27.06.2013 Views

ภาพผนวกที่ 1

ภาพผนวกที่ 1

ภาพผนวกที่ 1

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

การศึกษาผลการกระจายตัวของอุณหภูมิและแรงลมในตู<br />

้ฟักไข่ต่อการฟัก<br />

Study on the distribution of temperature and velocity in<br />

multi – stage type incubator on hatchability of eggs<br />

โดย<br />

นางสาวสุชาวลัย โพธิวัง<br />

นางสาวอริษา แซ่โคว้<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

Curriculum of Animal Science<br />

Division of Animal Production Technology and Fisheries<br />

Faculty of Agricultural Technology<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า King Mongkut’s Institute of Technology<br />

เจ้าคุณทหารลาดกระบัง Chaokuntaharn Ladkrabang<br />

กรุงเทพฯ 10520 Bangkok 10520 Thailand


ใบรับรองปัญหาพิเศษปริญญาตรี<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง<br />

เรื่อง<br />

การศึกษาผลการกระจายตัวของอุณหภูมิและแรงลมในตู ้ฟักไข่ต่อการฟัก<br />

Study on the distribution of temperature and velocity in<br />

multi – stage type incubator on hatchability of eggs<br />

ได้รับการพิจารณาเห็นชอบโดย<br />

โดย<br />

นางสาวสุชาวลัย โพธิวัง<br />

นางสาวอริษา แซ่โคว้<br />

อาจารย์ที่ปรึกษา.........................................................................<br />

(รศ.ดร. กานต์ สุขสุแพทย์)<br />

อาจารย์ที่ปรึกษา<br />

หลักสูตรรับรองแล้ว<br />

....................................................................................<br />

(รศ.ดร. กานต์ สุขสุแพทย์)<br />

ประธานหลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

วันที่..........เดือน................พ.ศ.............


ปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

การศึกษาผลการกระจายตัวของอุณหภูมิและแรงลมในตู ้ฟักไข่ต่อการฟัก<br />

Study on the distribution of temperature and velocity in<br />

multi – stage type incubator on hatchability of eggs<br />

โดย<br />

นางสาวสุชาวลัย โพธิวัง<br />

นางสาวอริษา แซ่โคว้<br />

เสนอ<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

พ.ศ.2553


บทคัดย่อปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

การศึกษาผลการกระจายตัวของอุณหภูมิและแรงลมในตู ้ฟักไข่ต่อการฟัก<br />

Study on the distribution of temperature and velocity in<br />

multi – stage type incubator on hatchability of eggs<br />

ในการทดลองเพื่อศึกษาความสัมพันธ์การกระจายตัวของอุณหภูมิและแรงลมในตู้ฟักไฟฟ้<br />

า<br />

แบบมัลติสเตท ของ James way รุ่น Super J ขนาดความจุ 90,720 ฟอง แบ่งต าแหน่งการวัดความเร็ว<br />

ลมและอุณหภูมิออกเป็ น 6 ชั ้น ชั ้นละ 4 ซ ้า ซ ้าละ 336 ฟอง ในตู้ฟัก 1 - 18 วัน โดยใช้เม็ดกระดุม<br />

(i-Button) ติดที่ฟองไข่เพื่อวัดอุณหภูมิภายในตู้ฟัก<br />

1 – 18 วัน และใช้เครื่องวัดความเร็วลม<br />

(Anemometer) ในการวัดความเร็วลม โดยควบคุมอุณหภูมิภายในตู้ฟักที่<br />

98.7 องศาฟาเรนไฮด์<br />

ผลจากการแบ่งต าแหน่งการวัดความเร็วลมและอุณหภูมิแบ่งออกเป็ น 6 ชั ้น ความเร็วลมชั ้น<br />

ที่<br />

15 (ชั ้นบนสุด) ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน เท่ากับ 831 ฟุตต่อนาที และความเร็วลมของไข่ฟัก<br />

ช่วงอายุ 16 - 18 วัน เท่ากับ 96 ฟุตต่อนาที และมีความเร็วลมต ่าลงที่ชั<br />

้นที่<br />

1 (ชั ้นล่างสุด) ของไข่ฟัก<br />

ช่วงอายุ 1 – 3 วัน เท่ากับ 297 ฟุตต่อนาที และความเร็วลมของไข่ฟักช่วงอายุ 16 - 18 วัน เท่ากับ 165<br />

ฟุตต่อนาที แสดงให้เห็นว่าความเร็วลมภายในตู้ฟักมีความไม่สม ่าเสมอ จึงส่งผลต่อเรื ่องของ<br />

อุณหภูมิซึ ่งแบ่งออกเป็ น 6 ชั ้น โดยอุณหภูมิเฉลี่ยของชั<br />

้นที่<br />

15 (ชั ้นบนสุด) ในไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 18<br />

วัน เท่ากับ 97.5 องศาฟาเรนไฮด์ และอุณหภูมิเฉลี่ยของชั<br />

้นที่<br />

1 (ชั ้นล่างสุด) ในไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 18<br />

วัน เท่ากับ 97.1 องศาฟาเรนไฮด์ แสดงให้เห็นว่าอุณหภูมิเฉลี ่ยของชั ้นที่<br />

15 (ชั ้นบนสุด) และชั ้นที่<br />

1<br />

(ชั ้นล่างสุด) ต ่ากว่าอุณหภูมิที่ควบคุมภายในตู้ฟักท<br />

าให้อัตราการตายของไข่ฟักเสียหายมากบริเวณ<br />

ชั ้นบนและชั ้นล่างของรถตู้ฟัก โดยรวมเปอร์เซ็นต์ไข่เสียหายรวมทั ้งหมดของไข่ฟัก ซึ ่งไข่บริเวณ<br />

ชั ้นกลางของรถตู้ฟักมีไข่เสียหายต ่าที่สุดประมาณ<br />

2.33 – 2.78 เปอร์เซ็นต์ ซึ ่งจะเห็นได้ว่า<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกตามเวลาจะแปรผันไปตามต<br />

าแหน่งของการฟักซึ ่งมีความเร็วลม<br />

และอุณหภูมิแตกต่างกัน<br />

I


ค านิยม<br />

ในการท าปัญหาพิเศษครั ้ งนี ้ ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ รศ.ดร.กานต์ สุขสุแพทย์ ซึ ่ งเป็ น<br />

อาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้ค<br />

าแนะน าและให้ความช่วยเหลือแก้ปัญหาต่างๆ ตั ้งแต่เริ่มท<br />

าการทดลอง<br />

จนกระทั่งสิ้นสุดการทดลอง<br />

นอกจากนี ้ยังขอขอบพระคุณ คุณเจน ขาวบริสุทธิ ์ คุณยุทธนา ภวะภูตา<br />

นนท์ และพี่ๆ<br />

น้องๆ ชาวโรงฟัก บริษัท บี. ฟู ้ ด โปรดักส์ อินเตอร์เนชั่นแนล<br />

จ ากัด จ.ลพบุรี ทุกคน<br />

ที่ให้ความช่วยเหลือขณะที<br />

่ท าการทดลองในโรงฟักเป็ นอย่างดี สุดท้ายนี ้ ขอขอบคุณทุกความ<br />

ช่วยเหลือที่คอยสนับสนุนและให้ก<br />

าลังใจมาตลอดจนกระทั่งปัญหาพิเศษครั<br />

้งนี ้ส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี<br />

II<br />

นางสาวสุชาวลัย โพธิวัง<br />

นางสาวอริษา แซ่โคว้


สารบัญ<br />

บทคัดย่อ<br />

หน้า<br />

I<br />

ค านิยม II<br />

สารบัญ III<br />

สารบัญตาราง IV<br />

สารบัญภาพ V<br />

ค าน า 1<br />

วัตถุประสงค์ 1<br />

การตรวจเอกสาร 2<br />

อุปกรณ์และวิธีการ 10<br />

ผลการทดลอง 15<br />

วิจารณ์ 33<br />

สรุป 35<br />

ข้อเสนอแนะ 36<br />

เอกสารอ้างอิง 37<br />

ภาคผนวก 38<br />

1. ตู้ฟักระบบ Multi – stage ยี่ห้อ<br />

Jamesway รุ่น Super J<br />

- หลักการการฟักไข่ของตู้ฟักระบบ Multi – stage ยี่ห้อ<br />

Jamesway รุ่น Super J 42<br />

2. ตู้เกิด ยี่ห้อ<br />

Jamesway รุ่น Super J 44<br />

- การท า Hatch Window 46<br />

3. การจัดการภายในโรงฟัก 47<br />

III


สารบัญตาราง<br />

่ ตารางที<br />

หน้า<br />

1. การเจริญของตัวอ่อนในระยะต่างๆ 5<br />

2. สาเหตุการตายของตัวอ่อน 8<br />

3. แสดงความเร็วลมเฉลี่ยของไข่ฟักแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 1 – 3 วัน, 16 – 18 วัน<br />

และค่าเฉลี่ยความเร็วลมของไข่ฟักแต่ละชั<br />

้น 21<br />

4. แสดงเปอร์เซ็นต์ของไข่ฟักที่ตายในช่วงอายุ<br />

1 – 18 วัน 21<br />

5. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย<br />

อุณหภูมิสูงสุด และอุณหภูมิต ่าสุดแต่ละชั ้นของรถตู้ฟัก 22<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ตารางผนวกที<br />

1. แสดงความเร็วลมแต่ละจุดช่วงไข่ฟักอายุ 1 – 3 วัน ของรถตู้ฟักคันที 1 39<br />

2. แสดงความเร็วลมแต่ละจุดช่วงไข่ฟักอายุ 16 – 18 วัน ของรถตู้ฟักคันที 1 39<br />

3. แสดงความเร็วลมแต่ละจุดช่วงไข่ฟักอายุ 1 – 3 วัน ของรถตู้ฟักคันที 2 39<br />

4. แสดงความเร็วลมแต่ละจุดช่วงไข่ฟักอายุ 16 – 18 วัน ของรถตู้ฟักคันที 2 40<br />

5. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 – 18 วัน,<br />

จ านวนการตายของไข่ฟักแต่ละระยะของชั ้นที 1 49<br />

6. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 – 18 วัน,<br />

จ านวนการตายของไข่ฟักแต่ละระยะของชั ้นที 4 50<br />

7. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 – 18 วัน,<br />

จ านวนการตายของไข่ฟักแต่ละระยะของชั ้นที 7 51<br />

8. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 – 18 วัน,<br />

จ านวนการตายของไข่ฟักแต่ละระยะของชั ้นที 10 52<br />

9. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 – 18 วัน,<br />

จ านวนการตายของไข่ฟักแต่ละระยะของชั ้นที 13 53<br />

10. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 – 18 วัน,<br />

จ านวนการตายของไข่ฟักแต่ละระยะของชั ้นที 15 54<br />

IV


สารบัญภาพ<br />

่ ภาพที<br />

หน้า<br />

1. แสดงต าแหน่งการติด i - Button (เม็ดกระดุม) 11<br />

2. แสดงต าแหน่งอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิภายในตู้ฟัก 12<br />

