30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ปญหาการจัดเสนทางสําหรับยานพาหนะ ถูกพัฒนามาจากปญหาการ<br />

เดินทางของพนักงานขาย (Traveling Salesman Problem :TSP) โดยมี<br />

วัตถุประสงคหลัก คือใหมีระยะทางในการเดินทางโดยรวมต่ําที่สุด<br />

โดย<br />

พนักงานขายเดินทางไปยังเมืองตางๆ ซึ่งจะเริ่มตนจากเมืองหนึ่ง<br />

เดินทาง<br />

ไปเมืองใดกอนก็ไดและเดินตอไปเรื่อยๆจนครบทุกเมืองแลวกลับไป<br />

เมืองเริ่มตน<br />

โดยมีเงื่อนไขคือเมืองที่เดินทางผานแลวจะไมทําการเดิน<br />

ทางผานซ้ําอีก<br />

สวนปญหาการจัดเสนทางสําหรับยานพาหนะ จะมี<br />

เงื่อนไขขอจํากัดดานความสามารถในการบรรทุก<br />

โดยมีเปาสําคัญ คือการ<br />

พยายามออกแบบกลุมยานพาหนะทุกคัน<br />

ใหมีการเดินทางโดยใชตนทุน<br />

ต่ําที่สุด<br />

โดยจะมีจุดเริ่มตนจากจุดกระจายสินคา<br />

(Depot) และยานพาหนะ<br />

ก็วิ่งไปตามเสนทางการขนสงสินคา<br />

โดยพิจารณาเงื่อนไขหรือขอจํากัด<br />

ตางๆ เชน เวลาและความจุ<br />

ผูวิจัยไดศึกษาวิธีฮิวริสติก<br />

(Heuristic method) สําหรับแกปญหา<br />

การจัดเสนทางพาหนะ โดยผูวิจัยไดศึกษาปญหาของการจัดเสนทาง<br />

ยานพาหนะขนสงน้ําแข็งของรานโตงน้ําแข็ง<br />

อําเภอวารินชําราบ จังหวัด<br />

อุบลราชธานี มีการขนสงสินคาไปยังลูกคา 85 ราย พบวาทางรานมี<br />

ผลิตภัณฑที่ทําการขนสงอยู<br />

2 ชนิด คือน้ําแข็งหลอดและน้ําแข็งบด<br />

มีรถ<br />

กระบะที่ใชในการขนสง<br />

3 คันโดยแตละคันมีความจุสูงสุดที่<br />

150<br />

กระสอบ ความตองการสินคาของลูกคาในแตละรายไมแนนอน<br />

(Stochastic) และมีระยะทางไป–กลับที่ไมเทากัน<br />

(Asymmetric) ในบางจุด<br />

ซึ่งงานวิจัยนี้มุงเนนการจัดเสนทางการขนสง<br />

เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ<br />

สูงสุด อันจะสงผลใหสามารถลดตนทุนการขนสงลงได<br />

2. งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

การจัดเสนทางสําหรับยานพาหนะตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันมี<br />

