ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

= รายไดจากการขายสินคาที่ผานการดึงผลิตภัณฑกลับคืน – คาใชจายในการกําจัดสินคา - คาใชจายในการเปดศูนย – คาใชจายในการ ดําเนินงาน – คาใชจายในการขนสง หรือ = 180,000,000 + 180,000,000 + 120,000,000 + 4,800,000 – 2 ,000,000 – 180,000,000 – 30,000,000 – 30,000,000 – 30,000,000 – 1,600,000 – 61,600,000 – 61,600,000 – 61,600,000 – 2,500,000 – 600,000 – 600,000 – 600,000 – 600,000 – 600,000 – 600,000 = 182,300,000 บาท/ป สําหรับผลิตภัณฑไมคงทนประเภทผักสด รายไดสูงสุด สามารถประมาณไดจากการแทนคาในสมการ 2.1 = รายไดจากการขายสินคาที่ผานการดึงผลิตภัณฑกลับคืน – คาใชจายในการกําจัดสินคา – คาใชจายในการเปดศูนย -คาใชจายในการ ดําเนินงาน – คาใชจายในการขนสง = 4,800,000 + 3,200,000 + 6,400,000 – 100,000 – 9,000,000 – 2,500,000 – 1,080,000 = 1,720,000 บาท/ป จากการเปรียบเทียบคารายไดสูงสุดพบวาผลิตภัณฑกลับคืน ประเภทคงทนมีคารายไดจากมากกวาผลิตภัณฑกลับคืนไมคงทน ประมาณ 100 เทา 4. สรุปและวิจารณผล ผลิตภัณฑคงทนมีกิจกรรมที่เกี่ยวของมากกวา ทําใหสมการ เปาหมายซับซอนกวา ทั้งนี้โดยสวนใหญผลิตภัณฑคงทน มีมูลคา มากกวาผลิตภัณฑไมคงทน จึงทําใหกิจกรรมการดึงผลิตภัณฑกลับคืน จากผลิตภัณฑไมคงทนกระทําไดนอยกวา อยางไรก็ตามเงินลงทุนยังมีคา นอยกวา และ ถึงแมวาเปนมูลคาผลิตภัณฑไมสูง แตปริมาณการใชงานมี มูลคาสูงกวาผลิตภัณฑคงทนถึง 100 เทา/ป และสงผลใหเพิ่มปริมาณขยะ อยางมากและรวดเร็วกวาผลิตภัณฑคงทน งานที่ทาทายการศึกษาวิจัย คือ การหมุนเวียนใชซ้ําขยะจากผลิตภัณฑอาหารสด เพื่อผลิตกาซชีวภาพ ซึ่ง จะไดมูลคามากขึ้นกวาเดิมมาก ผลการคํานวณเปนการทดลองเบื้องตน เพื่อเปรียบเทียบคา โดยประมาณ ขอมูลตัวเลขที่อางอิงอาจไมแมนยํา และผลลัพธที่ไดยัง ไมไดเปนคาที่เหมาะสม เนื่องจากมีปจจัยที่ตองคํานึงถึงอยางมาก เชน ปริมาณการขาย ราคาขาย ปริมาณสินคาสิ้นอายุ อัตราการขายในแต ละกิจกรรมของสินคาดึงผลิตภัณฑกลับคืน รวมทั้งยังไมไดคํานึงถึง คาใชจายในการจัดเก็บ งานวิจัยที่ควรพัฒนาตอไป คือ การศึกษาโครงขาย การดึงผลิตภัณฑกลับคืนจากผลิตภัณฑไมคงทน ประเภทอาหารสด โดย ทําการสืบคนฐานขอมูล ดานเงินลงทุน คาใชจายการขนสง คาใชจาย ดําเนินงานแตละกิจกรรม และรายไดจากการขายผลิตภัณฑที่สามารถดึง ผลิตภัณฑกลับคืนได เพื่อวิเคราะหผลเชิงปริมาณที่ไดผลลัพธดีสุดตาม สมการเปาหมาย แตรูปแบบปญหาควรกําหนดเปนสโตแคสติก 130 (Stochastic) เนื่องจากธรรมชาติความตองการสินคาสิ้นอายุการใชงาน และอัตราการคืนกลับมักเปนรูปแบบไมคงที่ เอกสารอางอิง [1] A. Gungor, and S. Gupta, “Issues in environmentally conscious manufacturing and product recovery: A survey,” Computers & Industrial Engineering. 36, pp. 811– 853, 1999. [2] M. Fleischmann, P. Beullens, J.M. Bloemhof-Ruwaard, and L.N. van Wassenhove, “The impact of product recovery on logistics network design,” Production and Operations Management. 10(2), pp. 156–173, 2001. [3] M. Fleischmann, H.R. Krikke, R. Dekker, and S.D.P. Flapper, “A characterisation of logistics networks for product recovery,” Omega. 28 (6), pp. 653–666, 2000. [4] V. Jayaraman, RA. Patterson, and E. Rolland, “The design of reverse distribution networks: models and solution procedures,” European Journal of Operational Research, 150(2), pp. 128–49, 2003 [5] DS. Rogers, and RS. Tibben-Lembke, 1999. Going backwards: reverse logistics trends and practices. Reverse Logistics Executive Council. Pittsburg, PA, USA [6] M. De Brito, and R. Dekker, “A framework for reverse logistics,” Erasmus Research Institute of Management, Research Management, April 2003 [7] J.R. Stock, Logistics Engineering Handbook. Taylor and Francis Group, edited by G.D. Taylor, CRC press, 2008, ch.25, pp. 1-15 [8] M. Xiong, Lesson for China from a comparison of the logistics in the U.S and China. Thesis in Master of Science, Massachusetts Institute of Technology, 2010 [9] www.thaigov.go.th (Accessed on June 1, 2011) [10] M. Vrijheid, “Health effects of residence near hazardous waste landfill sites: A review of epidemiologic literature,” Environmental Health Perspectives, 108, Supplement l, 2000 [11] V. Ravi, R. Shankar, and M. K Tiwari , “Selection of a reverse logistics project for end-of-life computers: ANP and goal programming approach,” International Journal of Production Research, pp. 1-22, 2007. [12] L. Kroon, and G. Vrijens, “Returnable containers: an example of reverse logistics,” International Journal of Physical Distribution & Logistics Management. 25(2), pp. 56-68, 1994.

