ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

เงื่อนไขเอกพันธ (Homogeneity) n ∑ γ 0 j 1 ij = = เงื่อนไขสมมาตร (Symmetry) γij = γ ji (4) จากสมการแบบจําลองและเงื่อนไขตางๆ จะนําไปประมาณคา สัมประสิทธิ์ไดโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปคํานวณทางสถิติ ความยืดหยุน ของความตองการจัดสงจําหนายผลิตภัณฑตางๆจากแบบจําลอง LIDS หาไดโดยนําคาสัมประสิทธิ์ของแบบจําลองที่ได มาใชในการคํานวณหา คาความยืดหยุนของผลิตภัณฑตางๆ ดังสมการ (5) เงื่อนไข γ w ii j εij = −βj − δij (5) wi wi δ ij = 1 ; i=j ij 1 δ ≠ ; otherwise จากคาความยืดหยุน โดยความหมายของคาความยืดหยุน คือ เปอรเซ็นต การเปลี่ยนแปลงของราคาตอเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณตาม สมการที่ (6) ∆p ij q jk ε ijk = × ∆q jk p ik ซึ่งคา ε ijk ที่มีคาเปนบวก หมายถึง ราคาและปริมาณจะมี แนวโนมในทิศทางเดียวกันคือถาปริมาณเพิ่มมากขึ้นจะทําใหราคาเพิ่ม มากขึ้นดวยคา (3) (6) ε ijk ที่มีคาเปนลบ หมายถึง ราคาและปริมาณจะมี แนวโนมในทิศทางตรงกันขาม คือ ถาปริมาณเพิ่มมากขึ้นจะทําใหราคา ลดลง สวนคา ε ijk ที่มีคาเปนศูนย หมายถึง ราคาและปริมาณจะไมมีผล ตอกัน ตัวอยางคาความยืดหยุนดังตารางที่ 1 หลังจากทราบความหมาย ของคาความยืดหยุนจึงนํามาหาความสัมพันธที่สามารถใชในการกําหนด ราคาผลิตภัณฑ ไดสมการของราคาที่เกิดจากคาความยืดหยุนดังนี้ p iik p µ jk q jk q jk - ε ijk ( q jk - q µ jk ) = ; i = j (7) p µ jk q jk p ijk = q jk −ε ijk ( q jk −q µ jk ) ; i ≠ j (8) p ik = p iik + ∑ ∆p jk (9) n P ik = P iik + ∑ ( P P ) i 1 ijk − = µ jk (10) โดย สมการ (7) เปนสมการราคาขายของผลิตภัณฑ i ที่มีตอ ผลิตภัณฑ i สมการ (8) เปนสมการราคาขายของผลิตภัณฑ j ที่มีตอ 110 ผลิตภัณฑ i สมการ (9) ถึง (10) เปนสมการราคาขายผลิตภัณฑ i ของ ตลาด k ซึ่งเกิดจากราคาขายของผลิตภัณฑ i ที่มีตอผลิตภัณฑ i ของตลาด k รวมกับผลรวมของผลตางราคาขายผลิตภัณฑ j ที่มีตอผลิตภัณฑ i ของ ตลาด k กับราคาขายเฉลี่ยของผลิตภัณฑ j ของตลาด k 4. ลักษณะปญหาและขอบเขตการแกปญหา วิธีวิจัยในการจัดการปญหาการกําหนดปริมาณการขายและ ราคาขายของผลิตภัณฑประสมจากไก โดยการพัฒนารูปแบบทาง คณิตศาสตรในการแกปญหาเปนวิธีทําไดใหรายไดโดยรวมสูงที่สุด และ มีลักษณะปญหาการจัดจําหนายจะตองจัดจําหนายใหหมดภายใตระดับ อุปทานที่มีจํากัด และปริมาณความตองการของแตละตลาดมีความ ตองการชนิดของผลิตภัณฑที่ไมเทากันและปริมาณที่ไมเทากัน วัตถุประสงคของปญหาจะพิจารณาปริมาณการขายและราคาขายของ ผลิตภัณฑที่จัดจําหนายใหกับทุกผลิตภัณฑและทุกตลาด เพื่อใหเกิด รายไดรวมจากการจําหนายสูงสุดนี้คือตองพิจารณาวาจะจัดจําหนาย ผลิตภัณฑไหนปริมาณเทาไหรใหกับตลาดอะไรในราคาเทาไหรเพื่อให เพียงพอตอความตองการของทุกตลาด ซึ่งรูปแบบทางคณิตศาสตรมี รายละเอียดการศึกษาดังนี้ 4.1 สมมติฐานที่ใชในการพิจารณา 1) ปริมาณการจัดจําหนายผลิตภัณฑตางๆตองจัดจําหนาย เทากับระดับอุปทานที่จํากัด 2) การกําหนดปริมาณการขายผลิตภัณฑ ต่ําสุดและสูงสุดของแตละตลาดใหถือวาเพียงพอตอความตองการของ ตลาดนั้นๆ 5. รูปแบบทางคณิตศาสตร ในการแกไขปญหาดวยรูปแบบทางคณิตศาสตรตองมีการ กําหนดปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับปญหาใหอยูในรูปของสัญลักษณเพื่อ นําไปใหในการสรางสมการและอสมการของรูปแบบปญหาทาง คณิตศาสตร โดยสัญลักษณที่ใชในการวางแผนการกําหนดปริมาณการ ขายและราคาขายของผลิตประสมจากไกมีดังนี้ 5.1 พารามิเตอร (Parameters) Oi คือ ปริมาณผลิตภัณฑที่ i ทั้งหมด (ตัน) Qμik คือ ปริมาณผลิตภัณฑเฉลี่ย i ของตลาด k (ตัน) Pμik คือ ราคาผลิตภัณฑเฉลี่ย i ของตลาด k (พันดอลลาร/ตัน) ε iik คือ คาความยืดหยุนผลิตภัณฑ i ตอผลิตภัณฑ i ของตลาด k ε ijk คือ คาความยืดหยุนผลิตภัณฑ i ตอผลิตภัณฑ j ของตลาด k LQik คือ ปริมาณที่กําหนดต่ําสุดของผลิตภัณฑ i ตลาด k ที่สามารถ ยอมรับได (ตัน) UQik คือ ปริมาณที่กําหนดสูงสุดของผลิตภัณฑ i ตลาด k ที่สามารถ ยอมรับได (ตัน)

