30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เหมาะสมตองานวิจัยนั้นๆ<br />

นอกจากนี้ยังขึ้นอยูกับการปอนคาของปญหา<br />

ขอบเขต (Boundary Condition) เมื่อมีการปอนคาปญหาขอบเขตที่ถูกตอง<br />

ผลการจําลองเชิงตัวเลขที่ไดจะใกลความเปนจริงมากที่สุด<br />

ในงานวิจัยนี้<br />

ผูวิจัยไดแบงการศึกษาออกเปนสองสวน<br />

เพื่อทําการแยกรูปแบบการ<br />

วิเคราะห สวนแรกนั้นเปนการศึกษาการสรางตนแบบของกังหันน้ําขนาด<br />

เล็กผลิตกระแสไฟฟาแบบแกนตั้งและทําการทดสอบวัดรอบการหมุนที่<br />

เกิดขึ้นจริงหลังจากที่มีแรงของการไหลของน้ําเขามากระทํากับใบพัด<br />

กังหันน้ําทําใหเกิดรอบการหมุน<br />

ซึ่งผลที่ไดนั้น<br />

ไดรอบการหมุนสูงสุดที่<br />

886 รอบตอนาที ที่ความสูงของหัวน้ํา<br />

12 เมตรน้ํา<br />

และไมมีภาระโหลด<br />

เขามากระทํา สวนที่สองเปนการศึกษาแนวทางการเลือกใชชนิดของ<br />

แบบจําลองความปนปวน<br />

โดยผูวิจัยไดเลือกแบบจําลองชนิดมาตรฐาน<br />

K-Epsilon (k-ε) และแบบจําลองชนิดมาตรฐาน K-Omega SST<br />

(k- ω SST) เขามาทําการจําลองผลเชิงตัวเลขที่เกิดขึ้นจากการไหลผาน<br />

ของน้ําที่วิ่งผานวงลอกังหันน้ําแบบแกนตั้ง<br />

เพื่อทําการศึกษาการลูเขาของ<br />

คําตอบในแตละแบบจําลอง เพื่อนําผลที่ไดจากการจําลองเชิงตัวเลขมา<br />

วิเคราะหและเปรียบเทียบผลกับการทดสอบจริงที่ไดจากตนแบบ<br />

เพื่อ<br />

ประเมินความแมนยําของแบบจําลองเทียบกับการศึกษาขอบเขตของ<br />

ปญหาที่ไดปอนภายใตกรอบของสมมุติฐานตางๆในเบื้องตน<br />

ปจจุบันการคํานวณผลทางพลศาสตรของไหลเชิงคํานวณ<br />

(Computational fluid dynamics, CFD) ไดมีบทบาทสําคัญเนื่องจากชวย<br />

ลดตนทุนและระยะเวลาในการออกแบบ สําหรับการไหลในงานดาน<br />

วิศวกรรมของไหลชั้นสูง<br />

โดยทั่วไปนั้นพบวาเปนการไหลแบบปนปวน<br />

สิ่งที่มีผลตอความถูกตองของผลการศึกษาจะขึ้นอยูกับชนิดของ<br />

แบบจําลองความปนปวน<br />

(Turbulence Models) โดยแบบจําลองความ<br />

ปนปวนในปจจุบันมีหลายแบบ<br />

เชน k-ε ,Spalart and <strong>All</strong>maras , k-ω ,<br />

Reynolds Stress Models เปนตน แบบจําลองความปนปวนที่เปนที่นิยม<br />

ใชอยูในปจจุบันคือ<br />

k-ε ซึ่งใหคาความถูกตองผลในการคํานวณเปนที่นา<br />

พอใจ ,ใชระยะเวลาในการคํานวณไมมาก และการเขียนโปรแกรมในการ<br />

คํานวณไมซับซอน [1]<br />

จากหลักการดังกลาว งานวิจัยนี้ผูวิจัยจึงมุงเนนที่จะทําการ<br />

ประเมินผลของแบบจําลองความปนปวน<br />

k-ε ในลักษณะของผล<br />

การศึกษาตางๆเทียบกับแบบจําลองความปนปวน<br />

k- ω SST เพื่อ<br />

คํานวณหาเปอรเซ็นตความคลาดเคลื่อนของแบบจําลองตอผลการ<br />

ทดสอบจริง<br />

2. ทฤษฎีและหลักการ<br />

2.1 สมการการเคลื่อนที่สําหรับการไหลแบบปนปวน<br />

สมการการเคลื่อนที่ของการไหลแบบปนปวนนั้น<br />

ประกอบ<br />

ไปดวยสมการกฎทรงมวล และสมการโมเมนตัม เชนเดียวกับการไหล<br />

แบบราบเรียบ แตดวยลักษณะที่ตางกันของการไหลแบบราบเรียบและ<br />