3. แสดงการวัดความเร็วลมภายในตู้ฟัก 13<br />

4. แสดงต าแหน่งการวัดความเร็วลม 13<br />

5. แสดงค่าเฉลี่ยความเร็วลมของไข่ฟักแต่ละชั<br />

้น 23<br />

6. แสดงเปอร์เซ็นต์รวมไข่เสียหายในแต่ละชั ้น 23<br />

7. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 1 – 3 วัน 24<br />

8. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 4 – 6 วัน 24<br />

9. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 7 – 9 วัน 25<br />

10. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 10 – 12 วัน 25<br />

11. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 13 – 15 วัน 26<br />

12. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 16 – 18 วัน 26<br />

13. แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 1 – 3 วัน 27<br />

14. แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 4 – 6 วัน 27<br />

15. แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 7 – 9 วัน 28<br />

16. แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 10 – 12 วัน 28<br />

17. แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 13 – 15 วัน 29<br />

18. แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 16 – 18 วัน 29<br />

19. แสดงอุณหภูมิต ่าสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 1 – 3 วัน 30<br />

20. แสดงอุณหภูมิต ่าสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 4 – 6 วัน 30<br />

21. แสดงอุณหภูมิต ่าสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 7 – 9 วัน 31<br />

22. แสดงอุณหภูมิต ่าสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 10 – 12 วัน 31<br />

23. แสดงอุณหภูมิต ่าสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 13 – 15 วัน 32<br />

24. แสดงอุณหภูมิต ่าสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 16 – 18 วัน 32<br />

V


สารบัญภาพ (ต่อ)<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ภาพผนวกที<br />

หน้า<br />

1. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 1 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 1<br />

2. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 2 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

40<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 1<br />

3. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 3 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

41<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 1<br />

4. แสดงการกระจายตัวของลมทั ้ง 3 จุด ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

41<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 1<br />

5. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 1 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน<br />

42<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 1<br />

6. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 2 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน<br />

42<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 1<br />

7. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 3 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน<br />

43<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 1<br />

8. แสดงการกระจายตัวของลมทั ้ง 3 จุด ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน<br />

43<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 1<br />

9. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 1 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

44<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 2 44<br />

10. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 2 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 2<br />

11. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 3 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

45<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 2<br />

12. แสดงการกระจายตัวของลมทั ้ง 3 จุด ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

45<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 2<br />

13. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 1 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน<br />

46<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 2<br />

14. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 2 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน<br />

46<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 2 47<br />

VI


สารบัญภาพ (ต่อ)<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ภาพผนวกที<br />

หน้า<br />

15. แสดงการกระจายตัวของลมจุดที 3 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 2<br />

16. แสดงการกระจายตัวของลมทั ้ง 3 จุด ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน<br />

47<br />

แต่ละชั ้นภายในรถตู้ฟักคันที 2 48<br />

VII


การศึกษาผลการกระจายตัวของอุณหภูมิและแรงลมในตู ้ฟักไข่ต่อการฟัก<br />

Study on the distribution of temperature and velocity in<br />

multi – stage type incubator on hatchability of eggs<br />

ค าน า<br />

อุตสาหกรรมการเลี ้ ยงไก่ในปัจจุบันจ าเป็ นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยกระบวนการที<br />

่มีคุณภาพ<br />

ตั ้งแต่การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ การจัดการฟาร์ม อาหาร รวมถึงขั ้นตอนในการฟัก การที่จะได้ลูกไก่ที่<br />

ดีนั ้นกระบวนการฟักต้องสมบูรณ์ด้วยทั ้งไข่ฟักที ่มาจากฟาร์ม ตู้ฟัก ตู้เกิด ระบบที่จ<br />

าเป็ นภายในตู้<br />

ฟัก ได้แก่ ระบบลมภายในตู้ฟัก ระบบการให้ความชื ้น และการกลับไข่ ถ้าภายในตู้ฟักมีการ<br />

หมุนเวียนของอากาศไม่ดี ก็จะท าให้มีอากาศเสียมากกว่าอากาศดี รวมถึงลมที่พัดผ่านระหว่างชั<br />

้น<br />

ฟองไข่มีความไม่สม ่าเสมอกันในแต่ละชั ้น ซึ ่ งจะส่งผลให้อุณหภูมิในแต่ละชั ้นมีความแตกต่างกัน<br />

ซึ ่งปัญหานี ้สามารถแก้ไขได้โดยหาจุดบอดของลมในตู้ฟักแต่ละจุด เพื่อแก้ไขจุดนั<br />

้นๆ เพราะปัญหา<br />

เล็กน้อยในแต่ละจุดนี ้ อาจท าให้การฟักออกของไข่ฟักลดลงก็จะส่งผลไปยังตู้เกิด มีการตายของ<br />

ลูกไก่เพิ่มขึ<br />

้น ในกระบวนการของตู้ฟักนับว่ามีความส าคัญมาก จึงต้องอาศัยปัจจัยต่างๆ เพื่อจะให้<br />

ได้ลูกไก่ที่มีคุณภาพดี<br />

แข็งแรงสมบูรณ์ พร้อมที่จะน<br />

าไปเลี ้ยงต่อไป<br />

วัตถุประสงค์<br />

1. เพื่อศึกษาการกระจายตัวของลมและอุณหภูมิภายในตู้ฟัก<br />

2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับความเร็วลม<br />

3. เพื่อศึกษาอิทธิพลของการกระจายตัวของลมและอุณหภูมิต่อการฟักออก<br />

1


การตรวจเอกสาร<br />

ในกระบวนการฟักไข่มีปัจจัยหลายอย่างที่มีผลต่อการฟักออกเป็<br />

นตัวของลูกไก่ อาทิเช่น<br />

อุณหภูมิ ความชื ้น การระบายอากาศ และการกลับไข่ เป็ นต้น (อาวุธ, 2539)<br />

ปัจจัยที่ส<br />

าคัญต่อการฟักไข่<br />

1. อุณหภูมิ<br />

อุณหภูมิที่ใช้ในการฟักไข่จะอยู่ระหว่าง<br />

95 - 105 °F การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิจะส่งผล<br />

ต่อการฟักออกของไข่ฟัก อุณหภูมิที่สูงจะก่อให้เกิดการสูญเสียมากกว่าอุณหภูมิที<br />

่ต ่า (Tullet, 1991)<br />

แต่ถ้าอุณหภูมิต ่ากว่า 68 °F ตัวอ่อนในฟองไข่จะหยุดการเจริญเติบโต (มานิตย์, 2538) อุณหภูมิที่<br />

เหมาะสมและท าให้ตัวอ่อนสามารถเจริญเติบโตได้ดีแบ่งออกเป็ น 2 ช่วง คือ ในระยะ 18 วันแรก ตัว<br />

อ่อนต้องการอุณหภูมิประมาณ 99.3 - 99.6 °F และในระยะ 19 - 21 วัน ตัวอ่อนต้องการอุณหภูมิที ่ต ่า<br />

กว่าในระยะ 18 วันแรกประมาณ 0.5 - 1.5 °F เนื่องจากตัวอ่อนมีการปลดปล่อยความร้อนออกมา<br />

จากกระบวนการเมทาบอลิซึม (metabolism) ซึ ่งอุณหภูมิที่เหมาะสมส<br />

าหรับระยะนี ้ คือ 98 - 99 °F<br />

(อนุชา, 2540)<br />

อุณหภูมิในตู้ฟักตลอดระยะการฟักควรอยู ่ในระดับที่สม<br />

่าเสมอมากที ่สุด ถ้าอุณหภูมิไม่<br />

สม ่าเสมอจะท าให้การฟักออกไม่ดี ซึ ่งอุณหภูมิที่ส่งผลต่อการฟักออกของไข่<br />

มีดังนี ้<br />

1.1 อุณหภูมิสูง<br />

การที่ไข่ฟักอายุ<br />

16 วันได้รับอุณหภูมิ 104 °F เป็ นเวลา 24 ชั่วโมง<br />

จะไม่มีผลเสียต่ออัตรา<br />

การฟักออก แต่ถ้าได้รับอุณหภูมิ 110 °F เป็ นเวลา 6 ชั่วโมง<br />

จะท าให้อัตราการฟักออกลดลง และถ้า<br />

ได้รับอุณหภูมิ 115 °F เป็ นเวลา 3 ชั่วโมง<br />

หรื อ 120 °F เป็ นเวลา 1 ชั่วโมง<br />

จะท าให้ตัวอ่อนตาย<br />

ทั ้งหมด<br />

1.2 อุณหภูมิต ่า<br />

การฟักไข่เป็ นขบวนการที่เกิดขึ<br />

้นอย่างต่อเนื ่อง อุณหภูมิการฟักที ่ลดลงจะท าให้ระยะเวลา<br />

ในการฟักไข่นานขึ ้น อย่างไรก็ตามระยะเวลาในการฟักจะนานขึ ้นประมาณครึ ่ งหนึ ่งของระยะเวลา<br />

ที่ได้รับความเย็น<br />

เพราะไม่บ่อยนักที่อุณหภูมิจะลดต<br />

่าลงกว่าอุณหภูมิห้องที ่ 60 – 70 °F อุณหภูมิ<br />

ภายในไข่ยังคงสูงกว่าอุณหภูมิห้องเป็ นเวลาหลายชั ่วโมง การที่ตัวอ่อนในช่วง<br />

19 วันแรกได้รับ<br />

ความเย็นจะท าให้ตัวอ่อนอยู ่ในท่าผิดต าแหน่งมากขึ ้ น อุณหภูมิยิ ่งต ่าจะยิ่งเกิดมากขึ<br />