เงื่อนไขเอกพันธ<br />

(Homogeneity)<br />

n<br />

∑ γ 0<br />

j 1<br />

ij<br />

=<br />

=<br />

เงื่อนไขสมมาตร<br />

(Symmetry)<br />

γij = γ ji<br />

(4)<br />

จากสมการแบบจําลองและเงื่อนไขตางๆ<br />

จะนําไปประมาณคา<br />

สัมประสิทธิ์ไดโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปคํานวณทางสถิติ<br />

ความยืดหยุน<br />

ของความตองการจัดสงจําหนายผลิตภัณฑตางๆจากแบบจําลอง LIDS<br />

หาไดโดยนําคาสัมประสิทธิ์ของแบบจําลองที่ได<br />

มาใชในการคํานวณหา<br />

คาความยืดหยุนของผลิตภัณฑตางๆ<br />

ดังสมการ (5)<br />

เงื่อนไข<br />

γ w<br />

ii j<br />

εij = −βj − δij<br />

(5)<br />

wi wi<br />

δ ij<br />

= 1<br />

; i=j<br />

ij<br />

1<br />

δ ≠ ; otherwise<br />

จากคาความยืดหยุน<br />

โดยความหมายของคาความยืดหยุน<br />

คือ เปอรเซ็นต<br />

การเปลี่ยนแปลงของราคาตอเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณตาม<br />

