30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

2.4 การจัดการพัสดุคงคลังโดยผูสงมอบ<br />

(Vendor Managed<br />

Inventory: VMI)<br />

VMI เปนกระบวนการจัดการพัสดุที่อาศัยประโยชนจากการ<br />

แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางผูผลิต/ผูจัดหา<br />

และลูกคา ถือไดวาเปนกลยุทธ<br />

สําคัญในการจัดการโซอุปทาน โดย ผูผลิต/ผูจัดหา<br />

ทําหนาที่จัดการพัสดุ<br />

คงคลังใหแกลูกคา โดยใชขอมูลการใชงานและระดับพัสดุคงคลังที่<br />

ไดรับจากลูกคาเพื่อใชในการวางแผนเพื่อจัดการพัสดุคงคลังที่เหมาะสม<br />

ใหแกลูกคา กลาวคือ ผูผลิต/ผูจัดหาจะตรวจสอบปริมาณพัสดุคงคลังของ<br />

ลูกคา และจัดสงพัสดุใหลูกคาเพื่อรักษาระดับพัสดุคงคลังใหไดตามที่ตก<br />

ลงกัน รูปแบบ VMI สวนของหนาที่การจัดการและเติมเต็มพัสดุคงคลัง<br />

จะถูกโอนมาใหเปนหนาที่ของผูผลิต/ผูจัดหาเปนผูรับผิดชอบ<br />

ประโยชน<br />

ที่คาดวาจะไดรับจาก<br />

VMI คือ ระดับการใหบริการที่ดีขึ้น<br />

ลดปริมาณ<br />

พัสดุขาดมือ ในขณะที่ตนทุนจัดเก็บพัสดุและสั่งพัสดุลดลง<br />

สําหรับ<br />

ผูผลิต/ผูจัดหานั้น<br />

VMI สามารถลด Bullwhip Effect และชวยใหการวาง<br />

แผนการผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

ใชทรัพยากรไดเหมาะสมขึ้น<br />

และ<br />

ชวยในการวางแผนการจัดสงและการเติมเต็มสินคาไดดีขึ้น<br />

โดยขอมูล<br />

จากจุดขายจะถูกสงตรงไปยังระบบคอมพิวเตอรของผูผลิต<br />

เชน<br />

Electronic Data Interchange (EDI) ทําใหผูผลิตสามารถเห็นยอดขายและ<br />

ตัดสินใจเริ่มกระบวนการเติมเต็มพัสดุได<br />

สําหรับขั้นตอนจัดทําระบบ<br />

VMI ประกอบดวย 6 องคประกอบหลัก ดังตอไปนี้<br />

[5]<br />

1. กําหนดตําแหนงจัดเก็บพัสดุคงคลัง (Inventory Location)<br />

โดยตกลงกันวา ควรตั้งพัสดุที่ใด<br />

2. กําหนดผูกระจายพัสดุ<br />

(Distribution Model) โดยกําหนด<br />

ผูดําเนินการกระจายพัสดุ<br />

เชนผูสงมอบ,<br />

การจาง Outsource เขามา<br />

ดําเนินการ เปนตน<br />

3. กําหนดการตรวจติดตามระดับพัสดุและปริมาณความ<br />

ตองการ (Inventory Level monitoring and demand visibility) อาทิเชน<br />

กําหนดวิธีการตรวจติดตามและผูตรวจติดตาม<br />

4. กําหนดรูปแบบการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางผูสงมอบและ<br />

