ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

งานของพนักงานควบคุมเครื่องจักรใหนอยลง โดยที่ไมทําใหจํานวนงาน เสียเพิ่มมากขึ้น 1.2 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษากระบวนการผลิตชิ้นงานสลีฟที่เปนสวนประกอบ ของมอเตอรสปนเดิล ในโรงงานผลิตอุปกรณและสวนประกอบ คอมพิวเตอรตัวอยาง 2. เพื่อควบคุมปริมาณของเสียในกระบวนการผลิตชิ้นงาน 3. เพื่อลดเวลาในการปรับคาพารามิเตอรของเครื่องจักร 2. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ งานวิจัยนี้เปนการศึกษากระบวนการผลิตชิ้นงานสลีฟที่เปน สวนประกอบของมอเตอรสปนเดิล โดยเนนการศึกษาโปรแกรมชวยปรับ อัตโนมัติ (Auto Macro Offset Program) เพื่อลดความถี่ในการปรับคาของ พนักงานควบคุมเครื่องจักร ดังนั้นเพื่อรักษาคุณภาพและมาตรฐานของ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ทางคณะผูวิจัยไดทําการรวบรวมเอกสาร แนวความคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวของโดยจะใชการอางอิงจากทฤษฎี ดังตอไปนี้ 1. เครื่องจักรอัตโนมัติ (Computer Numerical Control: CNC) คือ คอมพิวเตอรหรือไมโครโปรเซสเซอร สําหรับใชควบคุมการทํางาน เครื่องจักรกล CNC ในปจจุบันนั้นสวนมากจะหมายถึง เครื่องจักรกล ซีเอ็นซี ซึ่งจะมีคอมพิวเตอรที่สามารถเขาใจตัวเลขและตัวอักษรหรือ โปรแกรมที่ปอนและขณะเดียวกัน จะใชคอมพิวเตอรสําหรับการควบคุม เครื่องจักรจากคําสั่งหรือ โคด (Code) ในโปรแกรมที่ปอนเขาไป 2. ซิกซ ซิกมา (Six Sigma) คือ กระบวนการเพื่อลดความ ผิดพลาด (Defect) ที่เกิดขึ้นในกระบวนการตางๆโดยมุงเนนใหเกิดความ ผิดพลาดนอยที่สุด และมีความสูญเสียไดไมเกิน 3.4 หนวยในลานหนวย หรือเรียกอีกอยางวา ลดความสูญเสียโอกาสลงใหเหลือเพียงแค 3.4 หนวยนั่นเอง (Defect per Million Opportunities: DPMO) สัญลักษณที่ นิยมใชกันทางสถิติคือ ตามความหมายของซิกซ ซิกมา ทางสถิติ หมายถึง ขอบเขตขอกําหนด (Specification Limit) และการแจกแจงปกติ (Normal Distribution) ขอบเขตขอกําหนดบนมีคาเปน 6 หมายถึง ที่ระดับ ซิกมา มี ของเสียเพียง 0.022 ชิ้นจากจํานวนของทั้งหมด 1,000,000 ชิ้น 4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ กัลยาณี เกตุแกว, ปริยา พรพัฒนเลิศกุล, อัญชิษฐา คชวงษ และ สิทธิพร พิมพสกุล (2547) ไดทํางานวิจัยเรื่อง การปรับปรุง ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตกรณีศึกษา บริษัท คอนิเมก จํากัด การวิจัย นี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหและปรับปรุงประสิทธิภาพของ กระบวนการผลิตภาชนะบรรจุภัณฑพลาสติกในบริษัท คอนิเมก จํากัด โดยใชเทคนิคการลดความสูญเปลา 7 ประการ จากการศึกษาพบวา สาเหตุของปญหาขางตนมี 3 ประการ ไดแก การขาดแรงงาน การเปลี่ยน แมพิมพ และการซอมเครื่องจักร การแกไขปญหาใชหลักการคิวซีสตอรี่ (QC Story) การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา (Motion Time and Study) 170 มาเปลี่ยนขั้นตอนการเปลี่ยนแมพิมพเพื่อลดระยะเวลาในการเปลี่ยน