30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

= รายไดจากการขายสินคาที่ผานการดึงผลิตภัณฑกลับคืน<br />

–<br />

คาใชจายในการกําจัดสินคา - คาใชจายในการเปดศูนย – คาใชจายในการ<br />

ดําเนินงาน – คาใชจายในการขนสง หรือ<br />

= 180,000,000 + 180,000,000 + 120,000,000 + 4,800,000 –<br />

2 ,000,000 – 180,000,000 – 30,000,000 – 30,000,000 – 30,000,000 –<br />

1,600,000 – 61,600,000 – 61,600,000 – 61,600,000 – 2,500,000 –<br />

600,000 – 600,000 – 600,000 – 600,000 – 600,000 – 600,000<br />

= 182,300,000 บาท/ป<br />

สําหรับผลิตภัณฑไมคงทนประเภทผักสด รายไดสูงสุด<br />

สามารถประมาณไดจากการแทนคาในสมการ 2.1<br />

= รายไดจากการขายสินคาที่ผานการดึงผลิตภัณฑกลับคืน<br />

–<br />

คาใชจายในการกําจัดสินคา – คาใชจายในการเปดศูนย -คาใชจายในการ<br />

ดําเนินงาน – คาใชจายในการขนสง<br />

= 4,800,000 + 3,200,000 + 6,400,000 – 100,000 – 9,000,000<br />

– 2,500,000 – 1,080,000<br />

= 1,720,000 บาท/ป<br />

จากการเปรียบเทียบคารายไดสูงสุดพบวาผลิตภัณฑกลับคืน<br />

ประเภทคงทนมีคารายไดจากมากกวาผลิตภัณฑกลับคืนไมคงทน<br />

ประมาณ 100 เทา<br />

4. สรุปและวิจารณผล<br />

ผลิตภัณฑคงทนมีกิจกรรมที่เกี่ยวของมากกวา<br />

ทําใหสมการ<br />

เปาหมายซับซอนกวา ทั้งนี้โดยสวนใหญผลิตภัณฑคงทน<br />

มีมูลคา<br />

มากกวาผลิตภัณฑไมคงทน จึงทําใหกิจกรรมการดึงผลิตภัณฑกลับคืน<br />

จากผลิตภัณฑไมคงทนกระทําไดนอยกวา อยางไรก็ตามเงินลงทุนยังมีคา<br />

นอยกวา และ ถึงแมวาเปนมูลคาผลิตภัณฑไมสูง แตปริมาณการใชงานมี<br />

มูลคาสูงกวาผลิตภัณฑคงทนถึง 100 เทา/ป และสงผลใหเพิ่มปริมาณขยะ<br />

อยางมากและรวดเร็วกวาผลิตภัณฑคงทน งานที่ทาทายการศึกษาวิจัย<br />

คือ<br />

การหมุนเวียนใชซ้ําขยะจากผลิตภัณฑอาหารสด<br />

เพื่อผลิตกาซชีวภาพ<br />

ซึ่ง<br />

จะไดมูลคามากขึ้นกวาเดิมมาก<br />

ผลการคํานวณเปนการทดลองเบื้องตน<br />

เพื่อเปรียบเทียบคา<br />

โดยประมาณ ขอมูลตัวเลขที่อางอิงอาจไมแมนยํา<br />

และผลลัพธที่ไดยัง<br />

ไมไดเปนคาที่เหมาะสม<br />

เนื่องจากมีปจจัยที่ตองคํานึงถึงอยางมาก<br />

เชน ปริมาณการขาย ราคาขาย ปริมาณสินคาสิ้นอายุ<br />

อัตราการขายในแต<br />

ละกิจกรรมของสินคาดึงผลิตภัณฑกลับคืน รวมทั้งยังไมไดคํานึงถึง<br />

คาใชจายในการจัดเก็บ งานวิจัยที่ควรพัฒนาตอไป<br />

คือ การศึกษาโครงขาย<br />

การดึงผลิตภัณฑกลับคืนจากผลิตภัณฑไมคงทน ประเภทอาหารสด โดย<br />

ทําการสืบคนฐานขอมูล ดานเงินลงทุน คาใชจายการขนสง คาใชจาย<br />

ดําเนินงานแตละกิจกรรม และรายไดจากการขายผลิตภัณฑที่สามารถดึง<br />

ผลิตภัณฑกลับคืนได เพื่อวิเคราะหผลเชิงปริมาณที่ไดผลลัพธดีสุดตาม<br />

สมการเปาหมาย แตรูปแบบปญหาควรกําหนดเปนสโตแคสติก<br />

130<br />

(Stochastic) เนื่องจากธรรมชาติความตองการสินคาสิ้นอายุการใชงาน<br />

และอัตราการคืนกลับมักเปนรูปแบบไมคงที่<br />

เอกสารอางอิง<br />

[1] A. Gungor, and S. Gupta, “Issues in environmentally conscious<br />

manufacturing and product recovery: A survey,” Computers &<br />

Industrial Engineering. 36, pp. 811– 853, 1999.<br />

[2] M. Fleischmann, P. Beullens, J.M. Bloemhof-Ruwaard, and L.N.<br />

van Wassenhove, “The impact of product recovery on logistics<br />

network design,” Production and Operations Management. 10(2),<br />

pp. 156–173, 2001.<br />

[3] M. Fleischmann, H.R. Krikke, R. Dekker, and S.D.P. Flapper, “A<br />

characterisation of logistics networks for product recovery,”<br />

Omega. 28 (6), pp. 653–666, 2000.<br />

[4] V. Jayaraman, RA. Patterson, and E. Rolland, “The design of<br />

reverse distribution networks: models and solution procedures,”<br />

European Journal of Operational Research, 150(2), pp. 128–49,<br />

2003<br />

[5] DS. Rogers, and RS. Tibben-Lembke, 1999. Going backwards:<br />

reverse logistics trends and practices. Reverse Logistics Executive<br />

Council. Pittsburg, PA, USA<br />

[6] M. De Brito, and R. Dekker, “A framework for reverse logistics,”<br />

Erasmus Research Institute of Management, Research<br />

Management, April 2003<br />

[7] J.R. Stock, Logistics Engineering Handbook. Taylor and Francis<br />

Group, edited by G.D. Taylor, CRC press, 2008, ch.25, pp. 1-15<br />

[8] M. Xiong, Lesson for China from a comparison of the logistics in<br />

the U.S and China. Thesis in Master of Science, Massachusetts<br />

Institute of Technology, 2010<br />

[9] www.thaigov.go.th (Accessed on June 1, 2011)<br />

[10] M. Vrijheid, “Health effects of residence near hazardous waste<br />

landfill sites: A review of epidemiologic literature,” Environmental<br />

Health Perspectives, 108, Supplement l, 2000<br />

[11] V. Ravi, R. Shankar, and M. K Tiwari , “Selection of a reverse<br />

logistics project for end-of-life computers: ANP and goal<br />

programming approach,” International Journal of Production<br />

Research, pp. 1-22, 2007.<br />

[12] L. Kroon, and G. Vrijens, “Returnable containers: an example of<br />

reverse logistics,” International Journal of Physical Distribution &<br />

Logistics Management. 25(2), pp. 56-68, 1994.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!