ลูกคา (Role of information system) อาทิเชน ผาน Internet, Faxหรือ EDI<br />

เปนตน<br />

5. กําหนดผูมีอํานาจในการตัดสินใจเติมเต็มพัสดุ<br />

(Replenishment decision) ใหกับลูกคา<br />

6. กําหนดผูเปนเจาของพัสดุคงคลัง<br />

(Inventory Ownership)<br />

3. วิธีดําเนินงานวิจัย<br />

งานวิจัยนี้<br />

เริ่มจากคัดเลือกพัสดุกลุมตัวอยาง<br />

ก็คือ กลุมพัสดุหลัก<br />

หรือ พัสดุที่อยูในกลุม<br />

A ทั้งนี้การไฟฟาสวนภูมิภาคไดทําการจัดลําดับ<br />

ความสําคัญของพัสดุโดยใชปริมาณ x มูลคา ของพัสดุ เปนเกณฑืการ<br />

แบงกลุม<br />

โดยแบงกลุมพัสดุออกเปน<br />

2 กลุมคือ<br />

พัสดุกลุม<br />

A คือ กลุมพัสดุ<br />

หลัก เชน สายไฟ ผลิตภัณฑคอนกรีต เปนตน และพัสดุกลุม<br />

B, C นั้นคือ<br />

กลุมพัสดุรองเชน<br />

อุปกรณประกอบลูกถวย อุปกรณสายยึดโยง เปนตน<br />

142<br />

จากนั้นศึกษาสภาวการณปจจุบันการไฟฟาสวนภูมิภาค<br />

วิเคราะหปญหา<br />

และสาเหตุ กําหนดแนวทางแกปญหาและปรับปรุงการทํางาน โดยมี<br />

ขั้นตอนดําเนินงาน<br />

ดังนี้<br />

3.1 ขั้นตอนเก็บรวบรวมขอมูล<br />

งานวิจัยนี้<br />

เก็บรวบรวมขอมูลปฐมภูมิดวยวิธีการสัมภาษณ<br />

และขอมูลทุติยภูมิโดยใชขอมูลจายเขางานยอนหลังเปนรายป รูปแบบ<br />

ปริมาณและมูลคา ตั้งแตป<br />

พ.ศ. 2552 – 2553 ทั้งนี้การไฟฟาสวนภูมิภาค<br />

ดําเนินการจัดซื้อเพียงปละ<br />

1 รอบเทานั้น<br />

ทําใหปริมาณการจายพัสดุนั้น<br />

ขึ้นกับความพรอมพัสดุเปนหลัก<br />

ทําใหลักษณะความตองการพัสดุนั้น<br />

ไมใชความตองการที่เกิดขึ้นจริงในแตละเดือน<br />

3.2 ขั้นตอนวิเคราะหขอมูล<br />

ขั้นตอนนี้<br />

คัดเลือกตัวแทนพัสดุเพื่อใชในการวิจัย<br />

โดย<br />

วิเคราะหจากคาสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน<br />

(Variability Coefficient, V)<br />

ตามหลัก Peterson – Silver และคัดเลือกขอมูลที่มีคา<br />

V นอยกวา 0.25 ซึ่ง<br />

เปนขอมูลที่มีปริมาณการใชคอนขางคงที่เหมาะสมในการจัดการพัสดุ<br />

ดวยรูปแบบ EOQ<br />

3.3 ศึกษาสภาวการณปจจุบันการจัดการพัสดุ<br />

ปจจุบันการไฟฟาสวนภูมิภาคประสบปญหา มูลคาพัสดุคง<br />

คลังเฉลี่ยสูงถึงปละประมาณ<br />

6,000 ลานบาท และ ปญหาพัสดุขาดแคลน<br />

เนื่องจากกิจกรรมจัดซื้อสวนกลาง<br />

มีระยะเวลาดําเนินการนานและไม<br />

แนนอน ซึ่งการจัดการพัสดุ<br />

มีหนวยงานรับผิดชอบหลักคือ ฝายพัสดุ ทํา<br />

หนาที่กําหนดและติดตามสถานะพัสดุ<br />

และกําหนดดัชนีชี้วัดในภาพรวม<br />

จํานวน 3 ตัวชี้วัดหลักๆ<br />

คือ 1) อัตราหมุนเวียนพัสดุ (Turnover Ratio) ทุก<br />

คลังพัสดุมีอัตราหมุนเวียนเทากับ 1.4 รอบ ตอป และติดตามผลเปนราย<br />

ไตรมาส 2) กําหนดปริมาณ Safety Stock ที่ระดับ<br />

2 เดือน และ 3) ระบุ<br />

พัสดุไมเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวชา<br />

จากขอมูลจายเขางาน สามารถ<br />

สรุปสถานภาพการจัดการพัสดุ ไดดังตารางที่<br />

1<br />

ตารางที่<br />

1 สรุปสถานภาพการจัดการพัสดุ (หนวย: พันลานบาท)<br />

จากตารางที่<br />

1 พบวายอดจัดซื้อจากสวนกลางมีแนวโนมลดลง<br />

เชนเดียวกับยอดจัดซื้อสวนภูมิภาค<br />

และยอดจายเขางาน ในขณะที่ยอด<br />

คงเหลือพัสดุยังคงมีมูลคาเฉลี่ยสูงถึง<br />

6 พันลานบาท เมื่อเปรียบเทียบพัสดุ<br />

คงเหลือกับยอดจายเขางาน สามารถวิเคราะหอัตราหมุนเวียน ดังนี้

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!