แมพิมพ รวมทั้งใชหลักการดังกลาวเพื่อออกแบบวิธีการทํางานของ พนักงาน จักรกฤษณ ฮั่นยะลา (2552) ไดทํางานวิจัยเรื่องการปรับปรุง ประสิทธิภาพการผลิตในโรงงานผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปดวยเทคนิค การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา ดยศึกษาในสวนกระบวนการผลิตเสื้อ เวส (เสื้อทหาร) ของบริษัทนอรทเทิรน แอนไทร จํากัด จากการศึกษาการ ทํางานของพนักงานและสอบถามหัวหนางาน พบวา ปญหาหลักที่พบ เปนเรื่องของประสิทธิภาพในการผลิตคอนขางต่ํา การจัดงานอยูใน ลักษณะที่ทํางานไมสะดวก งานอยูในตําแหนงที่มีการเคลื่อนไหวแลวเกิด ความเมื่อยลา ชิ้นสวนตาง ๆ ไมสะดวกกับการหยิบใช สงผลใหกําลังการ ผลิตที่มีอยูในปจจุบันไมสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได ทั้งหมด ทําใหลูกคาบางรายเปลี่ยนไปสั่งซื้อสินคาจากโรงงานอื่น ดังนั้น ผูวิจัยจึงไดวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาโดยใชแผนผังแสดงเหตุและผล (Cause-and-Effect Diagram) แลวนําเทคนิคการศึกษาการเคลื่อนไหวและ เวลามาแกไขปญหาที่เกิดขึ้น โดยการศึกษากระบวนการผลิตดวยแผนผัง การไหล (Flow Diagram) และแผนภูมิกระบวนการผลิต (Process Chart) แลวทําการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการทํางาน รวมทั้งใชหลักการดังกลาว ออกแบบวิธีการทํางานของพนักงาน หลังการปรับปรุงไดจัดทําเวลา มาตรฐานของกระบวนการผลิตเสื้อเวส (เสื้อทหาร) และเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพการผลิตกอนและหลังปรับปรุง เพื่อนําเสนอแนวทางแกไข ปญหาแกโรงงาน ผลการปรับปรุงพบวา สามารถลดระยะเวลาใน กระบวนการผลิตจาก 30.24 นาที เปน 25.53 นาที คิดเปน 15.57 % และ ลดขั้นตอนการผลิตโดยการออกแบบอุปกรณ ชวยทําใหขั้นตอนใน กระบวนการผลิตลดลงจาก 116 ขั้นตอน เปน 97 ขั้นตอน คิดเปน 16.37 % โดยมีระยะคืนทุนจากการผลิต 10 วัน ประเสริฐ ศรีบุญจันทร และ สมจิตร ลาภโนนเขวา (2550) ได ทํางานวิจัยเรื่อง การเพิ่มผลผลิตของกระบวนการบรรจุหีบหอใน อุตสาหกรรมผลิตนม การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อลดเวลาการทํางานและ เพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของกระบวนการบรรจุหีบหอจากการศึกษา พบวา ปญหาคือเวลาในการทํางาน ไดแกเวลารอคอยเวลาในการบรรจุ หีบหอและเวลาสูญเปลาในกระบวนการบรรจุหีบหอ และกําหนด มาตรการในการแกปญหา 3 มาตรการ คือ การปรับเปลี่ยนตําแหนงการ วางผลิตภัณฑที่จะนํามาบรรจุหีบหอใหม การนําจิ๊กเขามาชวยในการหยิบ จับผลิตภัณฑที่จะนํามาบรรจุหีบหอ การเลื่อนตําแหนงของกลองใส อุปกรณที่ใชในการบรรจุหีบหอ ศิระพงศ ลือชัย และ อิสรา ธีระวัฒนสกุล (2548) ไดทํา งานวิจัยเรื่อง การลดตนทุนการผลิตในโรงงานเซรามิค โดยใชเทคนิค การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อปรับปรุง องคประกอบตลอดจนกระบวนการในการผลิตโดยสายการผลิตจาน เคลือบเซรามิคจากเครื่อง Ram-Press ทําใหกําลังการผลิตเพิ่ม จาก

