30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

S ราคากากถั่งเหลือง<br />

(บาท/กิโลกรัม)<br />

t ชวงเวลาในการคํานวณราคา เริ่มที่<br />

พ.ศ.2545 =<br />

1(t=1,2,3,…)<br />

4.1.4 สมการเปาหมายของราคาสุกร<br />

เปนสมการที่สรางขึ้นดวยการนําขอมูลจริงที่ไดมาหา<br />

ความสัมพันธของสมการดวยวิธีการถดถอยเชิงเสน (Linear regression)<br />

เพื่อหาราคาสุกร<br />

โดย log(P) ขึ้นอยูกับ<br />

ปริมาณสุกรขุน (Q) ราคาขาวโพด<br />

(C) ราคากากถั่งเหลือง<br />

(S) และชวงเวลาในการคํานวณราคา (t) จะได<br />

สมการดังนี้<br />

Log(P) = 5.024-0.601Log(Q)-0.033C+0.011S+0.041t+error<br />

(1)<br />

4.2 รูปแบบทางคณิตศาสตรการแกปญหาความตองการสุกร<br />

เนื่องจากการคาดเดาความตองการบริโภคสุกรเปนไปไดยาก<br />

ทําใหเกษตรกรผูเลี้ยงสุกรไมสามารถผลิตสุกรไดตรงตามความตองการ<br />

ในการบริโภคสุกรไดเพราะสุกรมีวัฎจักรชีวิตที่ยาว<br />

เมื่อไมสามารถผลิต<br />

ไดตรงตามความตองการก็ทําใหราคามีความไมแนนอน จึงจําเปนในการ<br />

ที่จะแกไขปญหาความตองการบริโภคสุกร<br />

ซึ่งปจจัยที่มีผลตอความ<br />

ตองการบริโภคสุกรที่นํามาคิดไดแก<br />

ราคาสุกร จํานวนประชากร และ<br />

ผลิตภัณฑมวลรวม ซึ่งทั้งหมดลวนมีผลตอการแกไขปญหาความตองการ<br />

บริโภคสุกรทั้งสิ้น<br />

โดยไดนําขอมูลจริงเหลานี้<br />

7 ปยอนหลังมาเพื่อ<br />

วิเคราะหหาสมการทางคณิตศาสตรเพื่อแกไขปญหาการบริโภคสุกร<br />

4.2.1 สมมุติฐานของปญหา<br />

1. ความตองการบริโภคสุกรตองสัมพันธกับ ราคาสุกร<br />

ปริมาณประชากร และ ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ<br />

4.2.2 พารามิเตอร<br />

Q ปริมาณสุกรขุนในชวงเวลา 1 ชวงเวลา<br />

GDP ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (ลานบาท)<br />

Pop จํานวนประชากร (คน)<br />

4.2.3 ตัวแปรตัดสินใจ<br />

P ราคาสุกรในชวงเวลา 1 ชวงเวลา<br />

4.2.4 สมการเปาหมายของความตองการสุกร<br />

เปนสมการที่สรางขึ้นดวยการนําขอมูลจริงที่ไดมาหา<br />

ความสัมพันธของสมการดวยวิธีการถดถอยเชิงเสน(Linear regression)<br />

117<br />

เพื่อหาราคาสุกร<br />

โดย log(Q) ขึ้นอยูกับ<br />

ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ<br />

(GDP) จํานวนประชากร (Pop) และ ราคาสุกร(P) จะไดสมการดังนี้<br />

Log(Q)<br />

5. ผลลัพธ<br />

= 10.280+0.837Log(GDP)-1.268Log(Pop)-<br />

0.002P+error (2)<br />

ในการทดสอบวิเคราะหหาความสัมพันธโดยการจําลองพลวัต<br />

ระบบโดยที่พิจารณาสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาทั้งอุปสงคและอุปทาน<br />

ตัวอยางเชน การเกิดโรคระบาดที่อาจเกิดจากสภาพแวดลอมที่ไม<br />

เหมาะสม คอกไมสะอาดไมถูกสุขอนามัย หรือเกิดการติดเชื้อจาก<br />

ภายนอกทั้งในแมสุกร<br />

หรือลูกสุกรอาจเปนสาเหตุทําใหเกิดอัตราการตาย<br />

เพิ่มสูงขึ้นไดเชนกัน<br />

ซึ่งเมื่อเราทําใหสุกรกอนหยานม(Prewean<br />

dead) มี<br />

อัตราการตายเพิ่มสูงขึ้น<br />

ทําใหราคาสุกรเพิ่มมากขึ้น<br />

ดังแสดงในรูปที่<br />

3<br />

รูปที่<br />

3 แผนภูมิเปรียบเทียบราคาสุกรที่เกิดจากผลทบตอความแปรปรวน<br />

ของอัตราการตายของลูกสุกรกอนหยานมในระดับพันธุแทจริง<br />

ผลกระทบของราคาสุกรหลังจากมีความแปรปรวนของของ<br />

อัตราการตายของลูกสุกรกอนหยานมในระดับพันธุแทจริง(Great<br />

Grand<br />

Parent, GGP) ในฟารมตัวอยางที่<br />

1 ที่<br />

7%, 20%, 30% และ 40% และ<br />

ไดผลของราคาคือ 56.77, 57.51, 58.1 และ 58.7 บาทตอกิโลกรัม<br />

ตามลําดับ แสดงใหเห็นวาราคาจะเพิ่มสูงขึ้นเมื่ออัตราการตายของลูกสุกร<br />

กอนหยานมเพิ่มขึ้น<br />

ซึ่งในตัวอยางที่เกิดอัตราการตายเปน<br />

7% จะเห็น<br />

ความแตกตางของผลในสัปดาหที่<br />

5 และมีการแกวงของกราฟราคา<br />

เนื่องจากคาของปริมาณยังไมคงที่<br />

และเริ่มคงที่ที่สัปดาหที่<br />

60<br />

6. อธิบาย<br />

แนวคิดของงานวิจัยนี้เปนประโยชนในการจัดการกับการ<br />

วางแผนระดับอุปสงคไดอยางทันเวลา โดยที่มีการวางแผนในสวนของ<br />

การวิเคราะหอุปสงคและอุปทานของสุกรตองมีความสัมพันธกัน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!