้ น และถ้า<br />

อุณหภูมิในช่วง 2 วันสุดท้ายต ่ากว่าปกติถึง 2 °F จะท าให้เกิดความเสียหายเพิ่มขึ<br />

้น (อาวุธ, 2539)<br />

ความเร็วของการพัฒนาตัวอ่อนขึ ้นอยู่กับอุณหภูมิภายในฟองไข่<br />

อุณหภูมิภายในฟองไข่<br />

ภายในตู้ฟักเดียวกันสามารถแปรผันได้ตามต าแหน่งที่ไข่ฟักอยู่<br />

ปัจจัยที ่ท าให้อุณหภูมิแตกต่างกัน<br />

2


คือ ความเร็วลมและการสเปรย์ความชื ้นภายในตู้ฟัก อุณหภูมิของไข่อาจแตกต่างกัน 3 - 4 °F ของไข่<br />

ที่อายุการฟักเดียวกัน<br />

จากงานทดลองพบว่าอุณหภูมิของฟองไข่ในถาดเดียวกันอาจแตกต่างกัน<br />

ถึง 2 - 3 °F (Meijerhof, 2006a)<br />

2. ความชื ้น<br />

การพัฒนาของตัวอ่อนที ่เหมาะสมและการเปลี ่ยนแปลงรูปร่างของลูกไก่ที ่มีขนาดปกติ<br />

จะต้องมีการก าหนดอัตราการระเหยของสิ ่งที่อยู่ภายในฟองไข่ออกไปในปริมาณที<br />

่เหมาะสม หาก<br />

ความชื ้นที่อยู่ในฟองไข่ระเหยออกเร็วเกินไป<br />

ลูกไก่ที่ฟักออกก็จะตัวเล็กกว่าปกติและหากระเหย<br />

ออกช้าเกินไปลูกไก่ที่ได้ก็จะตัวโตกว่าปกติ<br />

ในทั ้งสองกรณีที่กล่าวมาลูกไก่ที่ฟักออกจะอ่อนแอและ<br />

อัตราการฟักออกจะลดลง ท าให้ลูกไก่ที่ได้มีคุณภาพต<br />

่าลงด้วย การควบคุมการระเหยของความชื ้น<br />

ภายในฟองไข่ จะขึ ้ นอยู่กับการควบคุมความชื<br />

้นสัมพัทธ์ในอากาศที ่อยู่รอบฟองไข่<br />

เนื่องจาก<br />

ความชื ้นในอากาศจะเป็ นตัวก าหนดอัตราการระเหยของความชื ้นออกจากฟองไข่หรือการสูญเสีย<br />

น ้าหนักไข่ฟัก ความชื ้นในอากาศสูงจะท าให้การระเหยของความชื ้นออกจากฟองไข่ลดน้อยลง และ<br />

หากความชื ้นในอากาศต ่าก็จะท าให้การระเหยของความชื ้นออกจากฟองไข่เพิ่มขึ<br />

้นมากเช่นเดียวกัน<br />

(อาวุธ, 2539)<br />

Tullet (1991) กล่าวว่า ไข่ฟักต้องการความชื ้นสัมพัทธ์อยู่ในช่วง<br />

40 - 70 % จะมีการสูญเสีย<br />

น ้ าหนักของไข่ฟักประมาณ 10 - 12 % ซึ ่ งเป็ นปริ มาณที่เหมาะสมส<br />

าหรับการฟัก การสูญเสีย<br />

น ้าหนักนี ้ จะกระจายตลอดระยะเวลาการฟัก ซึ ่ งสามารถควบคุมความชื ้นสัมพัทธ์ภายในตู้ฟักให้<br />

สม ่าเสมอได้ แต่ในกรณีที่ความชื<br />

้นสูงหรือต ่าเกินไปจะมีผลต่อการฟักของไข่ เช่น<br />

2.1 ความชื ้นต ่าเกินไป<br />

การที่ตู้ฟักมีความชื<br />

้นต ่าเกินไปจะท าให้ไข่ฟักสูญเสียความชื ้น ลูกไก่ที่ฟักออกจะตัวเล็ก<br />

ซีด<br />

ขนหยอง บ่อยครั ้ งพบว่าลูกไก่มีขนสั ้ นเกินไป มีเศษเปลือกติดขน อัตราการตายสูงในช่วงสัปดาห์<br />

แรก ลักษณะอาการที่เหมือนกันจะปรากฏเมื<br />

่อไข่ฟักถูกเก็บไว้นานและอยู ่ในสภาพที่มีความชื<br />

้นต ่า<br />

เกินไปหรือคุณภาพเปลือกไข่ต ่ากว่ามาตรฐาน ดังนั ้นลักษณะอาการที่ปรากฏนี<br />

้จึงเกิดได้จากอิทธิพล<br />

ของสภาพอากาศภายในตู้ฟักและคุณภาพไข่ฟัก (อาวุธ, 2539)<br />

Smith (2009) กล่าวว่าลูกไก่ต้องการความชื ้นในกระบวนการฟักไข่เพื ่อป้ องกันการแห้ง<br />

ของผนังเซลล์ ความชื ้นต ่าจะส่งผลให้ไก่เจาะเปลือกออกได้ยากและอาจตายได้ ซึ ่งสามารถท าการ<br />

เพิ่มความชื<br />

้นได้โดยการเพิ่มถาดน<br />

้า<br />

2.2 ความชื ้นสูงเกินไป<br />

ความชื ้นที่สูงเกินไปมีผลท<br />

าให้การสูญเสียความชื ้นภายในไข่ลดลง ท าให้ลูกไก่ตายในไข่<br />

ฟัก เนื่องจากหายใจไม่ออกและมีเมือกเหนียวๆติดอยู<br />

่รอบปาก ในสภาพที่มีความชื<br />

้นสูงเกินไป<br />

เปลือกไข่จะชื ้นแฉะ และมีประสิทธิภาพในการแลกเปลี ่ยนก๊าซต ่า ลูกไก่ที่เกิดจะมีช่องท้องที<br />

่ขยาย<br />

3


ใหญ่ สะดือเปี ยกแฉะ ขนไม่แห้ง และมีเศษไข่ติดอยู ่ ท าให้ขนแข็งกระด้าง อย่างไรก็ตามขนที่แข็ง<br />

กระด้างอาจเกิดจากการขาดสารอาหารของพ่อแม่พันธุ์ได้ (อาวุธ, 2539)<br />

ในขณะที่ตัวอ่อนมีการเจริญและเปลี<br />

่ยนรูปร่างไปเป็ นลูกไก่ที่มีขนาดปกติ<br />

องค์ประกอบ<br />

ของไข่จะมีการระเหยน ้าอย่างต่อเนื่องในระดับปกติ<br />

แต่ถ้ามีการระเหยน ้าน้อยเกินไปลูกไก่ที ่ฟัก<br />

ออกมาจะมีตัวโตกว่าปกติและอ่อนแอ นอกจากนี ้ยังมีผลท าให้อัตราการฟักออกต ่า การควบคุมการ<br />

ระเหยน ้าจะต้องควบคุมความชื ้นภายในตู้ฟักให้เหมาะสม เพราะความชื ้นภายนอกที่อยู่รอบๆไข่จะ<br />

เป็ นตัวก าหนดการสูญเสียน ้าหนักไข่ โดยความชื ้นสูงการระเหยน ้าจะต ่าแต่ถ้าความชื ้นต ่าการ<br />

ระเหยน ้าจะสูง (อาวุธ, 2539)<br />

3. การระบายอากาศ<br />

อากาศที่ไหลเวียนบนฟองไข่เป็<br />

นปัจจัยส าคัญในการออกแบบตู้ฟัก ในตู้ฟักไข่แบบไม่มีพัด<br />

ลมระบายอากาศภายในตู้ฟักจะเคลื่อนที่โดยอาศัยหลักการพาความร้อน<br />

(convention) การติดตั ้งพัด<br />

ลมจะช่วยให้ความร้อนกระจายอย่างสม ่าเสมอ ตู้ฟักไข่จ าเป็ นต้องติดตั ้งพัดลมระบายอากาศเพราะ<br />

ฟักไข่จ านวนมากในเวลาเดียวกัน ตู้ฟักไข่ขนาดใหญ่ (large scale) เช่น แบบ walk - in ที่ฟักไข่ครั<br />

้ ง<br />

ละ 100,000 ฟองซึ ่งจะต้องคงสภาพแวดล้อมในการฟักให้เหมาะสม โดยใช้พัดลมความเร็วสูงท า<br />

หน้าที่หมุนเวียนอากาศรวมทั<br />

้งกระจายอุณหภูมิและความชื ้นภายในตู้ฟักและตู้เกิดให้มีความ<br />

เหมาะสม อากาศจะไหลเวียนโดยตรงจากท่อที่อยู่ในเพดาน<br />

อากาศส่วนหนึ ่งจะไหลเวียนอยู่ภายใน<br />

และบางส่วนจะผ่านออกทางท่อดูดอากาศ ถ้าเป็ นตู้ฟักขนาดเล็กจะต้องมีรูระบายอากาศที ่ผนังตู้<br />

ด้านบน ด้านข้าง หรือด้านล่างการปรับปริมาณอากาศที ่ผ่านเข้าออกโดยการปรับขนาดของรูจาก<br />

แผ่นปิ ด (อาวุธ, 2539)<br />

ออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์มีผลต่อการเจริ ญของตัวอ่อนในกระบวนการฟัก<br />

ปริมาณออกซิเจนที ่สูงหรือต ่าเกินไปส่งผลต่อการตายของตัวอ่อน แต่ปริมาณออกซิเจนในช่วง 15 –<br />

40 % ยังเป็ นค่าที่ยอมรับได้<br />

เช่นเดียวกับปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่สูงหรือต<br />

่าเกินไปจะส่งผลต่อ<br />

การเจาะเปลือกของลูกไก่ (Tullet, 1991) ถ้าการระบายอากาศไม่เพียงพอจะส่งผลกระทบต่ออัตรา<br />

การฟักออกของไข่ฟัก นอกจากนี ้การไหลเวียนของอากาศบริสุทธิ ์ จะช่วยให้อุณหภูมิและออกซิเจน<br />

