30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

กิโลกรัม จัดอยูในขนาด<br />

S3 ชวงน้ําหนัก<br />

113-117 กิโลกรัม จัดอยูใน<br />

ขนาด S4 และชวงน้ําหนัก<br />

118-122 กิโลกรัม จัดอยูในขนาด<br />

S5 จากนั้น<br />

สุกรจะถูกชําแหละออกเปนชิ้นเนื้อตางๆ<br />

ซึ่งเรียกวาเนื้อสวนหลัก<br />

(Primal<br />

Cut) ไดแก สะโพกหรือขาหลัง (Ham) สันใน (Tenderloin) สันนอก<br />

(Loin) คอหมู (Collar) สันคอหรือไหล (Shoulder) และเนื้อสวนทองหรือ<br />

สามชั้น<br />

(Belly) ซึ่งชิ้นเนื้อแตละสวนจะถูกจําแนกออกเปนขนาดตางๆ<br />

ตามขนาดของสุกรที่รับมา<br />

(S1, S2, S3, S4 หรือ S5) เพื่อแปรรูปเปน<br />

ผลิตภัณฑชนิดตางๆ ตามความตองการของลูกคาและในขั้นตอนตอมา<br />

โรงปรุงสุก (Cooked Factory) จะนําชิ้นเนื้อไปผลิต<br />

ซึ่งจํานวนสุกรในแต<br />

ละขนาดที่ถูกนํามาชําแหละนั้นมีจํานวนไมตรงตามความตองการของชิ้น<br />

เนื้อสวนตางๆ<br />

ในแตละขนาดของโรงปรุงสุก<br />

ในปจจุบันอุตสาหกรรมแปรรูปสุกรประสบปญหาจากความ<br />

แปรปรวนของขนาดปริมาณสุกร ซึ่งทําใหสงผลกระทบตอตนทุนรวม<br />

อันเนื่องมาจากตนทุนสินคาคงคลัง<br />

(Inventory Cost) มีคาสูงขึ้น<br />

อัน<br />

เนื่องมาจากมีปริมาณวัตถุดิบในคลังสินคามากขึ้น<br />

กอใหเกิดคาใชจาย<br />

สําหรับการจัดเก็บ ยกตัวอยางเชน เมื่อมีความตองการชิ้นเนื้อสันในขนาด<br />

S3 จํานวน 1 ชิ้นมาผลิตเปนผลิตภัณฑ<br />

จะตองทําการชําแหละสุกร 1 ตัว<br />

แตผลที่ไดจากการชําแหละสุกร<br />

1 ตัวนั้น<br />

กอใหเกิดชิ้นเนื้อขนาด<br />

S3 ที่ไม<br />

ตองการเกิดขึ้นในสวนของ<br />

สะโพกหรือขาหลัง สันนอก คอหมู สันคอ<br />

หรือไหลและเนื้อสวนทองหรือสามชั้น<br />

ซึ่งชิ้นเนื้อเหลานี้จะตองถูกเก็บ<br />

ในคลังสินคา กอใหเกิดคาใชจายเพิ่มขึ้นและตนทุนการผลิต<br />

(Production<br />

Cost) ประกอบดวยตนทุนการชําแหละสุกร (Slaughtering cost) ถา<br />

บริหารจัดการไมเหมาะสม ตัวอยางเชน การชําแหละสุกรมีจํานวนมาก<br />

เกินไปสงผลทําใหตนทุนการชําแหละสูงขึ้นและตนทุนวัตถุดิบ<br />

(Material<br />

cost) กรณีมีการนําชิ้นเนื้อสวนหลักขนาดใหญทดแทนขนาดเล็ก<br />

สงผล<br />

ทําใหตนทุนวัตถุดิบสูงขึ้น<br />

ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงทําการพัฒนาเครื่องมือที่ชวยในการวาง<br />