การศึกษาพบวาสามรถลดเวลาในการผลิตชิ้นงานแตละชิ้นได ซึ่งทําให สามารถที่จะผลิตสินคาไดปริมาณที่มากขึ้นในแตวัน รวมทั้งทําให สามารถลดปริมาณการวางงานของคนงานและของเครื่องจักรทําให สามารถใชเครื่องจักรไดอยางเต็มที่ยิ่งขึ้น ทําใหตนทุนการผลิตลดลงและ ประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น อรอุมา กอสนาน, วรลักษณ จันทรกระจาง, วัชระ พรหม สมบูรณ, จรูญศักดิ์ มีทอง (2551) ไดทํางานวิจัยเรื่อง การเพิ่มผลผลิตของ สายการผลิตสลีฟสําหรับสปนเดิลมอเตอรในอุตสาหกรรมการผลิต ฮารดดิสก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพปญหาในสาย การ ผลิตสลีฟซึ่งเปนชิ้นสวนที่ประกอบอยูในสปนเดิลมอเตอรของบริษัท ผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสแหงหนึ่งโดยการประยุกตใชหลักการทาง วิศวกรรมอุตสาหการ และเพื่อเพิ่มผลผลิตของสายการผลิตดังกลาว ผล จากการ ศึกษาพบวา สาเหตุที่ทําใหอัตราการผลิตมีคาต่ํากวาเปาหมายที่ ไดกําหนดไวและสงผลทําใหอัตราการทํางานของสายการผลิตสลีฟอยูใน เกณฑต่ํา เนื่องมาจาก พนักงานขาดขอกําหนดของวิธีการทํางานที่เปน มาตรฐาน ทางคณะผูวิจัยจึงไดนําเทคนิค ECRS มาประยุกตใชเพื่อชวยใน การแกไขปญหาดังกลาว ทําใหสามารถเพิ่มอัตราการผลิตเปน 304 ชิ้นตอ ชั่วโมง จากเดิมซึ่งมีอัตราการผลิตอยูที่ 245 ชิ้นตอชั่วโมง นั่นคือ ทํา ใหผลผลิตในการทํางานของสายการผลิต Sleeve เพิ่มขึ้น 24.08% 3. ขั้นตอนการดําเนินงาน 3.1 วิธีการศึกษาขอมูล 1. ศึกษากระบวนการผลิตชิ้นงานสลีฟในโรงงานผลิตอุปกรณ และสวนประกอบคอมพิวเตอรตัวอยาง 2. ศึกษาหลักการในการทํางานของเครื่องจักรกลอัตโนมัติ 3. ศึกษาโปรแกรมชวยปรับอัตโนมัติ 4. ศึกษาเทคนิคทางวิศวกรรมเพื่อนํามาปรับปรุงแกไขใน กระบวนการผลิตชิ้นงาน 3.2 ขั้นตอนและวิธีการ 1. ทําความเขาใจปญหาที่เกิดขึ้น และศึกษาสภาพปญหาหลัก 2. ศึกษาและวิเคราะหปจจัยที่มีผลทําใหเกิดปญหา 3. ปจจัยและขอบเขตที่ทําการวิเคราะห 4. ทําการทดลอง 4.1 การทดลองดานโปรแกรม 4.2 การทดลองดานบุคคล 5. ทําการทดลองเพื่อยืนยันประสิทธิภาพของโปรแกรมที่ พัฒนาขึ้น 6. เก็บขอมูลและสรุปผลการทดลอง 4. ผลการทดลอง 4.1 ผลการศึกษาขั้นตอนการทํางานม 