กระจายทั่วทุกจุดของตู้ฟักอย่างสม<br />

่าเสมอ (อนุชา, 2540)<br />

Meijerhof (2006b) ได้กล่าวว่าไข่ที ่อยู่ในที่ที่มีอุณหภูมิที<br />

่เหมือนกัน ไข่ที่อยู่ในที่ที่มี<br />

ความเร็วลมมากกว่าจะเกิดการสูญเสียความร้อนมากกว่าไข่ที ่อยู่ในที่ที่มีความเร็วลมน้อยกว่า<br />

อุณหภูมิของตัวอ่อนอาจจะแตกต่างกัน 3 - 4 °F ในช่วงท้ายของการฟัก ซึ ่ งก็บ่งชี ้ ให้เห็นว่าถ้า<br />

ความเร็วลมในตู้ฟักแตกต่างกัน ก็จะท าให้อุณหภูมิตัวอ่อนไม่เท่ากันถึงแม้ว่าจะมีอุณหภูมิในอากาศ<br />

เท่ากัน<br />

4


4. การวางไข่และการกลับไข่<br />

การวางไข่ฟักให้อยู่ในต<br />

าแหน่งหรือท่าที ่ถูกต้อง (proper position) จะท าให้อัตราการฟัก<br />

ออกเป็ นไปตามปกติ โดยวางเอาทางด้านป้ านของฟองไข่ขึ ้นด้านบน (large end up) เพราะว่าใน<br />

สัปดาห์ที่<br />

2 ของการฟักไข่ตัวอ่อนจะหมุนล าตัวให้ขนานกับแกนยาวของฟองไข่ และส่วนของ<br />

ศีรษะจะพัฒนาใกล้กับบริเวณช่องอากาศของฟองไข่ ดังนั ้นถ้าหากวางผิดต าแหน่งโดยเอาทางด้าน<br />

ปลายแหลมของฟองไข่ขึ ้นด้านบน (small ends up) จะท าให้ตัวอ่อนประมาณ 60 % อยู่ในท่าที่<br />

ผิดปกติโดยหันเอาศีรษะไปทางด้านปลายแหลมของฟองไข่จึงไม่สามารถหายใจเอาออกซิเจนจาก<br />

ช่องอากาศในระหว่างวันที ่ 18 - 20 ได้ และตัวอ่อนจะตายคาฟองในที่สุด<br />

(อนุชา, 2544)<br />

การกลับไข่ป้ องกันไม่ให้ตัวอ่อนติดกับเยื่อเปลือกไข่ด้านใน<br />

ถ้าตัวอ่อนติดเยื ่อหุ้มไข่แดงจะ<br />

แยกแตกท าให้ตัวอ่อนตาย ตัวอ่อนที่เริ่มเจริญจะเกาะติดกับถุงคอริออน<br />

ถุงอัลแลนทัวและติดกับเยื ่อ<br />

หุ้มเปลือกไข่ด้านในที ่หุ้มไข่ขาว ป้ องกันโดยการกลับไข่ใน 7 วันแรก การกลับไข่ท าให้ตัวอ่อน<br />

เคลื่อนที่ได้ง่ายขึ<br />

้น เพื่อไปอยู่ในลักษณะที่ปกติก่อนการออกจากไข่และช่วยลดลักษณะผิดปกติได้<br />

(Tullet, 1991)<br />

ตารางที่<br />

1 การเจริญของตัวอ่อนในระยะต่างๆ<br />

ระยะต่างๆ การเจริญของตัวอ่อน<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ไข่ฟักวันที 1 เมื่อไข่ได้รับอุณหภูมิฟักประมาณ<br />

99.5 ˚F<br />

ชั่วโมงที<br />

4 เริ่มพัฒนาหัวใจและเส้นเลือด<br />

ชั่วโมงที<br />

12 เริ่มมีการเต้นของหัวใจ<br />

ชั่วโมงที<br />

16 เริ่มปรากฏรูปร่างของตัวอ่อน<br />

ชั่วโมงที<br />

18 เริ่มปรากฏระบบทางเดินอาหาร<br />

ชั่วโมงที<br />

21 เริ่มเกิดระบบประสาท<br />

ชั่วโมงที<br />

22 เริ่มก<br />

าเนิดส่วนหัวของตัวอ่อน<br />

ชั่วโมงที<br />

23 เริ่มปรากฏจุดของเส้นเลือด<br />

ชั่วโมงที<br />

24<br />

ไข่ฟักวันที 2<br />

เริ่มเกิดนัยน์ตา<br />

ชั่วโมงที<br />

25 เริ่มสร้างส่วนที<br />

่เป็ นหัวใจและเส้นเลือดต่างๆ<br />

ชั่วโมงที<br />

30 เริ่มปรากฏตุ่มของสมอง<br />

ชั่วโมงที<br />

35 เริ่มสร้างส่วนที<br />

่เป็ นหู<br />

ชั่วโมงที<br />

42 หัวใจเริ่มเต้น<br />

เริ่มมีการไหลเวียนของโลหิต<br />

ชั่วโมงที<br />

46 เริ่มสร้างส่วนคอ<br />

5


ตารางที่<br />

1 (ต่อ)<br />

ระยะต่างๆ การเจริญของตัวอ่อน<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ไข่ฟักวันที 3<br />

ชั่วโมงที<br />

50 ถุงน ้าคร ่าเริ่มเกิดและมีของเหลวเกิดขึ<br />

้น<br />

ชั่วโมงที<br />

60 เริ่มสร้างส่วนที<br />

่เป็ นจมูก<br />

ชั่วโมงที<br />

62 ส่วนของขาเริ่มเจริญขึ<br />

้น<br />

ชั่วโมงที<br />

64 ส่วนของปี กเริ่มเจริญขึ<br />

้น<br />

ไข่ฟักวันที 4 เริ่มสร้างลิ้น<br />

อวัยวะต่างๆปรากฏชัดเจน และมองเห็น<br />

ระบบเส้นเลือด<br />

ไข่ฟักวันที 5 หัวใจเริ่มพัฒนาเป็<br />

นรูปร่างที ่สมบูรณ์<br />

ไข่ฟักวันที 6 เริ่มมีจงอยปาก<br />

ไข่ฟักวันที 7 ส่วนของร่างกายเจริญรวดเร็วกว่าส่วนหัว<br />

ไข่ฟักวันที 8 เริ่มปรากฏตุ่มขน<br />

ไข่ฟักวันที 10 ปากเริ่มแข็ง<br />

นิ้วเท้าและเกล็ดที่แข้งเริ่มปรากฏให้เห็น<br />

ไข่ฟักวันที 11 เริ่มปรากฏผนังช่องท้อง<br />

และเห็นระบบล าไส้เจริญในถุง<br />

ไข่แดง<br />

ไข่ฟักวันที 13 เริ่มปรากฏขนอ่อน<br />

ไข่ฟักวันที 14 ตัวอ่อนหมุนล าตัวขนานกับแกนตามความยาวของฟอง<br />

ไข่<br />

ไข่ฟักวันที 16 เกล็ด เล็บ และปากจะแข็งเป็ นจงอยปาก<br />

ไข่ฟักวันที 17 ตัวอ่อนหมุนเอาจงอยปากซุกใต้ปี กขวา และหันหน้า<br />

ไปสู่ส่วนล่างของช่องอากาศที<br />

่มีขนาดใหญ่ขึ ้น<br />

ไข่ฟักวันที 19 ถุงไข่แดงและไข่แดงเริ่มเคลื่อนเข้าสู่ท้องของตัวอ่อน<br />

ไข่ฟักวันที 20 ถุงไข่แดงและไข่แดงเริ่มเคลื่อนเข้าสู่ช่องท้องของตัว<br />

อ่อนอย่างสมบูรณ์ในขณะนี ้ตัวอ่อนจะอยู่เต็มฟองไข่<br />

ยกเว้นส่วนที ่เป็ นฟองอากาศ สะดือของตัวอ่อนเริ ่มปิ ด<br />

ตัวอ่อนเริ่มเจาะเยื่อเปลือกไข่เข้าสู่ช่องอากาศและเริ่มสูด<br />

อากาศช้าๆ การหายใจด้วยปอดของลูกไก่ก็เริ่มขึ<br />

้น<br />

6


ตารางที่<br />

1 (ต่อ)<br />

ระยะต่างๆ การเจริญของตัวอ่อน<br />

ไข่ฟักวันที่<br />

21 หลังจากลูกไก่เจาะทะลุเปลือกไข่ที ่ช่องอากาศ ลูกไก่จะ<br />

หยุดพักเป็ นเวลา 4 - 5 ชั่วโมงและจะค่อยๆ<br />

เจาะรอบ<br />

เปลือกไข่ทางด้านป้ านในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา<br />

ระยะเวลาที ่ในการเจาะเปลือกไข่จนลูกไก่สามารถ<br />

ออกมาจากฟองไข่ได้นั ้น ใช้เวลาประมาณ 10 - 20<br />

ชั่วโมง<br />

ในขณะที่ลูกไก่เกิดมาใหม่ๆตัวจะเปี<br />

ยกและยังไม่<br />

สามารถเดินได้ ลูกไก่จะต้องอยู ่ในตู้เกิดต่อไปอีก 2 - 3<br />

ชั่วโมง<br />

จึงจะแข็งแรงและขนแห้งฟู<br />

ที่มา<br />

: มานิตย์ (2538)<br />

การตายของตัวอ่อนช่วงที่น<br />

าไข่เข้าฟัก<br />

การตายของตัวอ่อนแบ่งออกเป็ น 3 ระยะ คือ<br />

1. การตายของตัวอ่อนระยะแรก<br />

ตัวอ่อนที่ตายในช่วง<br />

3 วันแรกของการฟัก ไข่บางฟองจะไม่มีการเจริญเมื ่อน าเข้าฟักซึ ่งเป็ น<br />

ผลมาจากสภาพการเก็บรักษาไข่ที่ไม่ดีในช่วงเวลาที<br />

่ไข่ถูกวางออกมาและระยะเวลาก่อนที ่จะน าเข้า<br />

ฟักท าให้การมีชีวิตของตัวอ่อนต ่าลง แต่การตายของตัวอ่อนระยะแรกส่วนใหญ่จะจ าแนกโดยดูจาก<br />

