30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ลูกคาระหวางเสนทาง (Customer exchange) วิธีการยายลําดับลูกคาหนึ่ง<br />

รายระหวางเสนทาง (One move operator) ที่ปรับปรุงคําตอบระหวาง<br />

เสนทางและวิธี 2-opt ที่ทําการสลับเปลี่ยนลูกคาภายในเสนทางเดียวกัน<br />

โดยมีรายละเอียดดังนี้<br />

3.2.1 วิธีการแลกเปลี่ยนลูกคาระหวางเสนทาง<br />

(Customer<br />

exchange)<br />

การปรับปรุงคําตอบดวยวิธีนี้จะทําการแลกเปลี่ยนลูกคา2<br />

ราย<br />

ระหวาง 2 เสนทาง โดยการแลกเปลี่ยนลูกคา<br />

1 รายที่ถูกเชื่อมกันอยูใน<br />

เสนทางขนสงจากเสนทางหนึ่งไปยังอีกเสนทางหนึ่ง<br />

เชน หากเสนทางที่<br />

1 มีลูกคาอยู<br />

3 รายคือ 2,3 และ 4 มีเสนทางการขนสง เปน 0-3-2-4-0 โดย<br />

ที่<br />

0 คือจุดกระจายสินคา เสนทางที่<br />

2 มีลูกคาอยู<br />

3 รายคือ 1,5 และ 6 มี<br />

เสนทางการขนสง เปน 0-1-6-5-0 การใชวิธีแลกเปลี่ยนลูกคา<br />

นี้จะเลือก<br />

ลําดับของลูกคา 1 รายในแตละเสนทาง ในที่นี้เลือกลูกคาลําดับที่<br />

4 ของ<br />

เสนทางที่<br />

1 คือ 4 และลูกคาลําดับที่<br />

4 ของเสนทางที่<br />

2 คือ 5 ในการ<br />

แลกเปลี่ยน<br />

จะไดเสนทางเดินใหมดังนี้<br />

เสนทางที่<br />

1 เปน 0-3-2-5-0<br />

เสนทางที่<br />

2 เปน 0-1-6-4-0 แสดงดังรูปที่<br />

3<br />

2<br />

3<br />

4<br />

0<br />

1<br />

5<br />

6<br />

เสนทางเดิม เสนทางใหม<br />

รูปที่<br />

3 ตัวอยางการแลกเปลี่ยนลูกคาระหวาง<br />

เสนทาง (Customer exchanges)<br />

3.2.2 วิธีการยายลูกคาหนึ่งรายระหวางเสนทาง<br />

(One move<br />

operator)<br />

การยายลูกคา 1 ราย ที่อยูในเสนทางขนสงจากเสนทางหนึ่งไป<br />

ยังอีกเสนทางหนึ่งดวยวิธีการแทรก<br />

โดยที่ไมมีการยายลูกคาสลับกลับมา<br />

เสนทางเดิม เชน หากเสนทางที่<br />

1 มีลูกคาอยู<br />

3 รายคือ 2,3 และ 4 มี<br />

เสนทางการขนสง เปน 0-3-2-4-0 โดยที่<br />

0 คือจุดกระจายสินคา เสนทางที่<br />

2 มีลูกคาอยู<br />

3 รายคือ 1,5 และ 6 มีเสนทางการขนสง เปน 0-1-6-5-0 การ<br />

ใชวิธีการยายลําดับลูกคา (One move operator) นี้จะเลือกลูกคา<br />

1 รายจาก<br />

1 เสนทาง เชน ในที่นี้เลือกลูกคาลําดับที่<br />

4 ของเสนทางที่<br />

1 คือ 4 ในการ<br />

ยายลําดับลูกคา จะไดเสนทางเดินใหมดังนี้<br />

เสนทางที่<br />

1 เปน 0-3-2-0<br />

เสนทางที่<br />

2 เปน 0-1-5-6-4-0 แสดงดังรูปที่<br />

4<br />

2<br />

3<br />

5<br />

0<br />

1<br />

4<br />

6<br />

86<br />

เสนทางเดิม เสนทางใหม<br />

รูปที่<br />

4 ตัวอยางการยายลําดับลูกคาหนึ่งรายระหวาง<br />

เสนทาง (One move operator)<br />

3.2.3 วิธี 2-opt<br />

เปนการยายลําดับของลูกคาเฉพาะในเสนทางการขนสงที่<br />

พิจารณาเทานั้น<br />

โดยเริ่มจากการเลือกเสนทางเชื่อมระหวางลูกคา<br />

(Arc)<br />

สองเสนทางที่ไมอยูติดกันแลวสลับเสนทางการเชื่อมทั้งสองเสนทางนั้น<br />

ซึ่งจะทําใหลําดับของลูกคาระหวางสองจุดที่ถูกเลือกเปลี่ยนแปลงไป<br />

เชน<br />

หากเสนทางการขนสงมีลูกคาอยู<br />

4 รายคือ 1,2,3 และ 4 มีเสนทางการ<br />

ขนสง เปน 0-1-2-3-4-0โดยที่<br />

0 คือจุดกระจายสินคา การใชวิธี 2-opt นี้จะ<br />

เลือกคูของเมืองมาสองคูเชน<br />

ในที่นี้เลือกคู<br />

0-1 และคู<br />

3-4 ในการสลับ<br />

โดยหลักการมีวาหามคู<br />

0-1 และ 3-4 เดินทางตอกันอีก จะไดเสนทางเดิน<br />

ใหมดังนี้<br />

0-3-2-1-4-0 แสดงดังรูปที่<br />

5<br />

4<br />

2<br />

3<br />

4<br />

0<br />

0<br />

3 2<br />

1<br />

1<br />

5<br />

6<br />

เสนทางเดิม เสนทางใหม<br />

รูปที่<br />

5 ตัวอยางการสลับตําแหนงดวยวิธี 2-opt<br />

4. ผลการวิจัย<br />

การประเมินผลประสิทธิภาพฮิวริสติก ผูวิจัยไดทําการ<br />

เปรียบเทียบผลระหวางระยะทางการเดินทางของเสนทางการขนสงที่ได<br />

จากการจัดเสนทางดวยวิธีฮิวริสติกกับระยะทางการเดินทางของเสนทาง<br />

การขนสงของโรงงานกรณีศึกษา โดยกระบวนการทํางานของฮิวริสติกที่<br />

นําเสนอนี้ทําการเขียนคําสั่งดวยโปรแกรม<br />

NetBeans IDE 6.8 และทดสอบ<br />

บนเครื่องคอมพิวเตอร<br />

รุน<br />

Core(TM) 2 CPU T5500 1.66 GHz, 1.9 GB of<br />

RAM บน Windows XP โดยทําการทดสอบปญหาโรงงานกรณีศึกษามี<br />

ลูกคาทั้งหมด<br />

85 ราย รถบรรทุกสําหรับขนสงน้ําจํานวน<br />

3 คัน ความจุใน<br />

การบรรทุกของรถสูงสุด 150 กระสอบ ความตองการของลูกคาแตละราย<br />

ไมแนนอน และมีระยะทางไป-กลับที่ไมเทากัน<br />

(Asymmetric) ในบางจุด<br />

ผลการวิจัยแสดงดังตารางที่<br />

3<br />

4<br />

3<br />

2<br />

0<br />

0<br />

1<br />

3 2<br />

1<br />

4<br />

5<br />

6

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!