30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

3. ผลการศึกษา<br />

จากรูปที่<br />

2 และ 3 แสดงโครงขายการดึงผลิตภัณฑกลับคืน<br />

ของผลิตภัณฑคงทน และผลิตภัณฑไมคงทน ตามลําดับนั้น<br />

มีความ<br />

แตกตางกันในบางกิจกรรมการดึงผลิตภัณฑกลับคืน คือ ผลิตภัณฑคงทน<br />

สามารถใชกิจกรรมการดึงผลิตภัณฑกลับคืนได 4 สวนคือ การใชซ้ํา<br />

การ<br />

ตกแตงใหม การผลิตซ้ํา<br />

การหมุนเวียนใชซ้ํา<br />

ในขณะที่ผลิตภัณฑไม<br />

คงทนสามารถใชกิจกรรมการดึงผลิตภัณฑกลับคืนเพียง 1 กิจกรรม คือ<br />

การหมุนเวียนใชซ้ําอยางไรก็ตามในการนําไปใชงานในทางปฏิบัติ<br />

จําเปนตองมีการหาผลลัพธเชิงปริมาณ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ<br />

และ<br />

แนวทางเลือกของการดึงผลิตภัณฑกลับคืน ผูวิจัยไดนําเสนอวิธีการ<br />

พิจารณาองคประกอบสําหรับผลิตภัณฑคงทน และผลิตภัณฑไมคงทน<br />

โดยปรับปรุงวิธีการคิดการสรางรูปแบบการไหลจากงานวิจัยที่ผานมา<br />

[18], [19] มีรายละเอียดดังตอไปนี้<br />

3.1 รูปแบบปญหาผลิตภัณฑคงทนประเภทเครื่องคอมพิวเตอร<br />

ทําการสรางรูปแบบปญหาในรูปที่<br />

4 โดยใชพื้นฐานแนวคิด<br />

จากโครงขายกิจกรรมการดึงผลิตภัณฑกลับคืน จากรูปที่<br />

2 เพื่อพิจารณา<br />

และสรางรูปแบบปญหาที่เหมาะสม<br />

โดยใชพื้นฐานหลักการจากนักวิจัย<br />

กอนหนาในการกําหนด สมมติฐาน สมการเปาหมาย เงื่อนไขขอจํากัด<br />

ตัวแปร และดัชนี [20]<br />

รูปที่<br />

4. รูปแบบการไหลของกิจกรรมการดึงผลิตภัณฑกลับคืนของ<br />

ผลิตภัณฑคงทน [ผลิตภัณฑเครื่องคอมพิวเตอร]<br />

เปาหมาย เพื่อรายไดสูงสุด<br />

องคประกอบหลักในการพิจารณา<br />

คือ รายไดจากการขายสินคาที่ผานการดึงผลิตภัณฑกลับคืน<br />

– คาใชจาย<br />

ในการกําจัดสินคา - คาใชจายในการเปดศูนย - คาใชจายในการ<br />

ดําเนินงาน – คาใชจายในการขนสง<br />

สมการเปาหมาย<br />

127<br />

เงื่อนไข

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!