30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปกติจะทําใหสิ้นเปลืองน้ํามันเพิ่มขึ้น<br />

0.05-0.06 ลิตร/กม.สําหรับน้ําหนัก<br />

ทุกๆ 10 ตัน ฉะนั้นการคิดคาใชจายตนทุนการขนสงในสวนนี้ของ<br />

โรงงานกรณีศึกษาสามารถหาไดดังนี้<br />

อัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเพิ่มทุกๆ<br />

10 ตัน =<br />

= 0.055 ลิตร/กม.<br />

หรือ = 0.0055 ลิตร/กม./ตัน<br />

อัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเพิ่มตอน้ําแข็ง<br />

1 กระสอบหนัก 22 กก.<br />

= 0.022 ตัน<br />

= 0.022 x 0.0055<br />

หรือ = 0.000121 ลิตร/กม./ตัน<br />

ราคาน้ํามันเชื้อเพลิงดีเซลบี<br />

5 วันที่<br />

14 ธันวาคม 2553 จากเว็ป<br />

ไซต ปตท. จํากัด(มหาชน) ลิตรละ 29.39 บาท คาใชจายสวนที่เพิ่มจาก<br />

การบรรทุกน้ําแข็งคือ<br />

0.000121 x 29.39 = 0.00355 บาทตอกระสอบตอ<br />

กิโลเมตร ซึ่งคาใชจายทั้งสองสวนนี้มีผลตอตนทุนและการจัดเสนทาง<br />

3.2 การพัฒนาวิธีการหาคําตอบ<br />

งานวิจัยนี้ทําการศึกษาการหาวิธีการสําหรับการแกปญหาการ<br />

จัดเสนทางยานพาหนะ ผูวิจัยนําเสนอวิธีฮิวริสติกโดยแบงเปน<br />

2 ระยะคือ<br />

ระยะแรกเปนการสรางคําตอบเริ่มตนที่เปนไปไดดวยวิธี<br />

Clarke-Wright<br />

Saving Heuristic สําหรับระยะที่สองนั้น<br />

คําตอบที่ไดจากระยะแรกจะถูก<br />

ปรับปรุงดวยวิธีการคนหาคําตอบ โดยใชวิธีการยายลูกคาหนึ่งราย<br />

ระหวางเสนทาง (One move operator) วิธีการแลกเปลี่ยนลูกคาระหวาง<br />

เสนทาง (Customer exchange) และวิธี 2-opt ทีทําการยายลูกคาภายใน<br />

เสนทาง ซึ่งมีขันตอนการวิจัยดังนี้<br />

3.2.1 การสรางคําตอบเริ่มตน<br />

การสรางคําตอบเริ่มตน<br />

(Initial solution) ที่มีคาที่คอนขางดี<br />

อยูแลวนั้น<br />

เมื่อนําไปปรับปรุงคําตอบ<br />

ยอมจะทําใหเรามีโอกาสพบ<br />

คําตอบที่ดีกวาเดิม<br />

หรือใชเวลาในการปรับปรุงคําตอบนอยกวาการที่<br />

คนหาคําตอบเริ่มตนที่มีคาผลลัพธที่ไมดี<br />

ดวยเหตุนี้<br />

คําตอบเริ่มตนจึงมี<br />

สวนที่สําคัญมากในการวิจัย<br />

คือการที่เราไดคําตอบเริ่มตนที่ดีจะทําใหการ<br />

ปรับปรุงขั้นตอนตอไปมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

ผูวิจัยไดประยุกตใชวิธีฮิว<br />

ริสติก Clark and Wright saving สรางเสนทางเริ่มตน<br />

วิธี Saving เปนวิธีฮิวรีสติกสชนิดหนึ่งที่ถูกเสนอโดย<br />

Clarke<br />

และ Wright ในป ค.ศ. 1964 มีขั้นตอนดังนี้<br />

1. คํานวณหาคาความประหยัด (Saving) ของจุดสงสินคาแต<br />

ละคู<br />

จากการรวมจุดสงสินคาตางๆ เขาไวในเสนทางหลัก ดังรูปที่<br />

2 แทน<br />

85<br />

การจัดสงสินคาจากคลังสินคา (Depot) ไป-กลับยังทุกๆ จุดสงสินคา ดัง<br />

รูปที่<br />

1 ทําใหเกิดความประหยัดในการเดินทาง จะไดคาความประหยัด =<br />

(D0i + Di0 + D0j + Dj0) - (D0i + D j0 + Dij) = Di0 + D0j - Dij เมื่อ<br />

รูปที่<br />

1 การจัดสงสินคาไป-กลับทุกๆ จุดสงสินคา<br />

รูปที่<br />

2 การรวมจุดสงสินคาเขาดวยกัน<br />

จะไดสมการในการคํานวณหาคาความประหยัดดังนี้<br />

S −<br />

ij = Di<br />

0 + D0<br />

j Dij<br />

(13)<br />

S ij = คาความประหยัดระหวางคูจุดสงสินคา<br />

i และ j<br />

D i0<br />

= ระยะทางจากจุดสงสินคา i ไปยังคลังสินคา<br />

D0 j = ระยะทางจากคลังสินคาไปยังจุดสงสินคา j<br />

D ij = ระยะทางจากจุดสงสินคา i ไปจุดสงสินคา j<br />

2. ทําการเลือกคูโหนดของลูกคาที่มีคา<br />

Saving สูงสุดและยัง<br />

ไมถูกจัดเขาไปอยูในเสนทาง<br />

3. เพิ่มลูกคาลงในเสนทางโดยตรวจสอบเงื่อนไขของปญหาวา<br />

การรวมลูกคาเขาดวยกันแลว จะทําใหเกินความสามารถของยานพาหนะ<br />

ที่บรรทุกหรือไม<br />

หากพบวาจํานวนสินคาที่จุดใดๆ<br />

บนเสนทาง มีคาเกิน<br />

กวาที่กําหนดไว<br />

ใหทําการตัดลูกคารายลาสุดออกจากเสนทางและเชื่อม<br />

เสนทางกลับไปยังคลังสินคา และกลับไปทําขั้นตอนที่<br />

2 จนกระทั้งลูกคา<br />

ทุกรายถูกจัดใหอยูในเสนทางการขนสง<br />

3.2.2 การปรับปรุงคุณคําตอบเริ่มตน<br />

หลังจากไดเสนทางเริ่มตนดวยวิธี<br />

Clark and Wright saving<br />

ในระยะที่<br />

2 ผูวิจัยจะทําการปรับปรุงคําตอบ<br />

โดยการใชเทคนิคฮิวริสติก<br />

การคนหา (Search algorithm) ในรูปแบบตางๆ เชน วิธีการแลกเปลี่ยน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!