ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

่ ่ ตารางที 6 แนวทางที 3 ผลการเปรียบเทียบการจัดการพัสดุรูปแบบ EOQ และ แนวทางที่4 ลดระยะเวลาแนวทางที่ 1 2 และ 3 รวมทั้งสิ้น 112 วัน โดยเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเปนรูปแบบจัดการพัสดุคงคลังโดยผูสง มอบ (Vendor managed Inventory: VMI) จากการวิจัย พบวาสามารถลด ตนทุนจัดซื้อได 37% มีผลใหระดับพัสดุสํารองมีปริมาณลดลงจาก รูปแบบ EOQ 35% และอัตราหมุนเวียนพัสดุ 8 เทา ดังแสดงตามตาราง ที่ 7 ่ ่ ตารางที 7 แนวทางที 4 ผลการเปรียบเทียบการจัดการพัสดุรูปแบบ EOQ และ 4.3 เสนอแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพัสดุ ดวย รูปแบบจัดการพัสดุคงคลังโดยผูสงมอบ จากแนวทางปรับปรุง 4 แนวทางจากหัวขอ 4.2 พบวา แนวทางที่ 4 สามารถลดเวลาดําเนินการและปริมาณพัสดุสํารองไดมาก ที่สุด งานวิจัยนี้จึงทําการเสนอแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพใหกรณีศึกษา ดวยรูปแบบจัดการพัสดุคงคลังโดยผูสงมอบ การจัดการพัสดุคงคลังโดยผูสงมอบของกรณีศึกษา แตกตาง กับรูปแบบ VMI ปกติ เนื่องจากระเบียบและขอบังคับของการไฟฟาสวน ภูมิภาค ดังนั้นรูปแบบการทํา VMI ที่เหมาะสมจึงตองอยูภายใตขอจํากัด ดังกลาว งานวิจัยนี้จึงเสนอขั้นตอนดําเนินงานดังนี้ 1. จัดตั้งคณะทํางาน ประกอบดวย ฝายพัสดุ ฝายจัดหา หัวหนา แผนกบริหารพัสดุ และที่ปรึกษา และกําหนดแนวการนําระบบ VMI เขา มาใชในหนวยงาน 2. คัดเลือกผูสงมอบที่เขารวมโครงการ จาก Vendor List ที่ขึ้น ทะเบียนมาแลวกวา 1 ป โดยพิจารณาความสามารถของผูสงมอบ 145 เรื่องอัตรากําลังการผลิตและสงมอบพัสดุอุปกรณไฟฟาใหแก การไฟฟาไดตามที่กําหนดไวในสัญญา 3. การไฟฟาสวนภูมิภาคสรางความเขาใจในระบบ VMI กับผู สงมอบทั้งภายนอกและภายในองคกร เพื่อชี้แจงใหเห็นถึงความสําคัญ ของระบบ VMI 4. แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางการไฟฟาสวนภูมิภาคและผูสง มอบ เพื่อสรางขอตกลงรวมกันในลักษณะ Win-Win และกําหนด วัตถุประสงคดําเนินงานรวมกัน 5. จัดทําสัญญาระหวางการไฟฟาสวนภูมิภาคและผูสงมอบ โดยรูปแบบสัญญาจะตองมีความชัดเจนและครอบคลุมในทุกดาน เชน การกําหนดเงื่อนไขในการสงมอบ บทลงโทษเมื่อสงมอบลาชาและ เงื่อนไขการชําระเงินโดยระบุใหชัดเจน เปนตน แนวทางการจัดทํา VMI สําหรับกรณีศึกษา ทําการนําเสนอ เปนหัวขอหลักๆ ดังตอไปนี้ 1. ตําแหนงจัดเก็บพัสดุคงคลัง เชนกําหนดใหผูสงมอบเปน ผูดําเนินการจัดเก็บพัสดุไวยังคลังพัสดุของผูสงมอบ 2. รูปแบบการกระจายพัสดุ กําหนดใหผูสงมอบรับหนาที่ กระจายพัสดุไปยังจุดตางๆตามรูปแบบโครงสรางบริหารงาน 3. การกําหนดจุดเติมเต็ม ฝายพัสดุทําหนาที่กําหนดจุดเติมเต็ม และปริมาณที่ตองเติมเต็ม 4. ผูมีอํานาจตัดสินใจเติมเต็ม อาทิเชน กําหนดใหผูสงมอบ เปนผูตัดสินใจเติมเต็มพัสดุใหแกคลังพัสดุทั่วประเทศ 5. ความเปนเจาของพัสดุ อาทิเชน กําหนดใหผูสงมอบเปน เจาของพัสดุ จนกวาพัสดุจะผานการตรวจรับเขาสูคลังพัสดุ จึงจะเปลี่ยน ความเปนเจาของพัสดุมายังการไฟฟาสวนภูมิภาค 6. วิธีแลกเปลี่ยนขอมูล อาทิเชน กําหนดใหแลกเปลี่ยนขอมูล โดยผานระบบ Website ที่เชื่อมโยงกับระบบ SAP ของการไฟฟาสวน ภูมิภาค จากแนวทางขางตน สามารถสรุปหนาที่แตละฝายไดดังนี้ ดานผูสงมอบ ผูสงมอบเปนผูตัดสินใจเติมเต็มพัสดุใหแกลูกคา ในที่นี้คือ การไฟฟาเขตทั้ง 12 หรือ 4 คลังภาค เมื่อระดับพัสดุคงคลังลดลงถึงจุดเติม เต็ม ตามปริมาณที่ทางฝายพัสดุ กําหนด ภายใน 21 วันหลังจากถึงจุดเติม เต็ม ผูสงมอบตองดําเนินการเติมเต็มพัสดุใหกับการไฟฟาเขตหรือคลัง ภาค โดยใชแนวทางขององคการเภสัชกรรม คือ พิมพระดับพัสดุคงคลัง จาก Web site เพื่อใชแทน Invoice ในการสงมอบ โดยผูสงมอบจะไดรับ การชําระเงินภายใน 45 วัน นับพัสดุผานการตรวจรับและเขาสูคลังพัสดุ ของการไฟฟาเขตหรือคลังภาคเปนที่เรียบรอย ดานการไฟฟาสวนภูมิภาค ฝายพัสดุ จะเปนผูกําหนดจุดเติมเต็มพัสดุและปริมาณการเติม เต็มใหกับคลังพัสดุของการไฟฟาเขตทั้ง 12 หรือ 4คลังภาค และกําหนด ตัวชี้วัด (KPI) ที่ใชควบคุม เชน การวัดอัตราการหมุนเวียนพัสดุ ซึ่งทุก

