ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

108 การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554 วันที่ 8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ การกําหนดราคาใหกับผลิตภัณฑประสมจากไกภายใตระดับของอุปทานที่จํากัด Price Determination on Product Mix from Chicken under the Capacitated Supply Level นาถนภา นาวาเรือน 1 ศุภชัย ปทุมนากุล 2 และ กัลปพฤกษ ผิวทองงาม 3 1, 2 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จ.ขอนแกน 40002 3 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแกน จ.ขอนแกน 40002 โทรศัพท 080-0064007 E-mail: 1 nardnapha@hotmail.com , 2 spathumn@gmail.com บทคัดยอ สินคาไกและผลิตภัณฑเปนสินคาที่มีลักษณะที่ขับเคลื่อนโดย อุปทาน (Supply push) เนื่องจากเมื่อเลี้ยงไกจนเติบโตไดระยะหนึ่งแลว จะตองนําไกเขาโรงเชือดและแปรรูป ไมสามารถจัดเก็บไวในคลังสินคา ในลักษณะของไกมีชีวิตได และเมื่อโรงเชือดทําการชําแหละไกก็จะได ชิ้นเนื้อหลักอยู 7-10 ชิ้น ดังนั้น เมื่อลูกคาสั่งซื้อเนื้อชิ้นใดชิ้นหนึ่งมาก เกินไปก็จะทําใหเกิดสินคาคงคลังของเนื้อสวนอื่นๆที่เหลือ กลยุทธของ บริษัทที่อยูในอุตสาหกรรมไกแปรรูปใชในอดีตก็คือการขายพวง เพื่อลด ปริมาณสินคาคงคลังของเนื้อชิ้นที่ไมมีคําสั่งซื้อ เมื่อภาวการณแขงขัน รุนแรงขึ้น บริษัทตองอํานวยความสะดวกใหลูกคา กลยุทธการขายพวง ดังกลาวจึงไมสามารถใชไดอีกตอไป การเปลี่ยนแปลงนี้เองทําใหบริษัท ตองวางกลยุทธใหมเพื่อผลักสินคาดังกลาวออกสูตลาดใหมีผลกําไรมาก ที่สุด งานวิจัยนี้ไดพัฒนาตัวแบบทางคณิตศาสตร (Mathematical model) มาใชในการเลือกตัดสินใจวาเมื่อมีสินคาผลิตภัณฑไกอยูในคลังจะทําการ เลือกชองทางการตลาดใดลูกคากลุมใดจึงจะมีผลกําไรมากที่สุด โดย ลักษณะเดนของตัวแบบคือการนําคาความยืดหยุนไปประมาณราคา นั่น หมายถึงหากผลักสินคาเขาสูตลาดใดตลาดหนึ่งมากเกินไปจะทําใหราคา ในตลาดนั้นตกลง แบบจําลองที่สรางขึ้นมานี้ใชในการพิจารณาปริมาณ และราคาที่เหมาะสมเพื่อใหฝายขายผลักผลิตภัณฑไกเขาสูตลาด แบบจําลองทางเศรษฐมิติ AIDS (Almost ideal demand systems) ไดถูก นํามาใชในการคํานวณคาความยืดหยุนสําหรับหาความสัมพันธระหวาง ปริมาณและราคาของแตละผลิตภัณฑ คําสําคัญ: การเลือกชองทางการตลาด, ความยืดหยุนของอุปสงค, ตัวแบบทางคณิตศาสตร, อุตสาหกรรมไก Abstract Poultry and poultry product is characterized as supply push system. That is because when the birds are raised up to the certain age, they have to be slaughtered and processed. The bird cannot be kept alive for indefinite. Usually a bird carcass can be cut up into 7-10 primal piece of meat. Hence, when customer place an order for certain cut, other cuts will remain in the cold storage. In the past, company used mixed product strategy and required customers to bundle certain quantity of other parts together with the part that customers wanted to lower the inventory level of unwanted parts. However, in a highly competitive environment, this strategy is no longer effective. Company needs to facilitate customer more. This change forces the company to find alternative to utilize their inventory while maximize their profit. In this study, a mathematical model is developed for marketing channel selection. The objective of the model is to identify quantity for each market channel such that the company’s profit is maximized. The model focuses on incorporating demand elasticity into determination of marketing channel. The law of demand suggested that if quantity supply exceed demand in any market price will go down. This model, hence, facilitate, sale department to determine appropriate supply quantity and price for each channel. An econometric model, Almost ideal demand systems was used to calculate demand elasticity or relationship between quantity and price of each product. คําสําคัญ: Market channel selection, demand elasticities, mathematical model, poultry industry 1. คํานํา ธุรกิจอุตสาหกรรมจากไกเปนอุตสาหกรรมที่สําคัญอยางหนึ่ง ของประเทศ ในการสงจําหนายผลิตภัณฑจากไกไปยังประเทศตางๆ สามารถนํารายไดเขาสูประเทศปละหลายหมื่นลานบาท ซึ่งในธุรกิจ อุตสาหกรรมจากไกนั้นจะมีการชําแหละไกเพื่อสงจําหนาย ในการ ชําแหละไกแตละตัวจะไดผลิตภัณฑหลายชนิด เชน เนื้ออก ปก สะโพก ขา เปนตน และในการจัดจําหนายใหกับลูกคาหากลูกคาสั่งซื้อผลิตภัณฑ ไกชนิดใดชนิดหนึ่งมากเกินไป จะทําใหเกิดสินคาคงคลังของผลิตภัณฑ ไกสวนอื่นๆที่เหลือ เชน หากลูกคาสั่งซื้อเฉพาะปก ก็จะมีเนื้อนอง อก และเนื้อสวนอื่นๆเหลือ ซึ่งเปนปญหาอยางมากในธุรกิจอุตสาหกรรมไก ซึ่งในอดีตกลยุทธของบริษัทที่อยูในอุตสาหกรรมไกแปรรูปคือการขาย