171 ขั้นตอนและเวลา 3 ลําดับแรกที่มากที่สุดในการทํางานของ พนักงานควบคุมเครื่องจักรในกระบวนการผลิตชิ้นงานสลีฟของ โรงงานผลิตอุปกรณ และสวนประกอบคอมพิวเตอรตัวอยาง เปนดังนี้ ่ ตารางที 1 ขั้นตอนที่ใชเวลามากสุด 3 อันดับแรก ลําดับ รายละเอียด เวลาตอกะ (วินาที) 1. การตรวจสอบงานรายชั่วโมง 992 2. การตรวจสอบชิ้นงานในขั้นการตัดงานแบบหยาบ 320 3. การนํางานจากสวนกลางมาวางไวขางเครื่อง 288 ที่มา: โรงงานผลิตอุปกรณสวนประกอบคอมพิวเตอรตัวอยาง, 2553 จากตารางที่ 1 ขั้นตอนการตรวจสอบงานรายชั่วโมงเปน ขั้นตอนที่ใชเวลาตอกะมากที่สุด ทางคณะผูวิจัยจึงทําการศึกษา รายละเอียดยอยในขั้นตอนการตรวจสอบงานรายชั่วโมงวามีรายละเอียด สวนใดที่ใชเวลาในการทํางานมากที่สุด ดังตารางที่ 2 ่ ่ ตารางที 2 ขั้นตอนและเวลาในการตรวจสอบงานรายชั่วโมง ลําดับ รายละเอียด เวลาตอครั้ง (วินาที) 1. พนักงานทําการวัดงานโดยใชกลองจุลทรรศน 10 2. พนักงานทําการปรับตั้งเครื่องจักร 9 3. พนักงานทําการวัดงานโดยใชเครื่องมือวัดที 2 7 ที่มา: โรงงานผลิตอุปกรณสวนประกอบคอมพิวเตอรตัวอยาง, 2553 จากตารางที่ 2 จะเห็นวาขั้นตอนที่พนักงานทําการวัดงานโดย ใชกลองจุลทรรศนใชเวลามากที่สุด รองลงมาจะเปนขั้นตอนการปรับตั้ง เครื่องจักรของพนักงานควบคุมเครื่อง แตเนื่องจากขั้นตอนที่พนักงานทํา การวัดงานโดยใชกลองจุลทรรศนนั้นใชประสบการณและความสามารถ สวนบุคคลดวยจึงยากที่จะทําการแกไข ดังนั้นทางคณะผูวิจัยจึงทําการ แกไขในขั้นตอนของการปรับตั้งเครื่องจักรของพนักงานควบคุมเครื่อง โดยทําการศึกษาและปรับปรุงโปรแกรมชวยปรับอัตโนมัติใหเหมาะสม กับประเภทของมีดตัดกลึงที่ใชตัดบริเวณเสนผานศูนยกลางดานใน ชิ้นงานสลีฟ เพื่อลดเวลาในการปรับคาพารามิเตอรของเครื่องจักร โดยที่ ไมทําใหจํานวนของเสียเพิ่มสูงขึ้น 4.2 ผลการวิเคราะหระบบการวัด จากการวิเคราะหระบบการวัดเพื่อทดสอบความเที่ยงตรงของ เครื่องมือวัด Gap Jet ไดผลการวิเคราะหการวัดขนาดเสนผานศูนยกลาง ดานในชิ้นงาน Sleeve จากโปรแกรมสําเร็จรูปสามารถบอกไดวาเครื่อง Gap Jet ที่เปนเครื่องมือวัดขนาดเสนผานศูนยกลางดานในชิ้นงาน Sleeve มีความสามารถในการแยกชิ้นงานไดหลายกลุม และพนักงานที่ทําการวัด