แผนการผลิตของโรงงานกรณีศึกษาโดยมีจุดมุงหมายเพื่อลดตนทุนรวม<br />

ระหวางโรงชําแหละและโรงปรุงสุกใหมีคาต่ําที่สุด<br />

ซึ่งตนทุนรวม<br />

ประกอบดวย ตนทุนสินคาคงคลังและตนทุนการผลิต ในงานวิจัยนี้ได<br />

กําหนดลําดับการวางแผนการผลิตมีขั้นตอนดังตอไปนี้<br />

คือ เริ่มตนจาก<br />

โรงปรุงสุกรับคําสั่งซื้อผลิตภัณฑจากลูกคา<br />

ตอมาจึงทําการคํานวณ<br />

ปริมาณเนื้อสวนหลักที่จะนําไปใชในการผลิตจากการโครงสรางของ<br />

ผลิตภัณฑ (Bill of material : BOM) ขั้นตอนตอไปจะทําการตรวจสอบวา<br />

ผลิตภัณฑตางๆ สามารถใชชิ้นเนื้อใดทดแทนกันไดหรือไม<br />

จากนั้นทํา<br />

การวางแผนความตองการเนื้อชิ้นสวนหลักจากปริมาณเนื้อชิ้นสวนหลักที่<br />

104<br />

ตองการ โดยตองพิจารณาถึงจํานวนสุกรที่สามารถนํามาชําแหละไดใน<br />

แตละชวงเวลา ขั้นตอนสุดทาย<br />

ใชรูปแบบทางคณิตศาสตร<br />

(Mathematical model) ที่พัฒนาขึ้นหาคําตอบที่ดีที่สุด<br />

โดยผลลัพธที่ได<br />

คือ จํานวนสุกรที่ตองการชําแหละในแตละขนาดและแผนการทดแทนชิ้น<br />

เนื้อ<br />

เพื่อประยุกตใชในการวางแผนการผลิต<br />

ดังแสดงในรูปที่<br />

1<br />

รูปที่<br />

1 แสดงลําดับขั้นตอนการวางแผนการผลิต<br />

2. ทบทวนวรรณกรรม<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการวางแผนการผลิตดวยการใชรูปแบบ<br />

ทางคณิตศาสตร โดยในป 2005 Spitter et al. [1] พัฒนาวิธีการตัวแบบ<br />

กําหนดการเชิงเสน (Linear Programming models) ในการแกปญหาการ<br />

วางแผนดวยเวลานําของการผลิตในหวงโซอุปทาน ภายใตเงื่อนไข<br />

ขอจํากัดดานปริมาณการผลิต ซึ่งแกปญหาโดยใชตัวแบบกําหนดการเชิง<br />

เสน โดยมีทั้งหมด<br />

2 รูปแบบ คือ ลดตนทุนสินคาและตนทุนคางสินคา<br />

โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นระหวางการผลิตในหวงโซ<br />

อุปทานและความเปนไปไดในการวางแผนจัดตารางการผลิตและในป<br />

1994 Lotfi & Yoon [2] ศึกษาการจัดตารางวางแผนการผลิตโดยมี<br />

ขอจํากัดดานกําลังการผลิตซึ่งมีหลากหลายผลิตภัณฑในระดับเดียว<br />

(Multi-period Single-item production) ชวงเวลาในการวางแผนตามแนว<br />

ยาว (Planning Horizon) โดยความตองการเปลี่ยนไปในแตละชวงเวลา<br />

ซึ่งกําหนดใหกําลังผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงไดและไมมีงานคั่งคาง<br />

(Backlog) แลวจึงสรางรูปแบบทางคณิตศาสตรเพื่อหาปริมาณการผลิตที่<br />

เหมาะสม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อตองการใหมีผลรวมของคาใชจายดาน<br />

การผลิต คาใชจายในการเก็บรักษาวัสดุคงคลังและคาใชจายในการตั้ง<br />

เครื่องจักรใหมใหมีคาต่ําที่สุด<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการวางแผนการผลิตที่มีการทดแทนกัน<br />

ของวัตถุดิบ โดยในป 2007 Geunes [3] เสนอขั้นตอนวิธีการแกปญหา<br />

การวางแผนความตองการวัตถุดิบที่มีขนาดการผลิตขนาดใหญดวยวิธีการ<br />

การแทนที่<br />

สําหรับการผลิตแบบทําตามสั่ง<br />

โดยใชวิธีการโปรแกรมเชิง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!