พวง คือ เมื่อลูกคาสั่งซื้อปกไกอยางเดียวบริษัทจะกําหนดวาจะตองซื้อ ขาไกไปดวยจํานวนหนึ่งไปดวย เพื่อลดปริมาณสินคาคงคลังของเนื้อชิ้น ที่ไมมีคําสั่งซื้อ แตในปจจุบันสภาวการณแขงขันทางธุรกิจรุนแรงขึ้น บริษัทตองอํานวยความสะดวกใหลูกคา กลยุทธการขายพวงจึงไม สามารถใชไดอีกตอไป ในการเปลี่ยนแปลงนี้เองจึงทําใหบริษัทตองวาง กลยุทธใหมเพื่อผลักสินคาดังกลาวออกสูตลาดใหมีผลกําไรมากที่สุด วิธีการอยางหนึ่งที่จะนําพาใหบริษัทมีผลกําไรมากที่สุด คือ กลยุทธใน การกําหนดราคา โดยใชหลักการของเศรษฐมิติ (Econometric) ซึ่งการ กําหนดราคานั้นไดมีความสัมพันธกับความตองการสินคา กลาวคือ เมื่อ เราผลักดันสินคาเขาสูตลาดใดตลาดหนึ่งในปริมาณที่มากเกินไปจะทําให ราคาสินคาในตลาดนั้นลดลง และในทางตรงกันขามหากจัดจําหนาย ผลิตภัณฑในราคาที่สูง จะทําใหปริมาณความตองการของตลาดนั้นลดลง ตามไปดวย ซึ่งลวนแตทําใหบริษัทไมไดรับกําไรสูงสุด ดังนั้นในการ แขงขันกันทางธุรกิจอุตสาหกรรม หากสามารถวางแผนกําหนดราคาขาย และปริมาณการขายใหกับแตละผลิตภัณฑเพื่อสงจําหนายใหกับตลาด ตางๆไดดี จะสงผลใหธุรกิจอุตสาหกรรมนั้นเกิดประโยชนหรือกําไร สูงสุด โดยงานวิจัยนี้มีเปาหมาย คือ จะกําหนดราคาขายและจัดสรรปน สวนปริมาณการขายผลิตภัณฑตางๆใหกับกลุมลูกคาเพื่อใหรายไดจาก การจําหนายโดยรวมสูงที่สุด และตัวอยางที่ใชในงานวิจัยนี้ คือ อุตสาหกรรมการผลิตสินคาจากไกของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งผลิต สินคาอยูหลายชนิด ไดแก เนื้อไกชิ้น, ขาไก, เนื้อไกแปรรูป, เนื้อไกแช แข็ง, ไสกรอกไกและอื่นๆ แตละผลิตภัณฑมีระดับอุปทานที่จํากัด ซึ่ง ผลิตภัณฑดังกลาวจะสงจําหนายใหกับกลุมลูกคาหรือตลาดตางๆที่ รองรับ ซึ่งไดแกกลุมตลาดของ East Asia, soviet, EU-27, North America, Caribbean และอื่นๆ โดยกลุมลูกคาตางๆจะมีความตองการที่ แตกตางกันไป 2. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ เนื่องจากงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดปริมาณและ ราคาผลิตภัณฑประสมโดยใชหลักการทางเศรฐมิติชวยในการแกปญหา ดังนั้นการทบทวนวรรณกรรมในงานวิจัยนี้ จึงแบงออกเปน 2 สวน ดังนี้ สวนแรกปญหาการกําหนดราคา ไดมีผูทําการกําหนดราคาสินคาใน รูปแบบตางๆ เชน Misshra [1] ทําการกําหนดราคาสินคาสําหรับรูปแบบ EOQ เพื่อวิเคราะหและคํานวณราคาสินคาตอหนวยของสินคาคงคลังที่ เปนแบบสินคาเนาเสียหรือเสื่อมสภาพ Gregorini, V.A. et al. [2] ไดทํา การกําหนดราคากาซไฮโดรเจนที่ผลิตจากไบโอเอทานอลในประเทศ อารเจนตินา โดยใชวิธี DOE (H2A) และ Fearne และ Ray [3] ไดศึกษา การกําหนดราคาในตลาดนมโคของสหราชอาณาจักร และไดวิเคราะห ปจจัยที่มีแนวโนมในการกําหนดราคาของนมโคในระยะยาว ทั้งแบบขาย ปลีกและขายสง เปนตน สวนที่สองแบบจําลองเศรษฐมิติ ไดมีผู ประยุกตใชแบบจําลองเศรษฐมิติในการวิเคราะหความตองการสินคา ตางๆมากมาย เชน Pazarlioglu et al.