่<br />

่<br />

ตารางที 6<br />

แนวทางที 3<br />

ผลการเปรียบเทียบการจัดการพัสดุรูปแบบ EOQ และ<br />

แนวทางที่4<br />

ลดระยะเวลาแนวทางที่<br />

1 2 และ 3 รวมทั้งสิ้น<br />

112<br />

วัน โดยเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเปนรูปแบบจัดการพัสดุคงคลังโดยผูสง<br />

มอบ (Vendor managed Inventory: VMI) จากการวิจัย พบวาสามารถลด<br />

ตนทุนจัดซื้อได<br />

37% มีผลใหระดับพัสดุสํารองมีปริมาณลดลงจาก<br />

รูปแบบ EOQ 35% และอัตราหมุนเวียนพัสดุ 8 เทา ดังแสดงตามตาราง<br />

ที่<br />

7<br />

่<br />

่<br />

ตารางที 7<br />

แนวทางที 4<br />

ผลการเปรียบเทียบการจัดการพัสดุรูปแบบ EOQ และ<br />

4.3 เสนอแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพัสดุ<br />

ดวย<br />

รูปแบบจัดการพัสดุคงคลังโดยผูสงมอบ<br />

จากแนวทางปรับปรุง 4 แนวทางจากหัวขอ 4.2 พบวา<br />

แนวทางที่<br />

4 สามารถลดเวลาดําเนินการและปริมาณพัสดุสํารองไดมาก<br />

ที่สุด<br />

งานวิจัยนี้จึงทําการเสนอแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพใหกรณีศึกษา<br />

ดวยรูปแบบจัดการพัสดุคงคลังโดยผูสงมอบ<br />

การจัดการพัสดุคงคลังโดยผูสงมอบของกรณีศึกษา<br />

แตกตาง<br />

กับรูปแบบ VMI ปกติ เนื่องจากระเบียบและขอบังคับของการไฟฟาสวน<br />

ภูมิภาค ดังนั้นรูปแบบการทํา<br />

VMI ที่เหมาะสมจึงตองอยูภายใตขอจํากัด<br />

ดังกลาว งานวิจัยนี้จึงเสนอขั้นตอนดําเนินงานดังนี้<br />

1. จัดตั้งคณะทํางาน<br />

ประกอบดวย ฝายพัสดุ ฝายจัดหา หัวหนา<br />

แผนกบริหารพัสดุ และที่ปรึกษา<br />

และกําหนดแนวการนําระบบ VMI เขา<br />

มาใชในหนวยงาน<br />

2. คัดเลือกผูสงมอบที่เขารวมโครงการ<br />

จาก Vendor List ที่ขึ้น<br />

ทะเบียนมาแลวกวา 1 ป โดยพิจารณาความสามารถของผูสงมอบ<br />

145<br />

เรื่องอัตรากําลังการผลิตและสงมอบพัสดุอุปกรณไฟฟาใหแก<br />

การไฟฟาไดตามที่กําหนดไวในสัญญา<br />

3. การไฟฟาสวนภูมิภาคสรางความเขาใจในระบบ VMI กับผู<br />

สงมอบทั้งภายนอกและภายในองคกร<br />

เพื่อชี้แจงใหเห็นถึงความสําคัญ<br />

ของระบบ VMI<br />

4. แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางการไฟฟาสวนภูมิภาคและผูสง<br />