งานของพนักงานควบคุมเครื่องจักรใหนอยลง<br />

โดยที่ไมทําใหจํานวนงาน<br />

เสียเพิ่มมากขึ้น<br />

1.2 วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษากระบวนการผลิตชิ้นงานสลีฟที่เปนสวนประกอบ<br />

ของมอเตอรสปนเดิล ในโรงงานผลิตอุปกรณและสวนประกอบ<br />

คอมพิวเตอรตัวอยาง<br />

2. เพื่อควบคุมปริมาณของเสียในกระบวนการผลิตชิ้นงาน<br />

3. เพื่อลดเวลาในการปรับคาพารามิเตอรของเครื่องจักร<br />

2. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษากระบวนการผลิตชิ้นงานสลีฟที่เปน<br />

สวนประกอบของมอเตอรสปนเดิล โดยเนนการศึกษาโปรแกรมชวยปรับ<br />

อัตโนมัติ (Auto Macro Offset Program) เพื่อลดความถี่ในการปรับคาของ<br />

พนักงานควบคุมเครื่องจักร<br />

ดังนั้นเพื่อรักษาคุณภาพและมาตรฐานของ<br />

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ทางคณะผูวิจัยไดทําการรวบรวมเอกสาร<br />

แนวความคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวของโดยจะใชการอางอิงจากทฤษฎี<br />

ดังตอไปนี้<br />

1. เครื่องจักรอัตโนมัติ<br />

(Computer Numerical Control: CNC)<br />

คือ คอมพิวเตอรหรือไมโครโปรเซสเซอร สําหรับใชควบคุมการทํางาน<br />

เครื่องจักรกล<br />

CNC ในปจจุบันนั้นสวนมากจะหมายถึง<br />

เครื่องจักรกล<br />

ซีเอ็นซี ซึ่งจะมีคอมพิวเตอรที่สามารถเขาใจตัวเลขและตัวอักษรหรือ<br />

โปรแกรมที่ปอนและขณะเดียวกัน<br />

จะใชคอมพิวเตอรสําหรับการควบคุม<br />

เครื่องจักรจากคําสั่งหรือ<br />

โคด (Code) ในโปรแกรมที่ปอนเขาไป<br />

2. ซิกซ ซิกมา (Six Sigma) คือ กระบวนการเพื่อลดความ<br />

ผิดพลาด (Defect) ที่เกิดขึ้นในกระบวนการตางๆโดยมุงเนนใหเกิดความ<br />

ผิดพลาดนอยที่สุด<br />

และมีความสูญเสียไดไมเกิน 3.4 หนวยในลานหนวย<br />

หรือเรียกอีกอยางวา ลดความสูญเสียโอกาสลงใหเหลือเพียงแค 3.4<br />

หนวยนั่นเอง<br />

(Defect per Million Opportunities: DPMO) สัญลักษณที่<br />

นิยมใชกันทางสถิติคือ ตามความหมายของซิกซ ซิกมา ทางสถิติ หมายถึง<br />

ขอบเขตขอกําหนด (Specification Limit) และการแจกแจงปกติ (Normal<br />

Distribution) ขอบเขตขอกําหนดบนมีคาเปน 6 หมายถึง ที่ระดับ<br />

ซิกมา มี<br />

ของเสียเพียง 0.022 ชิ้นจากจํานวนของทั้งหมด<br />

1,000,000 ชิ้น<br />

4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

กัลยาณี เกตุแกว, ปริยา พรพัฒนเลิศกุล, อัญชิษฐา คชวงษ<br />

และ สิทธิพร พิมพสกุล (2547) ไดทํางานวิจัยเรื่อง<br />

การปรับปรุง<br />

ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตกรณีศึกษา บริษัท คอนิเมก จํากัด การวิจัย<br />

นี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหและปรับปรุงประสิทธิภาพของ<br />

กระบวนการผลิตภาชนะบรรจุภัณฑพลาสติกในบริษัท คอนิเมก จํากัด<br />

โดยใชเทคนิคการลดความสูญเปลา 7 ประการ จากการศึกษาพบวา<br />

สาเหตุของปญหาขางตนมี 3 ประการ ไดแก การขาดแรงงาน การเปลี่ยน<br />

แมพิมพ และการซอมเครื่องจักร<br />

การแกไขปญหาใชหลักการคิวซีสตอรี่<br />

(QC Story) การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา<br />

(Motion Time and Study)<br />

170<br />

มาเปลี่ยนขั้นตอนการเปลี่ยนแมพิมพเพื่อลดระยะเวลาในการเปลี่ยน<br />

แมพิมพ รวมทั้งใชหลักการดังกลาวเพื่อออกแบบวิธีการทํางานของ<br />

พนักงาน<br />

จักรกฤษณ ฮั่นยะลา<br />

(2552) ไดทํางานวิจัยเรื่องการปรับปรุง<br />

ประสิทธิภาพการผลิตในโรงงานผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปดวยเทคนิค<br />

การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา<br />

ดยศึกษาในสวนกระบวนการผลิตเสื้อ<br />

เวส (เสื้อทหาร)<br />

ของบริษัทนอรทเทิรน แอนไทร จํากัด จากการศึกษาการ<br />

ทํางานของพนักงานและสอบถามหัวหนางาน พบวา ปญหาหลักที่พบ<br />

เปนเรื่องของประสิทธิภาพในการผลิตคอนขางต่ํา<br />

การจัดงานอยูใน<br />

ลักษณะที่ทํางานไมสะดวก<br />

งานอยูในตําแหนงที่มีการเคลื่อนไหวแลวเกิด<br />

ความเมื่อยลา<br />

ชิ้นสวนตาง<br />

ๆ ไมสะดวกกับการหยิบใช สงผลใหกําลังการ<br />

ผลิตที่มีอยูในปจจุบันไมสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได<br />

ทั้งหมด<br />

ทําใหลูกคาบางรายเปลี่ยนไปสั่งซื้อสินคาจากโรงงานอื่น<br />

ดังนั้น<br />

ผูวิจัยจึงไดวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาโดยใชแผนผังแสดงเหตุและผล<br />

(Cause-and-Effect Diagram) แลวนําเทคนิคการศึกษาการเคลื่อนไหวและ<br />

เวลามาแกไขปญหาที่เกิดขึ้น<br />

โดยการศึกษากระบวนการผลิตดวยแผนผัง<br />

การไหล (Flow Diagram) และแผนภูมิกระบวนการผลิต (Process Chart)<br />

แลวทําการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการทํางาน<br />

รวมทั้งใชหลักการดังกลาว<br />

ออกแบบวิธีการทํางานของพนักงาน หลังการปรับปรุงไดจัดทําเวลา<br />

มาตรฐานของกระบวนการผลิตเสื้อเวส<br />

(เสื้อทหาร)<br />

และเปรียบเทียบ<br />

ประสิทธิภาพการผลิตกอนและหลังปรับปรุง เพื่อนําเสนอแนวทางแกไข<br />

ปญหาแกโรงงาน ผลการปรับปรุงพบวา สามารถลดระยะเวลาใน<br />

กระบวนการผลิตจาก 30.24 นาที เปน 25.53 นาที คิดเปน 15.57 % และ<br />

ลดขั้นตอนการผลิตโดยการออกแบบอุปกรณ<br />

ชวยทําใหขั้นตอนใน<br />

กระบวนการผลิตลดลงจาก 116 ขั้นตอน<br />

เปน 97 ขั้นตอน<br />

คิดเปน 16.37<br />

% โดยมีระยะคืนทุนจากการผลิต 10 วัน<br />

ประเสริฐ ศรีบุญจันทร และ สมจิตร ลาภโนนเขวา (2550) ได<br />

ทํางานวิจัยเรื่อง<br />

การเพิ่มผลผลิตของกระบวนการบรรจุหีบหอใน<br />

อุตสาหกรรมผลิตนม การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อลดเวลาการทํางานและ<br />

เพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของกระบวนการบรรจุหีบหอจากการศึกษา<br />

พบวา ปญหาคือเวลาในการทํางาน ไดแกเวลารอคอยเวลาในการบรรจุ<br />

หีบหอและเวลาสูญเปลาในกระบวนการบรรจุหีบหอ และกําหนด<br />

มาตรการในการแกปญหา 3 มาตรการ คือ การปรับเปลี่ยนตําแหนงการ<br />

วางผลิตภัณฑที่จะนํามาบรรจุหีบหอใหม<br />

การนําจิ๊กเขามาชวยในการหยิบ<br />

จับผลิตภัณฑที่จะนํามาบรรจุหีบหอ<br />

การเลื่อนตําแหนงของกลองใส<br />

อุปกรณที่ใชในการบรรจุหีบหอ<br />

ศิระพงศ ลือชัย และ อิสรา ธีระวัฒนสกุล (2548) ไดทํา<br />

งานวิจัยเรื่อง<br />

การลดตนทุนการผลิตในโรงงานเซรามิค โดยใชเทคนิค<br />

การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา<br />

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อปรับปรุง<br />

องคประกอบตลอดจนกระบวนการในการผลิตโดยสายการผลิตจาน<br />

เคลือบเซรามิคจากเครื่อง<br />

Ram-Press ทําใหกําลังการผลิตเพิ่ม<br />

จาก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!