[4] ไดวิเคราะหความตองการน้ํานม 109 ดิบในตุรกี โดยใชแบบจําลองทางเศรษฐมิติสมการเชิงซอน และ Sumphunwathanchai [5] ไดวิเคราะหปจจัยตางๆที่มีผลตออุปทานของ สุกรในประเทศไทย และประมาณคาความยืดหยุนของอุปทานสุกรอัน เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของราคาสุกร และราคาเนื้อไก โดยใช วิธีการวิเคราะหสมการถดถอยเชิงซอน เปนตน นอกจากนี้ Moschini and Vissa [6] ยังไดทําการคิดคนแบบจําลองการประมาณการเชิงเสนของอุป สงคแบบผกผัน (linear inverse demand system : LIDS) ซึ่งพัฒนามาจาก รูปแบบ Almost Ideal Demand System (AIDS) ถูกคิดคนโดย Deaton and Muellbauer [7] โดยราคาเปนฟงกชันของปริมาณ เพื่อใชในการ วิเคราะหความตองการของผูบริโภค จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของพบวา สวนใหญเปน การศึกษาปญหาการกําหนดราคาผลิตภัณฑแบบตางๆ แตยังไมพบวามี งานวิจัยใดที่กําหนดปริมาณการขายและราคาขายของผลิตภัณฑประสม โดยใชหลักของเศรษฐมิติ ชวยในการแกปญหา ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุงเนน ในการสรางรูปแบบทางคณิตศาสตรที่ใชหลักการทางเศรษฐมิติ เพื่อให รายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑสูงที่สุด 3. แบบจําลองเศรษฐมิติ สําหรับการหาคาความยืดหยุนจะใชแบบจําลอง LIDS (linear inverse demand system) โดย Moschini G. และ Vissa A. [6] ซึ่งได พัฒนามาจากแบบจําลอง AIDS พัฒนาโดย Deaton และ Muellbauer [5] ซึ่งมีรูปแบบดังสมการ (1) โดย w i = αi + ∑ γ (ln q ) ln( Q*) j 1 ij j + β = i wi คือ สัดสวนคารายไดการจําหนายผลิตภัณฑ สําหรับผลิตภัณฑ i q j คือ ปริมาณสงออกของผลิตภัณฑ j Q* คือ ดัชนีของปริมาณ คํานวณมาจาก ln( Q*) = ∑ w ln( q ) α คือ สัมประสิทธิ์ของคาคงที่ของผลิตภัณฑ i i i i i β i คือ สัมประสิทธิ์ของปริมาณการสงจําหนายผลิตภัณฑ i γij คือ สัมประสิทธิ์ของปริมาณการสงจําหนายผลิตภัณฑ j ที่มีตอ ผลิตภัณฑ i i, j คือ ดัชนีของผลิตภัณฑ k คือ ดัชนีของกลุมตลาด การทดสอบเงื่อนไขของแบบจําลอง LIDS เนื่องจากวา ตองมี การกําหนดเงื่อนไขตางๆ ของทฤษฎีอรรถประโยชนลงในแบบจําลอง เพื่อใหแบบจําลองสอดคลองกับทฤษฎีผูบริโภค ดังในสมการที่ (3) และ (4) ดังนี้ เงื่อนไขผลรวม (Adding up) n n n ∑ α 1, 0, 0 1 i = ∑ β i i 1 i = ∑ γ i 1 ij = = = = (1) (2)