การปรากฏของเลือดที่ตกตะกอนอยู่ท<br />

าให้ไม่สามารถแยกหรือพิสูจน์ได้จนกว่าระบบเลือดจะเจริญ<br />

ถ้าระบบเส้นเลือดเจริญดีแล้วในขณะที ่ตัวอ่อนตายเลือดจะยังคงหมุนเวียนอยู่ที่ขอบนอกของเส้น<br />

เลือดและจับเป็ นก้อนวงเลือด ในการรมควันด้วยก๊าซฟอร์มาลดีไฮด์ที ่มากเกินไประหว่างการเก็บ<br />

รักษาไข่จะเป็ นสาเหตุให้การตายระยะนี ้เพิ่มมากขึ<br />

้น<br />

2. การตายของตัวอ่อนในระยะที่<br />

2 ช่วงอายุ 8 - 18 วัน<br />

การตายในแต่ละวันของตัวอ่อนในระยะที่<br />

2 จะค่อนข้างต ่าแต่บางทีอาจจะสูง ในช่วงนี ้การ<br />

ขาดโภชนะส่วนใหญ่ในอาหารไก่พันธุ์มีผลอย่างมากต่อตัวอ่อน ถึงแม้ว่าระดับวิตามินเอที ่น้อย<br />

เกินไปจะท าให้ตัวอ่อนตายมากในระยะที ่ 2 เพราะวิตามินเอช่วยในการพัฒนาระบบเส้นเลือด<br />

นอกจากนี ้ การขาดโภชนะยังมีผลท าให้ตัวอ่อนผิดปกติได้ เช่น นิ้วงอ ตัวแคระแกรน กระดูกสั ้ น<br />

ปากแบบนกแก้ว จงอยปากและกระดูกผิดปกติ มีจุดเลือด และตัวบวมน ้า<br />

7


3. การตายของตัวอ่อนในระยะที่<br />

3 ช่วงอายุ 19 - 21 วัน<br />

ในช่วง 3 วันสุดท้ายเป็ นระยะวิกฤตอีกระยะหนึ ่ง มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกิดขึ<br />

้นใน<br />

ระยะนี ้ การตายส่วนใหญ่เกิดจากปัจจัยที ่มีผลต่อระยะเวลาที่ยาวนาน<br />

ลูกไก่ที่ฟักไม่ออกจะเกิดจาก<br />

การจัดท่าผิดต าแหน่งถึง 50 % ซึ ่งเกิดจากการวางไข่โดยเอาด้านแหลมขึ ้น (มานิตย์, 2538)<br />

ตารางที่<br />

2 สาเหตุการตายของตัวอ่อน<br />

ปัญหาที่พบ<br />

สาเหตุที่เกิด<br />

้<br />

- ตัวอ่อนตายในระยะ 1 - 7 วันแรก - เก็บไข่ฟักนานเกินไป<br />

(dead embryo first week) - อุ ณหภูมิ และความ ชื นในห้องเก็บไข่ไ ม่<br />

เหมาะสม<br />

- อุณหภูมิในตู้ฟักไข่สูงหรือต ่าเกินไป<br />

- การกลับไข่ไม่เหมาะสม<br />

- การระบายอากาศในตู้ฟักไข่ไม่เพียงพอ<br />

- ตัวอ่อนตายในระยะ 8-18วัน - อุณหภูมิในการเก็บรักษาไข่ฟักไม่เย็นพอ<br />

(8 - 18 days mortality) - การกลับไข่ไม่เหมาะสม<br />

- การระบายอากาศในตู้ฟักไข่ไม่เพียงพอท าให้<br />

มีคาร์บอนไดออกไซด์สูงเกินไป<br />

- อุณหภูมิในตู้ฟักไข่สูงหรือต ่าเกินไป<br />

- ตัวอ่อนตายในระยะ 19 - 21 วัน - เก็บไข่ฟักไว้นานเกินไป<br />

(19 - 21 days mortality) - วางไข่เอาด้านปลายแหลมขึ ้น<br />

- การกลับไข่ไม่เหมาะสม<br />

- อุณหภูมิในตู้ฟักไข่และตู้เกิดลูกไก่สูงเกินไป<br />

- ความชื ้นในตู้ฟักไข่ต ่าเกินไป<br />

- ความชื ้นในตู้เกิดลูกไก่สูงเกินไป<br />

- การระบายอากาศในตู้ฟักไข่ไม่เพียงพอท าให้<br />

มีคาร์บอนไดออกไซด์สูงเกินไป<br />

- ไข่ใสส่องไม่พบการเจริญของตัวอ่อน - ไข่ไม่มีเชื ้อ<br />

(clear eggs) - การเก็บรักษาไข่ฟักไม่เหมาะสม<br />

- การรมควันก๊าซฆ่าเชื ้อแรงเกินไป<br />

- ตัวอ่อนตายระยะเริ่มแรกของการฟักไข่<br />

8


ตารางที่<br />

2 (ต่อ)<br />

ปัญหาที่พบ<br />

สาเหตุที่เกิด<br />

- ท่าผิดปกติ - วางไข่เอาด้านปลายแหลมขึ ้น<br />

(malpositions) - ไข่รูปทรงผิดปกติ<br />

- การกลับไข่ไม่เหมาะสม<br />

- ลูกไก่ฟักออกเร็วเกินไป - ไข่ฟองเล็กกว่าปกติ<br />

(chicks hatch early) - อุณหภูมิในตู้ฟักไข่สูงเกินไป<br />

- อุณหภูมิในตู้ฟักไข่ต ่าเกินไป<br />

่<br />

- ไก่ฟักออกช้าเกินไป - อุณหภูมิในการเก็บรักษาไข่ฟักไม่เย็นพอ<br />

(chicks hatch late) - ไข่ฟองใหญ่กว่าปกติ<br />

- เก็บไข่ฟักไว้นานเกินไป<br />

- อุณหภูมินอกตู้ฟักไม่คงที<br />

- อุณหภูมิในตู้ฟักไข่ต ่าเกินไป<br />

- ความชื ้นในตู้ฟักไข่ต ่าเกินไป<br />

- อุณหภูมิในตู้เกิดต ่าเกินไป<br />

ที่มา<br />

: อนุชา (2544)<br />

9


อุปกรณ์และวิธีการ<br />

อุปกรณ์<br />

1. ไข่ฟักพันธุ์ Arber Acres รุ่น AO เล้า 22<br />

2. ตู้ฟัก - ตู้เกิดแบบ Multi - stage ยี่ห้อ<br />

Jamesway รุ่น Super J<br />

3. เครื่องบันทึกอุณหภูมิ<br />

i - Button<br />

4. เครื่องวัดความเร็วลม<br />

(Anemometer)<br />

วิธีการ<br />

1. แผนการทดลอง<br />

การศึกษาการกระจายของอุณหภูมิภายในตู้ฟัก โดยแบ่งการวัดอุณหภูมิออกเป็ น 6 ชั ้น<br />

(ชั ้นที่<br />

1, 4, 7, 10, 13 และ 15) ชั ้นละ 3 จุด<br />

2. วิธีการ<br />

ก. การศึกษาการกระจายตัวของอุณหภูมิภายในตู ้ฟัก<br />

1. น าไข่ฟักที่รับมาจากฟาร์มที่ผ่านการรมควันฆ่าเชื<br />

้อมาเก็บไว้ในห้องเย็นที่มีอุณหภูมิ<br />

60 – 68 องศาฟาเรนไฮต์<br />

2. น าไข่ฟักรุ่น AO เล้าที่<br />

22 จัดเรียงในรถเข็นจนเต็มคันรถ จ านวน 15,120 ฟอง<br />

3. น า i - Button ติดบนฟองไข่ที่ขอบแผงที่<br />

1, 2 และ 3 ชั ้นที่<br />

1, 4, 7, 10, 13 และ 15 แล้วน า<br />

ไข่เข้าตู้ฟัก<br />

10


ชั ้นที่<br />

15<br />

ชั ้นที่<br />

13<br />

ชั ้นที่<br />

10<br />

ชั ้นที่<br />

7<br />

ชั ้นที่<br />

4<br />

ชั ้นที่<br />

1<br />

ต าแหน่งติด i - Button ของทุกแผง<br />

แผงที่<br />

1 แผงที่<br />

2 แผงที่<br />

3<br />

ภาพที่<br />

1 แสดงต าแหน่งการติด i - Button (เม็ดกระดุม)<br />

11


4. ตู้ฟักก าหนดอุณหภูมิกระเปาะแห้งไว้ที่<br />

98.7 องศาฟาเรนไฮต์ อุณหภูมิกระเปาะเปี ยก<br />

85.5 องศาฟาเรนไฮต์<br />

ภาพที่<br />

2 แสดงต าแหน่งอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิภายในตู้ฟัก<br />

ข. การศึกษาความเร็วลมแต่ละจุดภายในตู ้ฟัก<br />

1. วัดความเร็วลมภายในตู้ฟักที่<br />

5 โดยใช้ Anemometer<br />

2. ท าการวัดความเร็วลมเมื ่อมีไข่ฟักเต็มตู้ วัดความเร็วลมขณะที ่ไข่กลับทางด้านซ้ายที่รถไข่<br />

ฟักอายุ 1 วัน และรถไข่ฟักอายุ 18 วัน<br />

3. วัดในชั ้นที่<br />

1, 4, 7, 10, 13 และ 15 ชั ้นละ 3 จุด จับเวลา 15 วินาที บันทึกค่าต ่าสุด สูงสุด<br />

และค่าที่ได้ใน<br />

15 วินาที การวัดความเร็วลมแต่ละชั ้นระยะเวลาห่างกันประมาณ 1 นาที<br />

4. ท าการกลับไข่ให้อยู ่ทางด้านขวาแล้วเว้นระยะการวัดความเร็วลมประมาณ 30 นาที<br />

