนการตรวจสอบงานรายชั่วโมงวามีรายละเอียด<br />

สวนใดที่ใชเวลาในการทํางานมากที่สุด<br />

ดังตารางที่<br />

2<br />

่<br />

่<br />

ตารางที 2 ขั้นตอนและเวลาในการตรวจสอบงานรายชั่วโมง<br />

ลําดับ รายละเอียด<br />

เวลาตอครั้ง<br />

(วินาที)<br />

1. พนักงานทําการวัดงานโดยใชกลองจุลทรรศน 10<br />

2. พนักงานทําการปรับตั้งเครื่องจักร<br />

9<br />

3. พนักงานทําการวัดงานโดยใชเครื่องมือวัดที<br />

2 7<br />

ที่มา:<br />

โรงงานผลิตอุปกรณสวนประกอบคอมพิวเตอรตัวอยาง, 2553<br />

จากตารางที่<br />

2 จะเห็นวาขั้นตอนที่พนักงานทําการวัดงานโดย<br />

ใชกลองจุลทรรศนใชเวลามากที่สุด<br />

รองลงมาจะเปนขั้นตอนการปรับตั้ง<br />

เครื่องจักรของพนักงานควบคุมเครื่อง<br />

แตเนื่องจากขั้นตอนที่พนักงานทํา<br />

การวัดงานโดยใชกลองจุลทรรศนนั้นใชประสบการณและความสามารถ<br />

สวนบุคคลดวยจึงยากที่จะทําการแกไข<br />

ดังนั้นทางคณะผูวิจัยจึงทําการ<br />

แกไขในขั้นตอนของการปรับตั้งเครื่องจักรของพนักงานควบคุมเครื่อง<br />

โดยทําการศึกษาและปรับปรุงโปรแกรมชวยปรับอัตโนมัติใหเหมาะสม<br />

กับประเภทของมีดตัดกลึงที่ใชตัดบริเวณเสนผานศูนยกลางดานใน<br />

ชิ้นงานสลีฟ<br />

เพื่อลดเวลาในการปรับคาพารามิเตอรของเครื่องจักร<br />

โดยที่<br />

ไมทําใหจํานวนของเสียเพิ่มสูงขึ้น<br />

4.2 ผลการวิเคราะหระบบการวัด<br />

จากการวิเคราะหระบบการวัดเพื่อทดสอบความเที่ยงตรงของ<br />

เครื่องมือวัด<br />

Gap Jet ไดผลการวิเคราะหการวัดขนาดเสนผานศูนยกลาง<br />

ดานในชิ้นงาน<br />

Sleeve จากโปรแกรมสําเร็จรูปสามารถบอกไดวาเครื่อง<br />

Gap Jet ที่เปนเครื่องมือวัดขนาดเสนผานศูนยกลางดานในชิ้นงาน<br />

Sleeve<br />

มีความสามารถในการแยกชิ้นงานไดหลายกลุม<br />

และพนักงานที่ทําการวัด

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!