นักวิจัยไดทําการศึกษาหลายทาน เชนในงานวิจัยของ Clarke และ Wright<br />

(1964) ไดพิจารณาการใชฮิวริ-สติกแบบประหยัด (Saving) เพื่อแกปญหา<br />

การจัดเสนทางสําหรับยานพาหนะที่มีความตองการของลูกคาหลายแหง<br />

ยานพาหนะมีความจุหลายขนาด สงสินคาออกจากคลังสินคาแหงเดียว ซึ่ง<br />

ไดพัฒนาขั้นตอนใหสามารถเลือกเสนทางของยานพาหนะที่เหมาะสม<br />

ที่สุด<br />

ผลที่ไดจากการแกปญหานี้คือ<br />

ทําใหทราบจํานวนยานพาหนะที่จะ<br />

ใชขนสง และปริมาณสินคาที่ขนสงของยานพาหนะแตละคัน<br />

Gillett และ<br />

Miller (1974) เสนอวิธี The sweep approach ซึ่งเปนเทคนิคฮิวริสติกที่มี<br />

ประสิทธิภาพสูง โดยมีโครงสรางในการหาคําตอบ 2 ลําดับ คือ ลําดับแรก<br />

จะจัดโหนดใหกับยานพาหนะ จากนั้นจะใหลําดับการสงของโหนดตางๆ<br />

แกยานพาหนะ ตอมา จตุ-รวิทย กลอมใจขาว (2545) นําเสนอวิธีฮิวริสติก<br />

3 วิธีคือ Saving Algorithm, Two-phase Algorithm และ Sweep Algorithm ใน<br />

82<br />

การพัฒนาระบบชวยการตัดสินใจของปญหาการหาเสนทางการเดินรถ<br />

กรณีศึกษา บริษัทขนสงพัสดุ ทั้ง<br />

3 วิธีนั้นจะไดผลลัพธที่แตกตางกัน<br />

ผูใช<br />

สามารถนําผลที่ไดจากการคํานวณของแตละวิธีมาเปรียบเทียบเพื่อการ<br />

ตัดสินใจเลือกเสนทางที่เหมาะสมกับความตองการสินคาในแตละวัน<br />

พงศพัฒน โตตระกูล และคณะ (2547) พิจารณาปญหาการจัดเสนทางการ<br />

ขนสงเวชภัณฑในระบบการกระจายเวชภัณฑของโรงพยาบาล โดย<br />

คํานึงถึงผลิตภัณฑหลายชนิดที่มีความตองการเวชภัณฑแตละชนิดที่เวลา<br />

ตางกัน กระบวนการของฮิวริสติกแบงเปน 2 ระยะ โดยระยะแรกสราง<br />

เสนทางขนสงขั้นตนดวยวิธี<br />

Saving algorithm และในระยะที่สอง<br />

ปรับปรุงคําตอบดวยวิธี 2-opt และ Anti-intersection algorithm พบวา<br />

สามารถหาคาที่เหมาะสมที่สุด<br />

ตันติกร พิชญพิบูล และเรื่องศักดิ์<br />

แกว<br />

ธรรมชัย (2550) ไดประยุกตใชวิธีฮิวริ-สติก Clarke-Wright Saving ใน<br />

การศึกษาวิธีการที่เหมาะสมในการขนสงแบบไป-กลับของการขนสง<br />

สินคา ของลูกคาในแตละจังหวัดทั่วประเทศไทย<br />

และไดนําผลการหา<br />

เสนทางโดยวิธีฮิวริสติก Clarke-Wright Saving ไปเปรียบเทียบกับการจัด<br />

เสนทางแบบเดิมดวยวิธีฮิวริ-สติก Nearest Neighbor พบวา วิธีฮิวริสติก<br />

Clarke-Wright Saving มีประสิทธิภาพที่ดีกวา<br />

วิธีฮิวริสติก Nearest<br />

Neighbor โดยสามรถลดตนทุนที่ใชในการขนสงลงไดเปนจํานวนเงิน<br />

2,338,915 บาทและใชเวลาประมวลผล 250 วินาที ตอการประมวลผล<br />

120 ตัวอยาง<br />

สําหรับปญหาที่มีการขนสงที่มีความตองการไมแนนอนมี<br />

นักวิจัยหลายทานที่นําเสนอไว<br />

เชน Laporte and Louveaux (1997) นําเสนอ<br />

วิธีแกปญหาการจัดเสนทางยานพาหนะแบบไมแนนอนดวยวิธี Integer L-<br />

Shaped Method เพื่อใหไดคําตอบที่ดีที่สุด<br />

โดยศึกษาจากปญหา 4 ชนิด<br />

ไดแก ปญหาที่<br />

1 เวลาไมแนนอน, จํานวนยานพาหนะ m คัน ปญหาที่<br />

2<br />

จํานวนลูกคาไมแนนอน, ยานพาหนะ 1 คัน ปญหาที่<br />

3 จํานวนลูกคาและ<br />

ความตองการไมแนนอน, ยานพาหนะ m คัน และปญหาที่<br />

4 ความ<br />

ตองการไมแนนอน, ยานพาหนะ 1 คัน พบวา คําตอบที่ไดยังไมใชคําตอบ<br />

ที่ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับปญหาของ<br />

Laporte and Louveaux (1993)<br />

Karahan et al. (2006) ศึกษาเปรียบเทียบปญหาการขนสงประกอบดวย<br />

ปญหา 2 ประเภทคือ ประเภทแรกเปนปญหาการจัดเสนทางเดินของ<br />

พนักงานขาย โดยมีเงื่อนไขเรื่องเวลาไมแนนอน<br />

(Stochastic timers) และ<br />

จํานวนลูกคาไมแนนอน (Stochastic customers) ประเภทที่สองเปนปญหา<br />

การจัดเสนทางสําหรับยานพาหนะ โดยมีเงื่อนไขจํานวนลูกคาไมแนนอน<br />

(Stochastic customers) และความตองการของลูกคาไมแนนอน (Stochastic<br />

demands) โดยพิจารณาถึงระดับของปญหาจากงานวิจัยทานอื่น<br />

Chang-

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!