เพื่อให้ความเร็วลมคงที่<br />

5. ท าการวัดความเร็วลมตามข้อที่<br />

2 และ 3<br />

12


ภาพที่<br />

3 แสดงการวัดความเร็วลมภายในตู้ฟัก<br />

ภาพที่<br />

4 แสดงต าแหน่งการวัดความเร็วลม<br />

ค. การศึกษาการตายของตัวอ่อนแต่ละระยะ<br />

1. น าไข่ที่ฟักไม่ออกของชั<br />

้นที่<br />

1, 4, 7, 10, 13 และ 15 (ตามรถตู้ฟัก) มาเคาะหาสาเหตุ<br />

การตาย<br />

2. บันทึกไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกแต่ละระยะ<br />

13<br />

วัด 3 จุด ของชั ้นที่<br />

1, 4, 7, 10, 13 และ 15


3. เวลาในการทดลอง<br />

เริ่มการทดลองเมื่อวันที่<br />

20 พฤศจิกายน 2553 เสร็จสิ้นการทดลองเมื ่อวันที่<br />

7 กุมภาพันธ์<br />

2554<br />

4. การบันทึกผลการทดลอง<br />

1. บันทึกอุณหภูมิภายในตู้ฟักด้วย i - Button (เม็ดกระดุม)<br />

2. บันทึกความเร็วลมระหว่างชั ้นในรถตู้ฟักด้วย Anemometer<br />

3. บันทึกผลของไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกตามระยะเวลาของการฟัก<br />

5. สถานที่ท<br />

าการทดลอง<br />

บริษัท บี. ฟู ้ ด โปรดักส์ อินเตอร์เนชั ่นแนล จ ากัด (โรงฟักไข่) ต.โคกสลุง อ.พัฒนานิคม<br />

จ.ลพบุรี<br />

14


ผลการทดลอง<br />

จากการทดลองเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความเร็วลมและอุณหภูมิในตู้ฟักต่ออัตราการ<br />

สูญเสียของไข่ฟัก โดยการวัดความเร็วลมและอุณหภูมิแต่ละชั ้นของรถตู้ฟัก ได้ผลการทดลองดังนี ้<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยของไข่ฟักแต่ละชั<br />

้นในช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยของไข่ฟักในช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน แสดงในตารางที่<br />

3 พบว่าต าแหน่งของไข่<br />

ฟักแบ่งออกเป็ น 6 ชั ้น ซึ ่งในชั ้นที่<br />

1 มีความเร็วลมเฉลี ่ย 297 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

4 มีความเร็วลมเฉลี ่ย<br />

328 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

7 มีความเร็วลมเฉลี่ย<br />

332 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

10 มีความเร็วลมเฉลี ่ย 310 ฟุตต่อ<br />

นาที, ชั ้นที่<br />

13 มีความเร็วลมเฉลี ่ย 303 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

15 มีความเร็วลมเฉลี ่ย 831 ฟุตต่อนาที<br />

ตามล าดับ<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยของไข่ฟักแต่ละชั<br />

้นในช่วงอายุ 16 – 18 วัน<br />

ความเร็วลมเฉลี ่ยของไข่ฟักในช่วงอายุ 16 – 18 วัน แสดงในตารางที่<br />

3 พบว่าต าแหน่งของ<br />

ไข่ฟักแบ่งออกเป็ น 6 ชั ้น ซึ ่งในชั ้นที่<br />

1 มีความเร็วลมเฉลี ่ย 165 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

4 มีความเร็วลม<br />

เฉลี่ย<br />

123 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

7 มีความเร็วลมเฉลี ่ย 106 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

10 มีความเร็วลมเฉลี ่ย 112<br />

ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

13 มีความเร็วลมเฉลี ่ย 90 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

15 มีความเร็วลมเฉลี ่ย 96 ฟุตต่อนาที<br />

ตามล าดับ<br />

ค่าเฉลี่ยความเร็วลมของไข่ฟักแต่ละชั<br />

้น<br />

ค่าเฉลี่ยความเร็วลมของไข่ฟักแต่ละชั<br />

้น แสดงในตารางที่<br />

3 พบว่า ต าแหน่งของไข่ฟักใน<br />

ชั ้นที่<br />

1 มีค่าเฉลี่ยความเร็วลม<br />

231 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

4 มีค่าเฉลี่ยความเร็วลม<br />

225 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

7<br />

มีค่าเฉลี่ยความเร็วลม<br />

219 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

10 มีค่าเฉลี่ยความเร็วลม<br />

211 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

13 มี<br />

ค่าเฉลี่ยความเร็วลม<br />

196 ฟุตต่อนาที, ชั ้นที่<br />

15 มีค่าเฉลี่ยความเร็วลม<br />

463 ฟุตต่อนาที ตามล าดับ<br />

เปอร์เซ็นต์รวมของไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกในช่วงอายุ<br />

1 – 18 วัน<br />

เปอร์เซ็นต์รวมของไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกในช่วงอายุ<br />

1 – 18 วัน แสดงในตารางที่<br />

4 พบว่า<br />

ชั ้นที่<br />

1 มีเปอร์เซ็นต์รวมของไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

3.45 เปอร์เซ็นต์, ชั ้นที่<br />

4 มีเปอร์เซ็นต์รวมของ<br />

ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

2.78 เปอร์เซ็นต์, ชั ้นที่<br />

7 มีเปอร์เซ็นต์รวมของไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

2.33<br />

เปอร์เซ็นต์, ชั ้นที่<br />

10 มีเปอร์เซ็นต์รวมของไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

3.45 เปอร์เซ็นต์, ชั ้นที่<br />

13 มี<br />

เปอร์เซ็นต์รวมของไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

3.53 เปอร์เซ็นต์, ชั ้นที่<br />

15 มีเปอร์เซ็นต์รวมของไข่ฟักมี<br />

เชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

3.75 เปอร์เซ็นต์<br />

15


อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิเฉลี่ย<br />

อยู่ที่<br />

98.6 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.5 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มีอุณหภูมิ<br />

เฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.9 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.9 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มี<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.9 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

98.6 องศาฟาเรนไฮด์<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

4 – 6 วัน<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

4 – 6 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิเฉลี่ย<br />

อยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

97.2 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มีอุณหภูมิ<br />

เฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.0 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.5 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มี<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

98.6 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

97.7 องศาฟาเรนไฮด์<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

7 – 9 วัน<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

7 – 9 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิเฉลี่ย<br />

อยู่ที่<br />

96.3 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

97.7 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มีอุณหภูมิ<br />

เฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.5 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.5 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มี<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

98.6 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

10 – 12 วัน<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

10 – 12 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

เฉลี่ยอยู่ที่<br />

95.9 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิเฉลี ่ยอยู่ที่<br />

98.1 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.5 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.5 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.9 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

98.6 องศาฟาเรน<br />

ไฮด์<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

13 – 15 วัน<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

13 – 15 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

เฉลี่ยอยู่ที่<br />

98.6 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิเฉลี ่ยอยู่ที่<br />

100.4 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

100.8 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

100.4 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

100.8 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

98.6 องศาฟาเรน<br />

ไฮด์<br />

16


อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

16 – 18 วัน<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟักช่วงอายุ<br />

16 – 18 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

เฉลี่ยอยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิเฉลี ่ยอยู่ที่<br />

98.6 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.0 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.0 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

100.4 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่<br />

99.0 องศาฟาเรน<br />

ไฮด์<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

สูงสุดอยู ่ที่<br />

100.4 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

101.3 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

102.2 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

102.2 องศาฟาเรนไฮด์<br />

ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

102.2 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

100.4<br />

องศาฟาเรนไฮด์<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 4 – 6 วัน<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 4 – 6 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

สูงสุดอยู ่ที่<br />

100.4 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

101.3 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

101.3 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

102.2 องศาฟาเรนไฮด์<br />

ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

101.3 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

101.3<br />

องศาฟาเรนไฮด์<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 7 – 9 วัน<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 7 – 9 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

สูงสุดอยู ่ที่<br />

100.4 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

102.2 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

102.2 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

102.2 องศาฟาเรนไฮด์<br />

ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

102.2 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

101.3<br />

องศาฟาเรนไฮด์<br />

17


อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 10 – 12 วัน<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 10 – 12 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

สูงสุดอยู ่ที่<br />

100.4 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

101.3 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

103.1 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

103.1 องศาฟาเรนไฮด์<br />

ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

103.1 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

102.2<br />

องศาฟาเรนไฮด์<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 13 – 15 วัน<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 13 – 15 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

สูงสุดอยู ่ที่<br />

104.9 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

104.9 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

104.9 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

104.9 องศาฟาเรนไฮด์<br />

ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

104.9 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

103.1<br />

องศาฟาเรนไฮด์<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

สูงสุดอยู ่ที่<br />

101.3 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

103.1 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

104.0 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

104.9 องศาฟาเรนไฮด์<br />

ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

104.9 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิสูงสุดอยู ่ที่<br />

104.0<br />

องศาฟาเรนไฮด์<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

ต ่าสุดอยู ่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู ่ที่<br />

97.7 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

97.7 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

97.7 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

97.7 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรน<br />

ไฮด์<br />

18


อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 1 – 3 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

ต ่าสุดอยู ่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู ่ที่<br />

97.7 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

97.7 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

97.7 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

97.7 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรน<br />

ไฮด์<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 4 – 6 วัน<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 4 – 6 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

ต ่าสุดอยู ่ที่<br />

93.2 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู ่ที่<br />

93.2 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

95.9 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

94.1 องศาฟาเรน<br />

ไฮด์<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 7 – 9 วัน<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 7 – 9 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

ต ่าสุดอยู ่ที่<br />

92.3 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู ่ที่<br />

93.2 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

95.0 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

92.3 องศาฟาเรน<br />

ไฮด์<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 10 – 12 วัน<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 10 – 12 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

ต ่าสุดอยู ่ที่<br />

91.4 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู ่ที่<br />

95.0 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

95.9 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

95.9 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

95.0 องศาฟาเรน<br />

ไฮด์<br />

19


อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 13 – 15 วัน<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 13 – 15 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

ต ่าสุดอยู ่ที่<br />

92.3 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู ่ที่<br />

95.9 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

95.9 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

96.8 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

94.1 องศาฟาเรน<br />

ไฮด์<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟักช่วงอายุ 16 – 18 วัน แสดงในตารางที่<br />

5 พบว่าชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิ<br />

ต ่าสุดอยู ่ที่<br />

92.3 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู ่ที่<br />

94.1 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มี<br />

อุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

94.1 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

93.2 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

95.9 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มีอุณหภูมิต ่าสุดอยู่ที่<br />

94.1 องศาฟาเรน<br />

ไฮด์<br />

20


่<br />

่<br />

ตารางที 3 แสดงความเร็วลมเฉลี่ยของไข่ฟักแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 1 - 3 วัน, 16 - 18 วัน และ<br />