[13] S. Rubio, and A. Corominas, “Optimal manufacturing– remanufacturing policies in a lean production environment,” Computers & Industrial Engineering, 55, pp. 234–242, 2008. [14] T. Spengler, H. PuÈ chert, T. Penkuhn, and O. Rentz, “Environmental integrated production and recycling management,” European Journal of Operational Research. 97, pp. 308-326, 1997. [15] RK. Pati, P. Vrat, and P. Kumar, “A goal programming model for paper recycling system,” Omega, 36(3), pp. 405–417, 2008. [16] K. H. Lau, and Y. Wang, “Reverse logistics in the electronic industry of China: a case study,” Supply Chain Management: An International Journal, 14/6, pp. 447–465, 2009. [17] H.H. Khoo, T.Z. Lim, R.B.H. Tan, “Food waste conversion options in Singapore: Environmental impacts based on an LCA perspective,” Science of the Total Environment. 408, pp. 1367– 1373, 2010 [18] K. Lieckens, N. Vandaele, “Reverse logistics network design with stochastic lead times,” Computer & Operation Research, pp. 1-22, 2005. [19] L.H. Shih, “Reverse logistics system planning for recycling electrical appliances and computers in Taiwan,” Resources, Conservation and Recycling, 32, pp. 55–72, 2001. [20] O. Listes, and R. Dekker, “A stochastic approach to a case study for product recovery network design,” European Journal of Operational Research, 160, pp. 268–287, 2005 ประวัติผูเขียนบทความ อุบลรัตน หวังรักษดีสกุล สําเร็จการศึกษาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ.2533 ปจจุบัน อาจารย ประจําภาควิชาวิศวกรรมการผลิต คณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ งานวิจัยที่สนใจ การ ขนสงยอนกลับ การพัฒนาคอรเดียไรทเซรามิกสสําหรับคะตะไลติกคอน เวอรเตอรในรถยนต นันทกฤษณ ยอดพิจิตร สําเร็จการศึกษา Ph.D. (Industrial and Systems Engineering) จาก Virginia Tech, USA, พ.ศ. 2553 ปจจุบัน เปนอาจารยประจํา ภาควิชาวิศวกรรม อุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย 131 เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ งานวิจัยที ่สนใจ คือ วิศวกรรม ปจจัยมนุษย/การยศาสตร การออกแบบระบบความปลอดภัย และการ จัดการระบบการขนสง