มอบ เพื่อสรางขอตกลงรวมกันในลักษณะ<br />

Win-Win และกําหนด<br />

วัตถุประสงคดําเนินงานรวมกัน<br />

5. จัดทําสัญญาระหวางการไฟฟาสวนภูมิภาคและผูสงมอบ<br />

โดยรูปแบบสัญญาจะตองมีความชัดเจนและครอบคลุมในทุกดาน เชน<br />

การกําหนดเงื่อนไขในการสงมอบ<br />

บทลงโทษเมื่อสงมอบลาชาและ<br />

เงื่อนไขการชําระเงินโดยระบุใหชัดเจน<br />

เปนตน<br />

แนวทางการจัดทํา VMI สําหรับกรณีศึกษา ทําการนําเสนอ<br />

เปนหัวขอหลักๆ ดังตอไปนี้<br />

1. ตําแหนงจัดเก็บพัสดุคงคลัง เชนกําหนดใหผูสงมอบเปน<br />

ผูดําเนินการจัดเก็บพัสดุไวยังคลังพัสดุของผูสงมอบ<br />

2. รูปแบบการกระจายพัสดุ กําหนดใหผูสงมอบรับหนาที่<br />

กระจายพัสดุไปยังจุดตางๆตามรูปแบบโครงสรางบริหารงาน<br />

3. การกําหนดจุดเติมเต็ม ฝายพัสดุทําหนาที่กําหนดจุดเติมเต็ม<br />

และปริมาณที่ตองเติมเต็ม<br />

4. ผูมีอํานาจตัดสินใจเติมเต็ม<br />

อาทิเชน กําหนดใหผูสงมอบ<br />

เปนผูตัดสินใจเติมเต็มพัสดุใหแกคลังพัสดุทั่วประเทศ<br />

5. ความเปนเจาของพัสดุ อาทิเชน กําหนดใหผูสงมอบเปน<br />

เจาของพัสดุ จนกวาพัสดุจะผานการตรวจรับเขาสูคลังพัสดุ<br />

จึงจะเปลี่ยน<br />

ความเปนเจาของพัสดุมายังการไฟฟาสวนภูมิภาค<br />

6. วิธีแลกเปลี่ยนขอมูล<br />

อาทิเชน กําหนดใหแลกเปลี่ยนขอมูล<br />

โดยผานระบบ Website ที่เชื่อมโยงกับระบบ<br />

SAP ของการไฟฟาสวน<br />

ภูมิภาค<br />

จากแนวทางขางตน สามารถสรุปหนาที่แตละฝายไดดังนี้<br />

ดานผูสงมอบ<br />

ผูสงมอบเปนผูตัดสินใจเติมเต็มพัสดุใหแกลูกคา<br />

ในที่นี้คือ<br />

การไฟฟาเขตทั้ง<br />

12 หรือ 4 คลังภาค เมื่อระดับพัสดุคงคลังลดลงถึงจุดเติม<br />

เต็ม ตามปริมาณที่ทางฝายพัสดุ<br />

กําหนด ภายใน 21 วันหลังจากถึงจุดเติม<br />

เต็ม ผูสงมอบตองดําเนินการเติมเต็มพัสดุใหกับการไฟฟาเขตหรือคลัง<br />

ภาค โดยใชแนวทางขององคการเภสัชกรรม คือ พิมพระดับพัสดุคงคลัง<br />

จาก Web site เพื่อใชแทน<br />

Invoice ในการสงมอบ โดยผูสงมอบจะไดรับ<br />

การชําระเงินภายใน 45 วัน นับพัสดุผานการตรวจรับและเขาสูคลังพัสดุ<br />

ของการไฟฟาเขตหรือคลังภาคเปนที่เรียบรอย<br />

ดานการไฟฟาสวนภูมิภาค<br />

ฝายพัสดุ จะเปนผูกําหนดจุดเติมเต็มพัสดุและปริมาณการเติม<br />

เต็มใหกับคลังพัสดุของการไฟฟาเขตทั้ง<br />

12 หรือ 4คลังภาค และกําหนด<br />

ตัวชี้วัด<br />

(KPI) ที่ใชควบคุม<br />

เชน การวัดอัตราการหมุนเวียนพัสดุ ซึ่งทุก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!