ค่าเฉลี่ยความเร็วลมของไข่ฟักแต่ละชั<br />

้น<br />

ชั ้นที<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยของไข่ฟัก<br />

ช่วงอายุ 1-3 วัน ช่วงอายุ 16-18 วัน<br />

ค่าเฉลี่ยความเร็วลมของไข่ฟักแต่ละชั<br />

้น<br />

1 297 165 231<br />

4 328 123 225<br />

7 332 106 219<br />

10 310 112 211<br />

13 303 90 196<br />

15 831 96 463<br />

่<br />

่ ่ ่ ่ ่ ่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ตารางที 4 แสดงเปอร์เซ็นต์ของไข่ฟักมีเชื ้อที่ไม่ฟักออกตามเวลา<br />

ต าแหน่งของการฟัก<br />

ชั ้นที 1 ชั ้นที 4 ชั ้นที 7 ชั ้นที 10 ชั ้นที 13 ชั ้นที 15<br />

วันที 1 0.53 0.45 0.60 0.83 0.45 0.60<br />

วันที 3 0.60 0.68 0.45 0.68 0.68 0.83<br />

วันที 6 0.15 0.15 0.23 0.53 0.30 0.30<br />

วันที 10 0.30 0.00 0.15 0.15 0.15 0.38<br />

วันที 12 0.08 0.08 0.15 0.08 0.15 0.00<br />

วันที 16 0.68 0.53 0.08 0.23 0.38 0.60<br />

วันที 18 1.13 0.90 0.68 0.98 1.43 1.05<br />

รวมไข่ที่ฟักไม่ออก<br />

3.45 2.78 2.33 3.45 3.53 3.75<br />

21


่<br />

่ ่ ่ ่ ่ ่<br />

ตารางที 5 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย<br />

อุณหภูมิสูงสุด และอุณหภูมิต ่าสุดแต่ละชั ้นของรถตู้ฟัก<br />

ต าแหน่งของการฟัก<br />

ชั ้นที 1 ชั ้นที 4 ชั ้นที 7 ชั ้นที 10 ชั ้นที 13 ชั ้นที 15<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยของไข่ฟัก<br />

ช่วงอายุ 1-3 วัน 98.6 99.5 99.9 99.9 99.9 98.6<br />

ช่วงอายุ 4-6 วัน 96.8 97.2 99.0 99.5 98.6 97.7<br />

ช่วงอายุ 7-9 วัน 96.3 97.7 99.5 99.5 98.6 96.8<br />

ช่วงอายุ 10-12 วัน 95.9 98.1 99.5 99.5 99.9 98.6<br />

ช่วงอายุ 13-15 วัน 98.6 100.4 100.8 100.4 100.8 98.6<br />

ช่วงอายุ 16-18 วัน<br />

อุณหภูมิสูงสุดของไข่ฟัก<br />

96.8 98.6 99.0 99.0 100.4 99.0<br />

ช่วงอายุ 1-3 วัน 100.4 101.3 102.2 102.2 102.2 100.4<br />

ช่วงอายุ 4-6 วัน 100.4 101.3 101.3 102.2 101.3 101.3<br />

ช่วงอายุ 7-9 วัน 100.4 102.2 102.2 102.2 102.2 101.3<br />

ช่วงอายุ 10-12 วัน 100.4 101.3 103.1 103.1 103.1 102.2<br />

ช่วงอายุ 13-15 วัน 104.9 104.9 104.9 104.9 104.9 103.1<br />

ช่วงอายุ 16-18 วัน<br />

อุณหภูมิต ่าสุดของไข่ฟัก<br />

101.3 103.1 104.0 104.9 104.9 104.0<br />

ช่วงอายุ 1-3 วัน 96.8 97.7 97.7 97.7 97.7 96.8<br />

ช่วงอายุ 4-6 วัน 93.2 93.2 96.8 96.8 95.9 94.1<br />

ช่วงอายุ 7-9 วัน 92.3 93.2 96.8 96.8 95.0 92.3<br />

ช่วงอายุ 10-12 วัน 91.4 95.0 95.9 95.9 96.8 95.0<br />

ช่วงอายุ 13-15 วัน 92.3 95.9 96.8 95.9 96.8 94.1<br />

ช่วงอายุ 16-18 วัน 92.3 94.1 94.1 93.2 95.9 94.1<br />

22


ภาพที่<br />

5 แสดงค่าเฉลี่ยความเร็วลมของไข่ฟักแต่ละชั<br />

้น<br />

ภาพที่<br />

6 แสดงเปอร์เซ็นต์รวมไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกตามเวลาในแต่ละชั<br />

้น<br />

23


ภาพที่<br />

7 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 1 - 3 วัน<br />

ภาพที<br />

่ 8 แสดงอุณหภูมิเฉลี<br />

่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 4 - 6 วัน<br />

24


ภาพที่<br />

9 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 7 - 9 วัน<br />

ภาพที<br />

่ 10 แสดงอุณหภูมิเฉลี<br />

่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 10 - 12 วัน<br />

25


ภาพที่<br />

11 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 13 - 15 วัน<br />

ภาพที<br />

่ 12 แสดงอุณหภูมิเฉลี<br />

่ยแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 16 - 18 วัน<br />

26


ภาพที่<br />

13 แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 1 - 3 วัน<br />

ภาพที<br />

่ 14 แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 4 - 6 วัน<br />

27


ภาพที่<br />

15 แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 7 - 9 วัน<br />

ภาพที<br />

่ 16 แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 10 - 12 วัน<br />

28


ภาพที่<br />

17 แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 13 - 15 วัน<br />

ภาพที<br />

่ 18 แสดงอุณหภูมิสูงสุดแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 16 - 18 วัน<br />

29


ภาพที่<br />

19 แสดงอุณหภูมิต ่าสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 1 - 3 วัน<br />

ภาพที<br />

่ 20 แสดงอุณหภูมิต<br />

่าสุดแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 4 - 6 วัน<br />

30


ภาพที่<br />

21 แสดงอุณหภูมิต ่าสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 7 - 9 วัน<br />

ภาพที<br />

่ 22 แสดงอุณหภูมิต<br />

่าสุดแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 10 - 12 วัน<br />

31


ภาพที่<br />

23 แสดงอุณหภูมิต ่าสุดแต่ละชั ้นในช่วงไข่ฟักอายุ 13 - 15 วัน<br />

ภาพที<br />

่ 24 แสดงอุณหภูมิต<br />

่าสุดแต่ละชั<br />

้นในช่วงไข่ฟักอายุ 16 - 18 วัน<br />

32


วิจารณ์<br />

จากการศึกษาพบว่า การกระจายตัวของความเร็วลมภายในตู้ฟักที ่ท าการทดลองแบ่ง<br />

ออกเป็ น 6 ต าแหน่ง คือ ชั ้นที่<br />

1 ชั ้นที่<br />

4 ชั ้นที่<br />

7 ชั ้นที่<br />

10 ชั ้นที่<br />

13 และชั ้นที่<br />

15 โดยชั ้นที่<br />

1 อยู่<br />

ต าแหน่งล่างสุดและชั ้นที่<br />

15 อยู่ต<br />

าแหน่งบนสุด ท าให้ความเร็วลมเฉลี ่ยภายในตู้ฟักมีความเเตกต่าง<br />

กัน โดยความเร็วลมของไข่ฟักแต่ละชั ้น พบว่า ชั ้นที่<br />

1 มีความเร็วลมเฉลี่ย<br />

231 ฟุตต่อนาที ชั ้นที่<br />

4 มี<br />

ความเร็วลมเฉลี่ย<br />

225 ฟุตต่อนาที ชั ้นที่<br />

7 มีความเร็วลมเฉลี่ย<br />

219 ฟุตต่อนาที ชั ้นที่<br />

10 มีความเร็วลม<br />

เฉลี่ย<br />

211 ฟุตต่อนาที ชั ้นที่<br />

13 มีความเร็วลมเฉลี ่ย 196 ฟุตต่อนาที 15 มีความเร็วลมเฉลี ่ย<br />

463 ฟุตต่อนาที มี แสดงให้เห็นว่าความเร็วลมภายในตู้ฟักมีความไม่สม ่าเสมอกัน คือชั ้นบน (ชั ้นที่<br />

15) จะมีทิศทางความเร็วลมสูงสุด รองลงมาคือชั ้นล่าง (ชั ้นที่<br />

1) ส่วนบริเวณชั ้นกลาง (ชั ้นที่<br />

7) มี<br />

ความเร็วลมสม ่าเสมอมากกว่าชั ้นบนและชั ้นล่าง<br />

ความเร็วลมมีอิทธิพลต่ออุณหภูมิ คือ ชั ้นที่<br />

1 มีอุณหภูมิเฉลี่ย<br />

97.1 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

4<br />

มีอุณหภูมิเฉลี่ย<br />

98.5 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

7 มีอุณหภูมิเฉลี่ย<br />

99.1 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

10 มี<br />

อุณหภูมิเฉลี่ย<br />

99.2 องศาฟาเรนไฮด์ ชั ้นที่<br />

13 มีอุณหภูมิเฉลี่ย<br />

99.5 องศาฟาเรนไฮด์ และชั ้นที่<br />

15 มี<br />

อุณหภูมิเฉลี่ย<br />

97.5 องศาฟาเรนไฮด์ ซึ ่งสอดคล้องกับ Meijerhof (2006a) กล่าวว่า ไข่ที่อยู่ในที่ที่มี<br />

อุณหภูมิเหมือนกัน ไข่ที่อยู่ในที่ที่มีความเร็วลมมากกว่าจะเกิดการสูญเสียความร้อนมากกว่าไข่ที<br />

่อยู่<br />

ในที่ที่มีความเร็วลมน้อยกว่า<br />

อุณหภูมิของตัวอ่อนอาจจะแตกต่างกันถึง 3 - 4 องศาฟาเรนไฮด์<br />

ในช่วงท้ายของการฟัก ซึ ่งก็บ่งชี ้ให้เห็นว่าถ้าความเร็วลมในตู้ฟักแตกต่างกัน ก็จะท าให้อุณหภูมิตัว<br />

อ่อนไม่เท่ากันถึงแม้ว่าจะมีอุณหภูมิในอากาศเท่ากัน<br />

โดยปกติอุณหภูมิที ่สูงจะมีน ้าหนักเบากว่าอุณหภูมิที ่ต ่ากว่า จึงท าให้ความร้อนลอยขึ ้ น<br />

