30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

และปญหาดานสุขอนามัย ทําใหประเทศผูบริโภคเนื้อสุกรเปลี่ยนการ<br />

สั่งซื้อมายังประเทศที่สามารถผลิตเนื้อสุกรไดตามปริมาณความตองการ<br />

และไดตามมาตรฐานดานสุขอนามัย ซึ่งประเทศไทยก็จัดอยูในกลุม<br />

ประเทศเหลานี้<br />

ผลกระทบจากความผันผวนของระดับอุปสงคเนื้อสุกรทั้ง<br />

ในและตางประเทศดังกลาวไดสงผลกระทบเปนอยางยิ่งตอระดับอุปทาน<br />

ในประเทศ เมื่อระดับปริมาณความตองการเพิ่มมากขึ้นแตปริมาณการ<br />

ผลิตไมสามารถผลิตไดเพียงพอกับความตองการของผูบริโภคอยาง<br />

ทันทวงทีตามระดับความตองการที่เพิ่มสูงขึ้น<br />

ดวยขอจํากัดหลายๆ<br />

ประการ เชน ระยะเวลาในการเลี้ยงสุกร<br />

ปริมาณอาหารสุกร และ จํานวน<br />

ลูกสุกร เปนตน<br />

ปญหาที่เกิดกับอุตสาหกรรมการผลิตสุกรที่พบเปนประจําคือ<br />

ปญหาเรื่องวัฎจักรสุกร<br />

ซึ่งเปนปญหาที่เกิดจากการที่เกษตรกรผูเลี้ยงสุกร<br />

มองราคาเฉพาะหนา เปนตัวตัดสินใจในการเพิ่มหรือลดปริมาณในการ<br />

ผลิตสุกร ทําใหไมสามารถที่จะวางแผนการผลิตสุกรใหตรงตามความ<br />

ตองการของตลาดไดจึงทําใหสุกรที่ผลิตออกมาไมสม่ําเสมอจนทําให<br />

ราคาไมแนนอน ถาหากมีการผลิตสุกรในปริมาณมาก ทําใหมีความ<br />

ตองการอาหารสุกรมากขึ้นแตมีการผลิตอาหารสัตวเทาเดิม<br />

จะทําให<br />

อาหารสัตวมีราคาสูงและสงผลใหสุกรมีราคาแพงขึ้น<br />

จากการวิเคราะหราคาสุกรตั้งแตปพ.ศ.<br />

2545-2552 จะพบวามี<br />

ความแปรปรวนของราคาอยางตอเนื่องราคาต่ําสุด<br />

32.81 บาทตอกิโลกรัม<br />

ที่ป<br />

พ.ศ. 2546 และในปตอมาไดขึ้นไปสูงถึง<br />

44.95 บาทตอกิโลกรัม และ<br />

มีแนวโนมที่ราคาจะสูงขึ้น<br />

ดังแสดงในรูปที่<br />

1<br />

รูปที่<br />

1 กราฟราคาของสุกรบาทตอกิโลกรัมตั้งแตป<br />

พ.ศ. 2545-2552<br />

(ที่มา:<br />

จากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1 )<br />

งานวิจัยนี้ดําเนินการโดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางแบบจําลอง<br />

วิเคราะหความสัมพันธของอุปสงคและอุปทานโดยวิธีการทางพลวัต<br />

ระบบ สรางสถานการณตางๆใหใกลเคียงความเปนจริงเพื่อที่จะไดมีการ<br />

วางแผนลวงหนา ปจจัยที่มีผลทําใหอุปสงคของเนื้อสุกรมีการ<br />

115<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

เชน ภัยธรรมชาติ เทศกาลตรุษจีน โรคไขหวัดนก ตนทุน<br />

อาหารสัตว จํานวนประชากร เปนตน ซึ่งเมื่ออุปสงคมีการเปลี่ยนแปลง<br />

เราสามารถยอนกลับไปแกไขและวางแผนตลอดหวงโซอุปทานได หรือ<br />

เมื่อเกิดวิกฤติขึ้นกับหวงโซอุปทานเชน<br />

ลูกสุกรเกิดโรค ไฟไหมโรงเลี้ยง<br />

เปนตน ก็สามารถกําหนดอุปสงคและหาแนวทางแกไขไดทันทวงที<br />

2. ทบทวนวรรณกรรม<br />

การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับงานวิจัยมีดังนี้<br />

Choi<br />

และ Sosin [2] ไดทําการศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงรสนิยมของผูบริโภค<br />

ในอุปสงคของเนื้อสัตว<br />

ซึ่งไดขยายทฤษฏีการผลิตในเรื่องการ<br />

เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี<br />

โดยใหมีการเปลี่ยนแปลงโครงสราง<br />

แสดงโดย<br />

การเปลี่ยนแปลงไปของเวลาซึ่งอยูในรูป<br />

Multiplicative Terms ภายใต<br />

ขอจํากัดของ Utility Function เปนขอมูลดัชนีตอหัวในดานปริมาณของ<br />

เนื้อแดง<br />

สัตวปก และอาหารอื่นๆ<br />

ผลการศึกษาพบวามีการเปลี่ยนแปลง<br />

โครงสรางในการบริโภคเนื้อแดง<br />

คาประมาณการบริโภคตอหัวของเนื้อ<br />

แดงลดลงรอยละ 13.5 ในสัตวปกคอนขางคงที่<br />

และในสินคาอื่นๆจะ<br />

เพิ่มขึ้น<br />

สวนความสัมพันธของอุปสงคและอุปทาน Goldstein and Khan<br />

[3]ไดศึกษาความยืดหยุนของราคาตอทั้งอุปสงค<br />

และอุปทานการสงออก<br />

โดยใชขอมูลรายไตรมาส (quarterly data) ของการสงออกเฉพาะประเทศ<br />

อุตสาหกรรม 8ประเทศไดแก เบลเยี่ยม<br />

ฝรั่งเศส<br />

เยอรมัน อิตาลี ญี่ปุน<br />

เนเธอรแลนด สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยใชสมการอุปสงค<br />

และอุปทานการสงออกอยางงายโดยแบงการศึกษาเปน 2 สวน คือ สวน<br />

แรกศึกษาดานรูปแบบดุลยภาพ (equilibrium model) มีขอสมมุติฐานวา<br />

ไมมีความลาชาในระบบ และในสวนที่<br />

2 ศึกษาดานรูปแบบไมมีดุลยภาพ<br />

(disequilibrium model) โดยมีขอสมมุติฐานวามีความลาชาในระบบ<br />

การศึกษาในสวนที่<br />

2 นี้<br />

เพื่อศึกษาพฤติกรรมของราคา<br />

และปริมาณการ<br />

สงออกที่อาจเกิดขึ้นไดในกรณีที่มีอุปสงคสวนเกินและอุปทานสวนเกิน<br />

ในสถานการณจริง Kunova and Bielik [4] ไดทําการศึกษาเกี่ยวกับปจจัย<br />

ที่มีผลกระทบตอความตองการบริโภคเนื้อสัตว<br />

ดวยวิธีการวิเคราะห<br />

ระบบสมการโดยใชวิธีการถดถอย (Regression) ปจจัยที่มีผลตออัตราการ<br />

บริโภคเนื้อสัตวคือ<br />

ราคาเนื้อสัตว(เนื้อสุกร<br />

เนื้อวัว<br />

และเนื้อสัตวปก)<br />

แนวโนมของการเกิดโรคระบาด และที่สําคัญอัตราการบริโภคเนื้อสัตวก็<br />

มีผลตอราคาเนื้อสัตว<br />

ดวยเชนกัน โดยงานวิจัยนี้มีการยึดผลกระทบแตละ<br />

ตัวที่จะมีผลกระทบตอการบริโภคเนื้อสัตวสําหรับแบบจําลอง<br />

สถานการณเนื้อสัตวใหคงที่<br />

เพื่อหาวาปจจัยใดบางที่มีผลกระทบตอการ<br />

บริโภคเนื้อสัตว<br />

และในสวนของการพลวัตระบบ Alexandre [5] ไดทํา<br />

การวิเคราะหระบบของ System Dynamics, (SD) ในการจัดโครงการ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!