พวง คือ เมื่อลูกคาสั่งซื้อปกไกอยางเดียวบริษัทจะกําหนดวาจะตองซื้อ<br />

ขาไกไปดวยจํานวนหนึ่งไปดวย<br />

เพื่อลดปริมาณสินคาคงคลังของเนื้อชิ้น<br />

ที่ไมมีคําสั่งซื้อ<br />

แตในปจจุบันสภาวการณแขงขันทางธุรกิจรุนแรงขึ้น<br />

บริษัทตองอํานวยความสะดวกใหลูกคา กลยุทธการขายพวงจึงไม<br />

สามารถใชไดอีกตอไป ในการเปลี่ยนแปลงนี้เองจึงทําใหบริษัทตองวาง<br />

กลยุทธใหมเพื่อผลักสินคาดังกลาวออกสูตลาดใหมีผลกําไรมากที่สุด<br />

วิธีการอยางหนึ่งที่จะนําพาใหบริษัทมีผลกําไรมากที่สุด<br />

คือ กลยุทธใน<br />

การกําหนดราคา โดยใชหลักการของเศรษฐมิติ (Econometric) ซึ่งการ<br />

กําหนดราคานั้นไดมีความสัมพันธกับความตองการสินคา<br />

กลาวคือ เมื่อ<br />

เราผลักดันสินคาเขาสูตลาดใดตลาดหนึ่งในปริมาณที่มากเกินไปจะทําให<br />

ราคาสินคาในตลาดนั้นลดลง<br />

และในทางตรงกันขามหากจัดจําหนาย<br />

ผลิตภัณฑในราคาที่สูง<br />

จะทําใหปริมาณความตองการของตลาดนั้นลดลง<br />

ตามไปดวย ซึ่งลวนแตทําใหบริษัทไมไดรับกําไรสูงสุด<br />

ดังนั้นในการ<br />

แขงขันกันทางธุรกิจอุตสาหกรรม หากสามารถวางแผนกําหนดราคาขาย<br />

และปริมาณการขายใหกับแตละผลิตภัณฑเพื่อสงจําหนายใหกับตลาด<br />

ตางๆไดดี จะสงผลใหธุรกิจอุตสาหกรรมนั้นเกิดประโยชนหรือกําไร<br />

สูงสุด โดยงานวิจัยนี้มีเปาหมาย<br />

คือ จะกําหนดราคาขายและจัดสรรปน<br />

สวนปริมาณการขายผลิตภัณฑตางๆใหกับกลุมลูกคาเพื่อใหรายไดจาก<br />

การจําหนายโดยรวมสูงที่สุด<br />

และตัวอยางที่ใชในงานวิจัยนี้<br />

คือ<br />

อุตสาหกรรมการผลิตสินคาจากไกของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งผลิต<br />

