30.06.2013 Views

วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ - AS Nida

วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ - AS Nida

วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

56<br />

Applied Statistics<br />

การสรางแบบจําลองที่เปนจริงสําหรับปรากฎการณจริงนั้น<br />

จําเปนตองพิจารณาความเปนไปไดของความไมแนนอนดวย<br />

[Ross, 1993; Law and Kelton, 2000]<br />

การวิเคราะหความนาเชื่อถือ<br />

(Reliability Analysis) มีความทาทายเปนอยางยิ่ง<br />

เนื่องจากตองพิจารณาถึงความไม<br />

แนนอนของปจจัยตางๆเขามา [Robinson, 1989; Oberkampf et al., 2002] ทั้งนี้วิธีการประเมินความไมแนนอน<br />

(Uncertainty Assessment) ที่เปนที่ยอมรับมาอยางยาวนานก็คือ<br />

Monte Carlo Simulation (MCS) ซึ่งอาศัยหลักการของตัว<br />

แปรสุม<br />

(Random Variable) และกฎจํานวนมาก (Strong Law of Large Number) ซึ่งปจจุบันสามารถทําไดดวยคอมพิวเตอร<br />

ประสิทธิภาพสูง อยางไรก็ตามเทคนิคนี้มีปญหามากกับกรณีที่ตัวแปรมีจํานวนมาก<br />

ซึ่งทําใหตองการจํานวนตัวแปรสุม<br />

จํานวนมากเพิ่มขึ้นตามตัวแปรของระบบโดยมีการเพิ่มขึ้นเปนแบบ<br />

Exponential ซึ่งลักษณะปญหานี้สามารถเรียกไดวาเปน<br />

Curse of Dimensionality โดยที่ความตองการการคํานวณเพิ่มขึ้นอยางไมมีที่สิ้นสุดอยางรวดเร็วในอัตรายกกําลังตามขนาด<br />

ของระบบ จึงมีความจําเปนตองพิจารณาหาเทคนิคการประเมินความไมแนนอนที่มีประสิทธิภาพ<br />

(Efficient) มากกวาวิธี<br />

MCS โดยวิธีการประมาณที่นิยมใชคือ<br />

เทคนิค Moment-Matching ซึ่งเนนการประมาณคาคาดหวัง<br />

(Expected Value) และ<br />

คาความแปรปรวน (Variance) โดยเทคนิคที่มีประสิทธิภาพตางๆ<br />

เชน First-Order Approximation และ Weighted Three-<br />

Point-Based Method ใน Buranathiti et al. (2006)<br />

ลักษณะเดนในการวิเคราะหความนาเชื่อถือนั้นอยูที่การเนนการหาจุดที่มักจะมีคาความนาจะเปนที่จุดปลาย<br />

(Tail)<br />

ดานใดดานหนึ่ง<br />

เชน ความนาจะเปนที่โครงสรางหนึ่งจะรับภาระกรรมไดนอยกวาคาๆหนึ่ง<br />

เปนตน ดังนั้นการใชวิธี<br />

MCS<br />

ซึ่งเปนการหาฟงกชันการกระจายความหนาแนนความนาจะเปน<br />

(Probability Density Function หรือ PDF) ทั้งหมดจึงไม<br />

คุมคา<br />

เชน ความนาเชื่อถือที่<br />

99.99% นั้น<br />

ในการสุม<br />

100,000 ตัวอยาง ในอุดมคติแลวจะมีสวนที่เสียที่สนใจในการประเมิน<br />

ความนาเชื่อถืออยูประมาณ<br />

10 ตัวอยาง และมีกรณีที่ผานอยูถึง<br />

99,990 ตัวอยาง ทําใหความแมนยําของวิธี MCS นั้นไมดีนัก<br />

โดยเฉพาะระบบที่ตองการวิเคราะหหาความนาเชื่อถือที่สูงๆ<br />

เชน 0.01% 0.00 001% (1 ในลาน) เปนตน และมีตัวแปรใน<br />

ระบบจํานวนมาก สวนเทคนิคหนึ่งที่เนนหาความนาจะเปนที่จุดปลาย<br />

คือ เทคนิคจุดนาจะเปนที่สุด<br />

(Most Probable<br />

Technique, MPP) โดย MPP เปนเทคนิคที่เนนการหาสถานะขีดจํากัด<br />

(Limit State) ที่สอดคลองกับคาความนาเชื่อถือหรือ<br />

ความนาจะเปนหนึ่งๆ<br />

ทําใหลดภาระการคํานวณที่จะตองหา<br />

PDF ทั้งหมด<br />

[Robinson, 1998; Du and Chen, 2001]<br />

บทความนี้ไดนําเสนอเทคนิคการประเมินความไมแนนอนสําหรับการวิเคราะหความนาเชื่อถือโดยเทคนิค<br />

MPP<br />

พรอมกับการแสดงกรณีตัวอยางประกอบการศึกษาเปนกรณีศึกษา โดยพิจารณาจากความสามารถในการพยากรณคาความ<br />

นาเชื่อถือและ<br />

PDF ที่เกิดขึ้นโดยการเปรียบเทียบกับวิธี<br />

MCS เปนวิธีอางอิง โดยกรณีศึกษานี้นําไปสูการอภิปรายและหมาย<br />

เหตุสรุปสําหรับเทคนิค MPP ในการนําไปประยุกตใชในการวิเคราะหความนาเชื่อถือตอไป<br />

2. เทคนิคจุดนาจะเปนที่สุด<br />

(Most Probable Point Technique)<br />

เทคนิคจุดนาจะเปนที่สุดมีพื้นฐานความคิดมาจากการหาสถานะขีดจํากัดที่สอดคลองกับคาความนาเชื่อถือหรือ<br />

ความนาจะเปนหนึ่งๆ<br />

ดังนั้นเทคนิค<br />

MPP นั้นเหมาะสมการประยุกตใชเพื่อหาคาเฉพาะคาหนึ่ง<br />

กําหนดใหตัวแปรผลลัพธ<br />

หรือตัวแปรตามของระบบ ( y ) เปนฟงกชันของเวกเตอรตัวแปรอิสระ ( x ) ดังตอไปนี้<br />

( ) ( 1, 2 , , n ) x x x y y y K<br />

= = x (1)<br />

โดยระบบมีจํานวนตัวแปรอิสระ n ตัวแปร<br />

ทําการแปลงเวกเตอรตัวแปรอิสระ ( x ) ไปอยูใน<br />

Space อื่น<br />

ในกรณีนี้ทําการแปลง<br />

x ใหอยูใน<br />

Standard Normal<br />

Space u ( u ⇔<br />

x ) ดวยการอางอิงฟงกชันความนาจะเปนสะสม (Cumulative Distribution Function หรือ CDF) ดังนี้

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!