30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

รูปที่<br />

1ตนแบบจริงที่ไดออกแบบและสรางขึ้น<br />

ในการจําลองผลเชิงตัวเลขสําหรับการวิเคราะหผลทางดาน<br />

พลศาสตรของไหลนั้น<br />

สิ่งที่สําคัญที่สุดเพื่อใหไดผลการวิเคราะหมีความ<br />

ถูกตองมากที่สุด<br />

คือการกําหนดโดเมนและขนาดของโดเมนใหเหมาะสม<br />

ตอการศึกษาวิจัย ซึ่งชิ้นสวนที่นํามาทําการวิเคราะหผลควรที่จะมีขนาดที่<br />

เหมือนจริงมากที่สุด<br />

เพื่อใหไดรูปแบบการไหลที่คลายกับการทดสอบ<br />

จริง [6]<br />

ในการกําหนดขนาดของโดเมนที่เหมาะสมในการวิเคราะหจะ<br />

มีผลตอการสรางเมชและผลของคําตอบที่ถูกตอง<br />

เพราะขนาดของโดเมน<br />

จะเปนตัวที่กําหนดสัดสวนในการวิเคราะหและสรางขอบเขตของเมชเอลิ<br />

เมนตและการกําหนดปญหาขอบเขตตางๆทางการศึกษา (Boundary<br />

Condition) เพราะโดเมนที่มากเกินไปจะสงผลในการสรางเมชและการ<br />

คํานวณผล เพราะจะใชเวลาในการคํานวณผลที่มากขึ้น<br />

การเลือกขนาด<br />

ของโดเมนสําหรับการวิเคราะหที่เหมาะสมควรจะเลือกเพียงโวลูตน้ําและ<br />

วงลอกังหันน้ํา<br />

ซึ่งเปนสวนที่มีผลตอรูปแบบการไหลมากที่สุด<br />

เปนดัง<br />

รูปที่<br />

2<br />

รูปที่<br />

2 ขนาดของโดเมนที่เลือกสําหรับการวิเคราะห<br />

นอกจากขนาดของโดเมนที่มีความเหมาะสมแลว<br />

สิ่งที่สําคัญ<br />

ที่สุดคือการกําหนดปญหาขอบเขตใหกับแบบจําลอง<br />

เพื่อทําการจําลอง<br />

ผลใหไดคําตอบที่ใกลความเปนจริง<br />

ในการศึกษาวิจัยนี้<br />

นอกจากความ<br />

แตกตางของแบบจําลองความปนปวนทั้ง<br />

2 ชนิดที่ใชแลว<br />

สิ่งที่เหมือนกัน<br />

165<br />

คือการปอนคาตัวแปร เชน คาความเร็วลําน้ําที่เทียบกับระดับความสูงของ<br />

หัวน้ํา<br />

การกําหนดคาโมเมนตความเฉื่อยในการหมุนของลอกังหันน้ํา<br />

การ<br />

กําหนดคา Free Motion เปนตน ซึ่งองคประกอบของแบบจําลองทั้งสอง<br />

สามารถแสดงผลไดดังรูปที่<br />

3<br />

2.3 ผลการวิจัย<br />

ก. แบบจําลองความปนปวนสําหรับ<br />

k − ε<br />

ข. แบบจําลองความปนปวนสําหรับ<br />

k − ω SST<br />

รูปที่<br />

3 ปญหาขอบงานวิจัย (Boundary Condition)<br />

จากผลการจําลองเชิงตัวเลขทางดานพลศาสตรของไหลของ<br />

น้ําผานวงลอกังหันน้ําขนาดเล็กผลิตไฟฟาแบบแกนตั้งของแบบจําลอง<br />

ความปนปวนทั้งสองชนิด<br />

ทั้งในสวนของแบบจําลองความปนปวน<br />

และ S SST ผลที k −่เกิดจากการจําลองนั<br />

ε k − ω ้นมีคาความแตกตางกันพอสมควร<br />

เพราะแบบความปนปวน<br />

k − ε จะใหที่คลาดเคลื่อนมากกวาแบบความ<br />

ปนปวน<br />

k −ω SST เนื่องจากแบบจําลองความชนิด<br />

k − ε จะมีผล

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!