การไหลแบบปนปวน<br />

ที่ทําใหสมการการเคลื่อนที่ของการไหลแบบ<br />

ปนปวนตางจากสมการการเคลื่อนที่ของการไหลแบบราบเรียบ<br />

โดย<br />

163<br />

สมการการเคลื่อนที่ของการไหลแบบปนปวนมีความซับซอนมากกวา<br />

เนื่องมาจากความปนปวนที่เกิดขึ้นในการไหล<br />

ในทางวิศวกรรม สิ่งที่<br />

วิศวกรสนใจสวนใหญคือคาเฉลี่ยของการไหล<br />

ดังนั้นในงานวิจัยนี้นํา<br />

วิธีการเฉลี่ยของเรยโนลด<br />

(Reynolds Averaging) มาใชกับสมการการ<br />

เคลื่อนที่ของการไหลแบบปนปวน<br />

เพื่อแปลงสมการการเคลื่อนที่ของการ<br />

ไหลแบบปนปวน<br />

ใหอยูในรูปของคาเฉลี่ย<br />

โดยสมมุติฐานของงานวิจัยนี้<br />

ไดแก เปนการไหลที่อัดตัวไมได,<br />

ไมมีการถายเทความรอน และเปน<br />

สภาวะคงตัว สามารถเขียนเปนสมการในรูปเทนเซอรไดดังนี้<br />

สมการกฎทรงมวล<br />

( ui<br />

) 0<br />

xi ρ<br />

∂<br />

=<br />

(1)<br />

∂<br />

สมการโมเมนตัม<br />

P ⎛ ⎛ u u ⎞⎞<br />

i j<br />

( ρ uu i j)<br />

µ<br />

xi xi xi xj xi<br />

∂<br />

∂ ∂ ∂ ∂<br />

=− + ⎜ ⎜ + ⎟⎟<br />

∂ ∂ ∂ ⎜ ⎜∂ ∂ ⎟⎟<br />

⎝ ⎝ ⎠⎠<br />

∂<br />

+ ( −ρuu<br />

′ ′<br />

i j )<br />

(2)<br />

∂xi<br />

โดยที่<br />

µ คือคาสัมประสิทธิ์ของความหนืด,<br />

ρ คือความ<br />

หนาแนน สมการโมเมนตัมที่ถูกเฉลี่ยดวยวิธีการของเรยโนลด<br />

ตางจาก<br />

สมการโมเมนตัมที่ยังไมไดถูกเฉลี่ย<br />

เนื่องจากมีพจนที่เกิดขึ้นเนื่องมาจาก<br />

การใชวิธีการเฉลี่ยของคาเรยโนลด<br />

คือ พจนความเคนเรยโนลด<br />

(Reynolds Stresses) uu ′ ′<br />

i j ซึ่งพจนที่เกิดขึ้นมาเปนพจนที่เกิดจากคา<br />

ของความปนปวนในรูปแบบการไหลที่เกิดขึ้นในสภาวะการตางๆ<br />

ซึ่ง<br />

พจนความเคนเรยโนลด จะมีรูปแบบของความสัมพันธเปนเชิงเสนกับคา<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียด<br />

ซึ่งสามารถเขียนเปนสมการตาม<br />

สมมุติฐานของ Boussinesq [2] ดังนี้<br />

⎛ u u ⎞<br />

i j<br />

ρ uu i j µ t<br />

x j xi<br />

∂<br />

′ ′<br />

∂<br />

− = ⎜ +<br />

⎜<br />

⎟<br />

∂ ∂ ⎟<br />

⎝ ⎠<br />

2 ⎛ ∂u<br />

⎞ k<br />

− δij ⎜ρ k + µ t ⎟ (3)<br />

3 ⎝ ∂xk<br />

⎠<br />

โดยที่คา<br />

Eddy viscosity ( µ t ) เปนความสัมพันธของคา<br />

พลังงานจลนของความปนปวน<br />

( k) และอัตราการลดลงของคาพลังงาน<br />

จลนของความปนปวน<br />

( ε ) สามารถเขียนไดดังนี้<br />

[5]<br />

2<br />

k<br />

µ t = ρc<br />

µ<br />

(4)<br />

ε<br />

แบบจําลองความปนปวนชนิด<br />

Standard k − ε<br />

ดังนี้<br />

คือ<br />

สมการของคาพลังงานจลนของความปนปวนสามารถเขียนได<br />

∂ ∂ ⎛⎛ µ ⎞ t ∂k⎞<br />

( ρ kui) = ⎜⎜µ + ⎟ ⎟+<br />

Gk + Gb<br />

−ρε<br />

(5)<br />

∂xi ∂x ⎜<br />

i σ k ∂x<br />

⎟<br />

⎝⎝ ⎠ i ⎠

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!