สินคาอยูหลายชนิด<br />

ไดแก เนื้อไกชิ้น,<br />

ขาไก, เนื้อไกแปรรูป,<br />

เนื้อไกแช<br />

แข็ง, ไสกรอกไกและอื่นๆ<br />

แตละผลิตภัณฑมีระดับอุปทานที่จํากัด<br />

ซึ่ง<br />

ผลิตภัณฑดังกลาวจะสงจําหนายใหกับกลุมลูกคาหรือตลาดตางๆที่<br />

รองรับ ซึ่งไดแกกลุมตลาดของ<br />

East Asia, soviet, EU-27, North<br />

America, Caribbean และอื่นๆ<br />

โดยกลุมลูกคาตางๆจะมีความตองการที่<br />

แตกตางกันไป<br />

2. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ<br />

เนื่องจากงานวิจัยนี้<br />

มีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดปริมาณและ<br />

ราคาผลิตภัณฑประสมโดยใชหลักการทางเศรฐมิติชวยในการแกปญหา<br />

ดังนั้นการทบทวนวรรณกรรมในงานวิจัยนี้<br />

จึงแบงออกเปน 2 สวน ดังนี้<br />

สวนแรกปญหาการกําหนดราคา ไดมีผูทําการกําหนดราคาสินคาใน<br />

รูปแบบตางๆ เชน Misshra [1] ทําการกําหนดราคาสินคาสําหรับรูปแบบ<br />

EOQ เพื่อวิเคราะหและคํานวณราคาสินคาตอหนวยของสินคาคงคลังที่<br />

เปนแบบสินคาเนาเสียหรือเสื่อมสภาพ<br />

Gregorini, V.A. et al. [2] ไดทํา<br />

การกําหนดราคากาซไฮโดรเจนที่ผลิตจากไบโอเอทานอลในประเทศ<br />

อารเจนตินา โดยใชวิธี DOE (H2A) และ Fearne และ Ray [3] ไดศึกษา<br />

การกําหนดราคาในตลาดนมโคของสหราชอาณาจักร และไดวิเคราะห<br />

ปจจัยที่มีแนวโนมในการกําหนดราคาของนมโคในระยะยาว<br />

ทั้งแบบขาย<br />

ปลีกและขายสง เปนตน สวนที่สองแบบจําลองเศรษฐมิติ<br />

ไดมีผู<br />

ประยุกตใชแบบจําลองเศรษฐมิติในการวิเคราะหความตองการสินคา<br />

ตางๆมากมาย เชน Pazarlioglu et al.[4] ไดวิเคราะหความตองการน้ํานม<br />

109<br />

ดิบในตุรกี โดยใชแบบจําลองทางเศรษฐมิติสมการเชิงซอน และ<br />

Sumphunwathanchai [5] ไดวิเคราะหปจจัยตางๆที่มีผลตออุปทานของ<br />

สุกรในประเทศไทย และประมาณคาความยืดหยุนของอุปทานสุกรอัน<br />

เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของราคาสุกร<br />

และราคาเนื้อไก<br />

โดยใช<br />

วิธีการวิเคราะหสมการถดถอยเชิงซอน เปนตน นอกจากนี้<br />

Moschini and<br />

Vissa [6] ยังไดทําการคิดคนแบบจําลองการประมาณการเชิงเสนของอุป<br />

สงคแบบผกผัน (linear inverse demand system : LIDS) ซึ่งพัฒนามาจาก<br />

