30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

2.3. การเปรียบเทียบโครงขายการดึงผลิตภัณฑกลับคืน<br />

งานวิจัยนี้เนนการเปรียบเทียบโครงขายการดึงผลิตภัณฑ<br />

กลับคืนจากผลิตภัณฑ 2 ประเภท คือ ผลิตภัณฑคงทน เชน อุปกรณ<br />

คอมพิวเตอร กับ ผลิตภัณฑไมคงทน เชน ผลิตภัณฑอาหารประเภทผัก<br />

สด โดยใชแนวคิดงานวิจัยซึ่งไดศึกษาความสําคัญของการดึงผลิตภัณฑ<br />

กลับคืนจากสินคาสิ้นอายุการใชงาน<br />

แตโดยสวนใหญแลวงานวิจัยที่ผาน<br />

มามุงเนนการศึกษาเพียงกลุมของผลิตภัณฑคงทนเทานั้น<br />

[2]<br />

2.3.1 คุณลักษณะโครงขายการดึงผลิตภัณฑกลับคืนจาก<br />

ผลิตภัณฑคงทน<br />

เนื่องจากผลิตภัณฑคงทน<br />

มีอายุการใชงานนานกวา 3 ป มั กมี<br />

มูลคาสูง ดังนั้นกิจกรรมการดึงผลิตภัณฑกลับคืนจึงมีองคประกอบ<br />

มากกวาผลิตภัณฑไมคงทน ในกรณีศึกษานี้พิจารณาผลิตภัณฑเครื่อง<br />

คอมพิวเตอร ตามรูปที่<br />

2 ซึ่งปรับปรุงจากแนวคิดจากงานของนักวิจัยกอน<br />

หนา [16]<br />

รูปที่<br />

2. โครงขายการดึงผลิตภัณฑกลับคืนผลิตภัณฑคงทน : ผลิตภัณฑ<br />

เครื่องคอมพิวเตอร<br />

[ปรับปรุงจาก Lau และ Wang (2552)]<br />

จากรูปที่<br />

2. โครงขายการดึงผลิตภัณฑคงทนกลับคืนเริ่มจากผู<br />

จัดสงชิ้นสวนประกอบ<br />

(Part Components Supplier) จัดสงชิ้นงานให<br />

ผูผลิตคอมพิวเตอร<br />

(Producer) หลังผลิตเสร็จผูผลิตจะกระจายสินคาไป<br />

ศูนยกระจายสินคา (Retailer) เชน รานขายคอมพิวเตอร จากนั้นจะสงไป<br />

ยัง ลูกคา (Consumer) อยางไรก็ตามระหวาง ผูจัดสงชิ้นสวนประกอบ<br />

ผูผลิต<br />

ศูนยกระจายสินคา และ ผูบริโภคสามารถที่จะสงผลิตภัณฑที่ไมได<br />

ตามขอกําหนดคืนกลับตนทางได หลังจากลูกคาใชงานผลิตภัณฑ สินคา<br />

สิ้นอายุการใชงาน<br />

หรือไมเปนที่ตองการของลูกคา<br />

แลว จะถูกสงไปยัง<br />

จุดรับคืนสินคา (Return Point) และถูกสงไป ศูนยคัดแยกสินคา<br />

(Collector) เพื่อแยกสินคาตามความสามารถในการถูกดึงผลิตภัณฑ<br />

กลับคืน เชน กรณีการใชซ้ํา<br />

และ การผลิตซ้ํา<br />

จะถูกสงกลับไปยัง<br />

126<br />

โรงงานผลิตเดิมเพื่อทําแตละกิจกรรม<br />

หลังจากนั้นสินคาจะถูกสงไปศูนย<br />

กระจายสินคา เพื่อขายตอไป<br />

สวนกรณี การตกแตงใหมจะถูกสงไปศูนย<br />

กระจายสินคา เพื่อปรับแตงแลวสงไปยังลูกคาตอไป<br />

กรณีการหมุนเวียน<br />

ใชซ้ํา<br />

วัสดุนั้นจะถูกสงไปขายใหโรงงานภายนอกในการทํากิจกรรม<br />

หมุนเวียนใชซ้ํา<br />

เพื่อทําการดึงชิ้นสวนประเภท<br />

พลาสติก หรือ โลหะมีคา<br />

เพื่อนําไปใชงานใหม<br />

สวนกิจกรรมสุดทาย คือ การกําจัดทิ้ง<br />

2.3.2 คุณลักษณะโครงขายการดึงผลิตภัณฑกลับคืนจากผลิต-<br />

ภัณฑไมคงทน<br />

เนื่องจากประชากรสวนใหญของประเทศไทยมี<br />

อาชีพดาน เกษตรกรรมเปนหลัก และมีผลผลิตทางการเกษตรในปริมาณมากที่<br />

สามารถสงออกตางประเทศไดจํานวนมาก งานวิจัยนี้มีความสนใจศึกษา<br />

ผลิตภัณฑอาหารประเภทผักสด (Fresh Vegetables) ซึ่งมีชวงอายุ<br />

ประมาณ 1-2 สัปดาห สินคากลุมนี้สามารถดึงผลิตภัณฑกลับคืน<br />

ไดโดย<br />

กิจกรรมที่แสดงใน<br />

รูปที่<br />

3 ซึ่งปรับปรุงแนวคิดจาก<br />

งานวิจัยป พ.ศ.2553<br />

[17] อธิบายไดดังนี้<br />

จุดเริ่มที่ผูจัดสงวัตถุดิบ<br />

(Materials Supplier) สง<br />

วัตถุดิบเขาโรงงานผลิต (Producer) ในระหวางนี้สินคาที่สงระหวางผูขาย<br />

กับ ผูผลิต<br />

หากไมไดตามขอกําหนด ผูผลิตสามารถสงกลับคืนได<br />

วัตถุดิบ<br />

ที่ผานกระบวนการผลิต<br />

จะถูกกระจายไป ผูคาปลีก<br />

(Retailer) จากนั้นจึง<br />

กระจายไปยังผูบริโภค<br />

(Consumer) ระหวางนี้สินคาที่สงไปยังผูคาปลีก<br />

หากไมไดตามขอกําหนดจะถูกสงกลับคืนผูผลิต<br />

สวนสินคาที่ขายไม<br />

หมด ผูขายจะตองจัดการกับ<br />

สินคาสิ้นอายุการใชงาน<br />

(End-of-Life<br />

Products) โดยสงไปศูนยคัดแยก (Collector) เพื่อทําการดึงผลิตภัณฑ<br />

กลับคืน ดวยการหมุนเวียนใชซ้ํา<br />

โดยแบงออกเปน 3 วิธี คือ การสงไป<br />

ขายฟารมเลี้ยงสัตว<br />

(Animal Feeding) การนําไปผลิตปุยชีวภาพ<br />

(Compost) และ การสงไปโรงหมักกาซชีวภาพ (Biogas) สวนเศษที่เหลือ<br />

เมื่อไมสามารถนําไปผลิตกิจกรรมอื่นแลวจะถูกสงไปกําจัดทิ้ง<br />

รูปที<br />

่ 3. โครงขายการดึงผลิตภัณฑกลับคืนผลิตภัณฑไมคงทน: ผลิตภัณฑ<br />

อาหารประเภทผักสด [ปรับปรุงแนวคิดจาก Khoo และคณะ (2553)]

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!