สมการที่<br />

(6)<br />

∆p<br />

ij<br />

q<br />

jk<br />

ε<br />

ijk<br />

= ×<br />

∆q<br />

jk<br />

p<br />

ik<br />

ซึ่งคา<br />

ε<br />

ijk ที่มีคาเปนบวก<br />

หมายถึง ราคาและปริมาณจะมี<br />

แนวโนมในทิศทางเดียวกันคือถาปริมาณเพิ่มมากขึ้นจะทําใหราคาเพิ่ม<br />

มากขึ้นดวยคา<br />

(3)<br />

(6)<br />

ε<br />

ijk<br />

ที่มีคาเปนลบ<br />

หมายถึง ราคาและปริมาณจะมี<br />

แนวโนมในทิศทางตรงกันขาม คือ ถาปริมาณเพิ่มมากขึ้นจะทําใหราคา<br />

ลดลง สวนคา ε<br />

ijk<br />

ที่มีคาเปนศูนย<br />

หมายถึง ราคาและปริมาณจะไมมีผล<br />

ตอกัน ตัวอยางคาความยืดหยุนดังตารางที่<br />

1 หลังจากทราบความหมาย<br />

ของคาความยืดหยุนจึงนํามาหาความสัมพันธที่สามารถใชในการกําหนด<br />

ราคาผลิตภัณฑ ไดสมการของราคาที่เกิดจากคาความยืดหยุนดังนี้<br />

p iik<br />

p<br />

µ jk<br />

q<br />

jk<br />

q<br />

jk<br />

- ε<br />

ijk<br />

( q<br />

jk<br />

- q<br />

µ jk<br />

)<br />

= ; i = j<br />

(7)<br />

p<br />

µ jk<br />

q<br />

jk<br />

p<br />

ijk<br />

=<br />

q<br />

jk<br />

−ε ijk<br />

( q<br />

jk<br />

−q<br />

µ jk<br />

)<br />

; i ≠ j (8)<br />

p<br />

ik<br />

= p<br />

iik<br />

+ ∑ ∆p<br />

jk<br />

(9)<br />

n<br />

P<br />

ik<br />

= P<br />

iik<br />

+ ∑ ( P P )<br />

i 1<br />

ijk<br />

−<br />

= µ jk<br />

(10)<br />

โดย สมการ (7) เปนสมการราคาขายของผลิตภัณฑ i ที่มีตอ<br />

ผลิตภัณฑ i สมการ (8) เปนสมการราคาขายของผลิตภัณฑ j ที่มีตอ<br />

110<br />

ผลิตภัณฑ i สมการ (9) ถึง (10) เปนสมการราคาขายผลิตภัณฑ i ของ<br />

ตลาด k ซึ่งเกิดจากราคาขายของผลิตภัณฑ<br />

i ที่มีตอผลิตภัณฑ<br />

i ของตลาด<br />

k รวมกับผลรวมของผลตางราคาขายผลิตภัณฑ j ที่มีตอผลิตภัณฑ<br />

i ของ<br />

ตลาด k กับราคาขายเฉลี่ยของผลิตภัณฑ<br />

j ของตลาด k<br />

4. ลักษณะปญหาและขอบเขตการแกปญหา<br />

วิธีวิจัยในการจัดการปญหาการกําหนดปริมาณการขายและ<br />

ราคาขายของผลิตภัณฑประสมจากไก โดยการพัฒนารูปแบบทาง<br />

คณิตศาสตรในการแกปญหาเปนวิธีทําไดใหรายไดโดยรวมสูงที่สุด<br />

และ<br />

มีลักษณะปญหาการจัดจําหนายจะตองจัดจําหนายใหหมดภายใตระดับ<br />

อุปทานที่มีจํากัด<br />

และปริมาณความตองการของแตละตลาดมีความ<br />

ตองการชนิดของผลิตภัณฑที่ไมเทากันและปริมาณที่ไมเทากัน<br />

วัตถุประสงคของปญหาจะพิจารณาปริมาณการขายและราคาขายของ<br />

ผลิตภัณฑที่จัดจําหนายใหกับทุกผลิตภัณฑและทุกตลาด<br />

เพื่อใหเกิด<br />

รายไดรวมจากการจําหนายสูงสุดนี้คือตองพิจารณาวาจะจัดจําหนาย<br />

ผลิตภัณฑไหนปริมาณเทาไหรใหกับตลาดอะไรในราคาเทาไหรเพื่อให<br />

เพียงพอตอความตองการของทุกตลาด ซึ่งรูปแบบทางคณิตศาสตรมี<br />

รายละเอียดการศึกษาดังนี้<br />

4.1 สมมติฐานที่ใชในการพิจารณา<br />

1) ปริมาณการจัดจําหนายผลิตภัณฑตางๆตองจัดจําหนาย<br />

เทากับระดับอุปทานที่จํากัด<br />

2) การกําหนดปริมาณการขายผลิตภัณฑ<br />

ต่ําสุดและสูงสุดของแตละตลาดใหถือวาเพียงพอตอความตองการของ<br />

ตลาดนั้นๆ<br />

5. รูปแบบทางคณิตศาสตร<br />

ในการแกไขปญหาดวยรูปแบบทางคณิตศาสตรตองมีการ<br />

กําหนดปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับปญหาใหอยูในรูปของสัญลักษณเพื่อ<br />

นําไปใหในการสรางสมการและอสมการของรูปแบบปญหาทาง<br />

คณิตศาสตร โดยสัญลักษณที่ใชในการวางแผนการกําหนดปริมาณการ<br />

ขายและราคาขายของผลิตประสมจากไกมีดังนี้<br />

5.1 พารามิเตอร (Parameters)<br />

Oi คือ ปริมาณผลิตภัณฑที่<br />

i ทั้งหมด<br />

(ตัน)<br />

Qμik คือ ปริมาณผลิตภัณฑเฉลี่ย<br />

i ของตลาด k (ตัน)<br />

Pμik คือ ราคาผลิตภัณฑเฉลี่ย<br />

i ของตลาด k (พันดอลลาร/ตัน)<br />

ε<br />

iik คือ คาความยืดหยุนผลิตภัณฑ<br />

i ตอผลิตภัณฑ i ของตลาด k ε<br />

ijk<br />

คือ คาความยืดหยุนผลิตภัณฑ<br />

i ตอผลิตภัณฑ j ของตลาด k LQik คือ ปริมาณที่กําหนดต่ําสุดของผลิตภัณฑ<br />

i ตลาด k ที่สามารถ<br />

ยอมรับได (ตัน)<br />

UQik คือ ปริมาณที่กําหนดสูงสุดของผลิตภัณฑ<br />

i ตลาด k ที่สามารถ<br />

ยอมรับได (ตัน)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!