[13] S. Rubio, and A. Corominas, “Optimal manufacturing–<br />

remanufacturing policies in a lean production environment,”<br />

Computers & Industrial Engineering, 55, pp. 234–242, 2008.<br />

[14] T. Spengler, H. PuÈ chert, T. Penkuhn, and O. Rentz,<br />

“Environmental integrated production and recycling management,”<br />

European Journal of Operational Research. 97, pp. 308-326, 1997.<br />

[15] RK. Pati, P. Vrat, and P. Kumar, “A goal programming model for<br />

paper recycling system,” Omega, 36(3), pp. 405–417, 2008.<br />

[16] K. H. Lau, and Y. Wang, “Reverse logistics in the electronic<br />

industry of China: a case study,” Supply Chain Management: An<br />

International Journal, 14/6, pp. 447–465, 2009.<br />

[17] H.H. Khoo, T.Z. Lim, R.B.H. Tan, “Food waste conversion options<br />

in Singapore: Environmental impacts based on an LCA<br />

perspective,” Science of the Total Environment. 408, pp. 1367–<br />

1373, 2010<br />

[18] K. Lieckens, N. Vandaele, “Reverse logistics network design with<br />

stochastic lead times,” Computer & Operation Research, pp. 1-22,<br />

2005.<br />

[19] L.H. Shih, “Reverse logistics system planning for recycling<br />

electrical appliances and computers in Taiwan,” Resources,<br />

Conservation and Recycling, 32, pp. 55–72, 2001.<br />

[20] O. Listes, and R. Dekker, “A stochastic approach to a case study<br />

for product recovery network design,” European Journal of<br />

Operational Research, 160, pp. 268–287, 2005<br />

ประวัติผูเขียนบทความ<br />

อุบลรัตน หวังรักษดีสกุล<br />

สําเร็จการศึกษาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ.2533 ปจจุบัน<br />

อาจารย ประจําภาควิชาวิศวกรรมการผลิต คณะ<br />

วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกลาพระนครเหนือ งานวิจัยที่สนใจ<br />

การ<br />

ขนสงยอนกลับ การพัฒนาคอรเดียไรทเซรามิกสสําหรับคะตะไลติกคอน<br />

เวอรเตอรในรถยนต<br />

นันทกฤษณ ยอดพิจิตร<br />

สําเร็จการศึกษา Ph.D. (Industrial and Systems<br />

Engineering) จาก Virginia Tech, USA, พ.ศ. 2553<br />

ปจจุบัน เปนอาจารยประจํา ภาควิชาวิศวกรรม<br />

อุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย<br />

131<br />

เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ งานวิจัยที<br />

่สนใจ คือ วิศวกรรม<br />

ปจจัยมนุษย/การยศาสตร การออกแบบระบบความปลอดภัย และการ<br />

จัดการระบบการขนสง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!