รูปแบบ Almost Ideal Demand System (AIDS) ถูกคิดคนโดย Deaton<br />

and Muellbauer [7] โดยราคาเปนฟงกชันของปริมาณ เพื่อใชในการ<br />

วิเคราะหความตองการของผูบริโภค<br />

จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของพบวา<br />

สวนใหญเปน<br />

การศึกษาปญหาการกําหนดราคาผลิตภัณฑแบบตางๆ แตยังไมพบวามี<br />

งานวิจัยใดที่กําหนดปริมาณการขายและราคาขายของผลิตภัณฑประสม<br />

โดยใชหลักของเศรษฐมิติ ชวยในการแกปญหา ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุงเนน<br />

ในการสรางรูปแบบทางคณิตศาสตรที่ใชหลักการทางเศรษฐมิติ<br />

เพื่อให<br />

รายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑสูงที่สุด<br />

3. แบบจําลองเศรษฐมิติ<br />

สําหรับการหาคาความยืดหยุนจะใชแบบจําลอง<br />

LIDS (linear<br />

inverse demand system) โดย Moschini G. และ Vissa A. [6] ซึ่งได<br />

พัฒนามาจากแบบจําลอง AIDS พัฒนาโดย Deaton และ Muellbauer [5]<br />

ซึ่งมีรูปแบบดังสมการ<br />

(1)<br />

โดย<br />

w<br />

i<br />

= αi + ∑ γ (ln q ) ln( Q*)<br />

j 1<br />

ij j<br />

+ β<br />

=<br />

i<br />

wi คือ สัดสวนคารายไดการจําหนายผลิตภัณฑ สําหรับผลิตภัณฑ i<br />

q j คือ ปริมาณสงออกของผลิตภัณฑ j<br />

Q* คือ ดัชนีของปริมาณ คํานวณมาจาก ln( Q*) = ∑ w ln( q )<br />

α คือ สัมประสิทธิ์ของคาคงที่ของผลิตภัณฑ<br />

i<br />

i<br />

i i i<br />

β i คือ สัมประสิทธิ์ของปริมาณการสงจําหนายผลิตภัณฑ<br />

i<br />

γij คือ สัมประสิทธิ์ของปริมาณการสงจําหนายผลิตภัณฑ<br />

j ที่มีตอ<br />

ผลิตภัณฑ i<br />

i, j คือ ดัชนีของผลิตภัณฑ<br />

k คือ ดัชนีของกลุมตลาด<br />

การทดสอบเงื่อนไขของแบบจําลอง<br />

LIDS เนื่องจากวา<br />

ตองมี<br />

การกําหนดเงื่อนไขตางๆ<br />

ของทฤษฎีอรรถประโยชนลงในแบบจําลอง<br />

เพื่อใหแบบจําลองสอดคลองกับทฤษฎีผูบริโภค<br />

ดังในสมการที่<br />

(3) และ<br />

(4) ดังนี้<br />

เงื่อนไขผลรวม<br />

(Adding up)<br />

n n n<br />

∑ α 1, 0, 0<br />

1<br />

i = ∑ β<br />

i i 1<br />

i = ∑ γ<br />

i 1<br />

ij =<br />

= = =<br />

(1)<br />

(2)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!