30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ที่เกี่ยวของ<br />

(Product Recovery and Related Activities) และการ<br />

เปรียบเทียบโครงขายการดึงผลิตภัณฑกลับคืน (Comparison of Product<br />

Recovery Network)<br />

2.1 การจัดการขนสงไปขางหนาและยอนกลับ<br />

Rogers และ Tibben-Lembke ไดเปรียบเทียบการขนสงไป<br />

ขางหนาและการขนสงยอนกลับ โดยอางจาก The Council of Logistics<br />

Management ไวดังนี้<br />

การขนสงไปขางหนา หมายถึง กระบวนการ<br />

วางแผน การนําไปใชงาน และการควบคุมประสิทธิภาพ ตนทุนการไหล<br />

ของวัตถุดิบ งานระหวางผลิต สินคาสําเร็จรูป และขอมูลอื่นๆที่เกี่ยวของ<br />

จากจุดเริ่มตนถึงจุดการบริโภค<br />

โดยมีวัตถุประสงคเพื่อตอบสนองความ<br />

ตองการผูบริโภค<br />

ในขณะที่การขนสงยอนกลับจะรวมกิจกรรมทั้งหมดที่<br />

คลายกับการขนสงไปขางหนาแตเปนไปในทิศทางตรงขาม คือ พิจารณา<br />

กระบวนการเหมือนการขนสงไปขางหนา แตทิศทางเริ่มพิจารณาจากจุด<br />

ที่มีการบริโภคกลับไปจุดเริ่มตนการขนสงเพื่อประเมินมูลคาสินคาสิ้น<br />

อายุการใชงาน หรือ การกําจัดทิ้ง<br />

(Disposal) อยางเหมาะสม [5]<br />

การจัดการขนสงยอนกลับนี้นับวาเปนกิจกรรมสําคัญของการ<br />

จัดการโซอุปทาน [6] ในประเทศสหรัฐอมริกา ป พ.ศ. 2551 พบวา มูลคา<br />

การขนสงคิดเปนประมาณ 9 เปอรเซ็นตของผลิตภัณฑมวลรวมประเทศ<br />

และการขนสงยอนกลับมีสัดสวนเพียง 5-6 เปอรเซ็นตของมูลคาการ<br />

ขนสงทั้งหมด<br />

แตคิดเปนมูลคาถึง 60-70 พันลานเหรียญสหรัฐฯ [7] ป<br />

พ.ศ. 2551 มีนักวิจัยได ศึกษาเปรียบเทียบตนทุนการขนสง (Logistics<br />

Cost) ระหวางประเทศจีนกับประเทศสหรัฐอเมริกา สรุปวา ประเทศจีนมี<br />

ตนทุนการขนสงประมาณ 18% ของผลิตภัณฑมวลรวม ซึ่งสูงกวา<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกาถึง 2 เทา นั่นคือประเทศสหรัฐอเมริกา<br />

มีตนทุนการ<br />

ขนสงประมาณ 9% ของผลิตภัณฑมวลรวม [8] ป พ.ศ. 2553 มีรายงานวา<br />

ตนทุนการขนสงของประเทศไทยมีมูลคา ประมาณ 18.6% ของผลิตภัณฑ<br />

มวลรวม [9] ซึ่งสูงมากเมื่อเทียบกับประเทศอุตสาหกรรมอยางประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกา ป พ.ศ.2540 ในประเทศสหรัฐอเมริกาไดมีการประมาณ<br />

การตนทุนการขนสงยอนกลับไวที่<br />

0.5% ของผลิตภัณฑมวลรวม หรือคิด<br />

เปนมูลคาถึง 35 พันลานเหรียญดอลลารสหรัฐฯ [5] นับวามีแนวโนม<br />

เพิ่มขึ้นเกือบหนึ่งเทา<br />

เมื่อเทียบกับป<br />

พ.ศ.2551<br />

ถึงแมมูลคาการขนสงยอนกลับยังมีปริมาณไมสูงมากเมื่อเทียบ<br />

กับการขนสงทั้งหมด<br />

แตการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการขนสงยอนกลับมีการ<br />

ดําเนินการอยางตอเนื่อง<br />

เนื่องจากสินคาสิ้นอายุการใชงานหรือไม<br />

สามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคไดแลว<br />

นั้นหากไมมีการ<br />

กําจัด หรือดึงผลิตภัณฑกลับคืนมาใชอยางเปนระบบ จะสงผลตอ<br />

สภาพแวดลอมของโลกและรวมถึงสุขภาพของประชากรโลก ที่ยังไม<br />

สามารถประเมินคาเปนตัวเลขได [10]<br />

2.2 การดึงผลิตภัณฑกลับคืนและกิจกรรมที่เกี่ยวของ<br />

การดึงผลิตภัณฑกลับคืนจากผลิตภัณฑสิ้นอายุการใชงานเปน<br />

กิจกรรมที่สําคัญหนึ่งของการขนสงยอนกลับ<br />

ซึ่งหากผูผลิตมีการพิจารณา<br />

125<br />

และนํากิจกรรมเหลานี้มาใชในองคกร<br />

จะชวยสนับสนุนการดึงผลิตภัณฑ<br />

กลับคืนไดมูลคามากขึ้น<br />

และ อาจหมายถึงชวยเพิ่มกําไรใหองคกร<br />

หรือ<br />

หมายถึง ภาพลักษณขององคกรตอสังคมในการมีสวนรวมในการรักษา<br />

สิ่งแวดลอม<br />

กิจกรรมเหลานี้ประกอบดวย<br />

5 กิจกรรม หลักคือ การใชซ้ํา<br />

(Reuse) การตกแตงใหม (Refurbishing) การผลิตซ้ํา<br />

(Remanufacturing)<br />

การหมุนเวียนใชซ้ํา<br />

(Recycling) และ การกําจัดทิ้ง<br />

(Disposal) ซึ่งแสดง<br />

ในรูปที่<br />

1<br />

Ravi และคณะ ไดอางอิงความหมายของกิจกรรมการดึง<br />

ผลิตภัณฑกลับคืน จาก Carter และ Ellram ซึ่งอธิบายไวในป<br />

2541 ดังนี้<br />

กิจกรรมเหลานี้จะเรียงลําดับความสําคัญจากมากสุดไปถึงนอยสุด<br />

[11]<br />

เริ่มดวยกิจกรรม<br />

การใชซ้ํา<br />

หมายถึง การใชสินคา หรือ วัสดุซ้ํา<br />

โดย<br />

ตองการพลังงานในการปรับปรุงนอย ตัวอยางเชน คอนเทนเนอรที่ใชซ้ํา<br />

ได [12] โดยสวนใหญมักเปนสินคาประเภทบรรจุภัณฑ กิจกรรมสําคัญ<br />

รองลงมาคือ การตกแตงใหม หมายถึง การปรับปรุงสินคาสิ้นอายุ<br />

โดย<br />

การเปลี่ยนบางชิ้นสวนของผลิตภัณฑ<br />

และ ตกแตงทาสี หรือขัดสินคาให<br />

ดูใหม มักใชกับผลิตภัณฑที่มีมูลคาสูง<br />

สวนการผลิตซ้ํา<br />

กิจกรรมนี้จะมี<br />

ขั้นตอนการถอดแยก<br />

การเปลี่ยน<br />

หรือซอมชิ้นสวนประกอบโดยที่ใช<br />

พลังงานในการปรับปรุงมากกวาการตกแตงใหม เชน สินคาอุปกรณ<br />

เครื่องจักร<br />

[13] สวน กิจกรรมที่สําคัญรองลงมา<br />

คือ การหมุนเวียนใชซ้ํา<br />

หมายถึง การหมุนเวียนกลับไปเปนวัสดุตั้งตนในการผลิตใหม<br />

เชน การ<br />

หมุนเวียนใชซ้ําเศษเหล็ก<br />

[14] การหมุนเวียนใชซ้ํากระดาษ<br />

[15]<br />

ทางเลือกสุดทายคือการกําจัดทิ้งเมื่อไมสามารถดึงผลิตภัณฑกลับคืน<br />

ไดอีก<br />

รูปที่<br />

1. ลําดับความสําคัญของกิจกรรมในการดึงผลิตภัณฑกลับคืน<br />

[ปรับปรุงจาก Ravi และคณะ (2551)]<br />

การเลือกใชกิจกรรมเหลานี้มีความแตกตางกันตามลักษณะ<br />

ของผลิตภัณฑที่เกี่ยวของ<br />

บางผลิตภัณฑสามารถเลือกใชไดบางกิจกรรม<br />

เทานั้น<br />

ในหัวขอถัดไปเราจะอธิบายเปรียบเทียบความแตกตาง ระหวาง<br />

ผลิตภัณฑคงทน และ ผลิตภัณฑไมคงทน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!