ด้านบน แต่จากผลการทดลองชั ้นที่<br />

15 เป็ นต าแหน่งที่อยู่บนสุดมีอุณหภูมิ<br />

97.5 องศาฟาเรนไฮด์<br />

และชั ้นที่<br />

1 เป็ นต าแหน่งที่อยู่ล่างสุดมีอุณหภูมิ<br />

97.1 องศาฟาเรนไฮด์ ซึ ่งมีอุณหภูมิต ่ากว่าชั ้นอื่นๆ<br />

อาจจะเป็ นผลมาจากความเร็วลมที ่มีปริ มาณมากท าให้เกิดการสูญเสี ยความร้อนจึงส่งผลให้มี<br />

อุณหภูมิต ่าลง<br />

ผลจากความเร็วลมและอุณหภูมิดังกล่าวมีอิทธิพลต่อเปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

ตามเวลา พบว่าชั ้นที่<br />

1 เท่ากับ 3.45 เปอร์เซ็นต์ ชั ้นที่<br />

4 เท่ากับ 2.78 เปอร์เซ็นต์ ชั ้นที่<br />

7 เท่ากับ 2.33<br />

เปอร์เซ็นต์ ชั ้นที่<br />

10 เท่ากับ 3.45 เปอร์เซ็นต์ ชั ้นที่<br />

13 เท่ากับ 3.53 เปอร์เซ็นต์ และชั ้นที่<br />

15 เท่ากับ<br />

3.75 เปอร์เซ็นต์ โดยพบว่าชั ้นที่<br />

15 มีความเร็วลมสูงเนื่องจากอยู่ใกล้พัดลมได้รับแรงลมมากกว่าชั<br />

้น<br />

อื่นๆ<br />

ซึ ่งมีอิทธิพลต่อการสูญเสียความร้อน ท าให้อุณหภูมิภายในตู้ฟักลดต ่าลงจึงส่งผลให้อุณหภูมิ<br />

ของตัวอ่อนภายในฟองไข่ลดต ่าลงด้วย และมีผลต่อเปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

แต่ผลที่<br />

แสดงไว้ข้างต้นพบว่าชั ้นที่<br />

1 มีความเร็วลมสูงและอุณหภูมิต ่ารองลงมาแต่เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่<br />

ฟักไม่ออกไม่ได้มีผลเสียหายดังชั ้นที่<br />

15 ซึ ่งอาจมีสาเหตุอื ่นมาเกี่ยวข้องมิได้เป็<br />

นผลจากแรงลมและ<br />

33


อุณหภูมิดังสาเหตุที ่กล่าวข้างต้น ส่วนบริเวณชั ้นกลาง (ชั ้นที่<br />

7) มีเปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่<br />

ออกน้อยกว่าบริเวณชั ้นบนและชั ้นล่างซึ ่งมีอุณหภูมิสูงกว่าและต ่ากว่า ตามล าดับ<br />

อัตราการฟักออกของลูกไก่ไม่ได้มีเฉพาะเรื ่องความเร็วลมและอุณหภูมิเท่านั ้น แต่ยังมี<br />

ปัจจัยอื่นๆที่ท<br />

าให้มีผลต่ออัตราการฟักออกของลูกไก่ร่วมอยู ่ด้วย ในการศึกษาความเร็วลมและการ<br />

กระจายตัวของอุณหภูมิภายในตู้ฟักเป็ นการทดลองโดยใช้สภาพจริงในการท างาน มิได้มีการ<br />

ก าหนดให้มีสิ่งทดลองที่ใช้ในการทดลองให้เหมือนกัน<br />

34


สรุป<br />

ผลจากการศึกษาความสัมพันธ์ของความเร็วลมและการกระจายตัวของอุณหภูมิภายในตู้ฟัก<br />

โดยท าการติดเครื่องบันทึกอุณหภูมิไว้ที<br />

่ฟองไข่ตามชั ้นที่ก<br />

าหนดและแบ่งการวัดความเร็วลมเป็ น 6<br />

ต าแหน่ง พบว่าแต่ละต าแหน่งของไข่ฟักมีความเร็วลมไม่สม ่าเสมอกันเนื่องมาจากตู้ฟักมีขนาดใหญ่<br />

และอุณหภูมิบริเวณชั ้นบน (ชั ้นที่<br />

15) กับชั ้นล่าง (ชั ้นที่<br />

1) ของรถตู้ฟักมีอุณหภูมิที ่แตกต่างกับชั ้น<br />

อื่นๆ<br />

จึงส่งผลให้มีเปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกตามเวลาแตกต่างกันในแต่ละชั<br />

้น โดยชั ้นกลาง<br />

มีเปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกตามเวลาเสียหายน้อยกว่าชั<br />

้นบนและชั ้นล่าง<br />

35


ข้อเสนอแนะ<br />

จากสภาพทิศทางความเร็วลมที ่ไม่สม ่าเสมอภายในตู้ฟักอาจตั ้งข้อสังเกตุได้ว่าลมที ่เข้ามา<br />

ภายในตู้ฟักไม่มีความสม ่าเสมอหรือพัดลมภายในตู้ฟักที ่มีอยู่ชุดเดียวอาจไม่เพียงพอต่อขนาดของตู้<br />

หรืออุปกรณ์ภายในตู้ฟักเกิดการช ารุดโดยไม่ได้รับการตรวจสอบ จากปัญหาที่ลมเข้ามาภายในตู้ฟัก<br />

ไม่สม ่าเสมอกันอาจแก้ไขโดยน าผ้าม่านมากั ้นบริเวณกลางห้องหรือแบ่งห้องที่เก็บอากาศดีที่จะลง<br />

มายังตู้ฟักเป็ น 2 ห้อง เพื่อบล็อกลมให้ช้าลงป้<br />

องกันไม่ให้บริเวณกลางห้องเป็ นจุดอับลม<br />

36


เอกสารอ้างอิง<br />

ปฐม เลาหะเกษตร. 2540. การเลี ้ยงสัตว์ปี ก. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการ<br />

เกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพมหานคร. 317 น.<br />

มานิตย์ เทวรักษ์พิทักษ์. 2538. การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

แม่โจ้, เชียงใหม่. 299 น.<br />

วรวิทย์ วณิชาภิชาติ. 2531. ไข่และการฟักไข่. พิมพ์ครั ้งที่<br />

3. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากร-<br />

ธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา. 240 น.<br />

อนุชา แสงโสภณ. 2544. การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะ<br />

เทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพมหา-<br />

นคร. 177 น.<br />

อาวุธ ตันโช. 2539. การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะ<br />

เทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,<br />

กรุงเทพมหานคร. 204 น.<br />

Meijerhof, R. 2006a. Seeing through the hatch window. [Online] Available : http:www.poultry<br />

site.com/articles/730/seeing-though-the-hatch-window. 28/02/2011.<br />

Meijerhof, R. 2006b. A Balance Act : managing heat loss to maximize incubation performance.<br />

[Online] Available : http:www.thepoultrysite.com/articles/579/abalancing-act-managing-<br />

Heat-loss-to-maximize-incubator-performance. 28/02/2011<br />

Smith, J.R., 2009. Hatching Quality Chicks. [Online] Available : http://www.thepoultrysite.com<br />

/articles/1515hatching-quality-chick. 28/02/2011<br />

Tullet, S.G., 1991. Avian Incubator, Poultry Science Symposium 22 nd ., Butterworth<br />

Heinemann. Ltd., London. 349 p.<br />

37


ภาคผนวก<br />

38


ตารางผนวกที่<br />

1 แสดงความเร็วลมแต่ละจุดช่วงไข่ฟักอายุ 1-3 วัน ของรถตู้ฟักคันที่<br />

1<br />

ต าแหน่งของการฟัก<br />

่ ่ ่ ่ ่ ่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ชั ้นที 1 ชั ้นที 4 ชั ้นที 7 ชั ้นที 10 ชั ้นที 13 ชั ้นที 15<br />

ความเร็วลมจุดที 1 254 350 380 328 311 839<br />

ความเร็วลมจุดที 2 240 295 322 164 281 823<br />

ความเร็วลมจุดที 3 339 336 369 424 393 800<br />

เฉลี่ย<br />

277 327 357 305 328 820<br />

ตารางผนวกที่<br />

2 แสดงความเร็วลมแต่ละจุดช่วงไข่ฟักอายุ 16-18 วัน ของรถตู้ฟักคันที่<br />

1<br />

ต าแหน่งของการฟัก<br />

่ ่ ่ ่ ่ ่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ชั ้นที 1 ชั ้นที 4 ชั ้นที 7 ชั ้นที 10 ชั ้นที 13 ชั ้นที 15<br />

ความเร็วลมจุดที 1 178 199 210 210 213 248<br />

ความเร็วลมจุดที 2 139 115 76 87 52 95<br />

ความเร็วลมจุดที 3 24 49 0 71 84 96<br />

เฉลี่ย<br />

113 121 95 122 116 146<br />

ตารางผนวกที่<br />

3 แสดงความเร็วลมแต่ละจุดช่วงไข่ฟักอายุ 1-3 วัน ของรถตู้ฟักคันที่<br />

2<br />

ต าแหน่งของการฟัก<br />

่ ่ ่ ่ ่ ่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ชั ้นที 1 ชั ้นที 4 ชั ้นที 7 ชั ้นที 10 ชั ้นที 13 ชั ้นที 15<br />

ความเร็วลมจุดที 1 254 391 361 358 259 927<br />

ความเร็วลมจุดที 2 246 273 306 243 262 790<br />

ความเร็วลมจุดที 3 451 325 254 344 317 809<br />

เฉลี่ย<br />

317 329 307 315 279 842<br />

39


ตารางผนวกที่<br />

4 แสดงความเร็วลมแต่ละจุดช่วงไข่ฟักอายุ 16 - 18 วัน ของรถตู้ฟักคันที่<br />

2<br />

ต าแหน่งของการฟัก<br />

่ ่ ่ ่ ่ ่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ชั ้นที 1 ชั ้นที 4 ชั ้นที 7 ชั ้นที 10 ชั ้นที 13 ชั ้นที 15<br />

ความเร็วลมจุดที 1 254 189 186 164 71 14<br />

ความเร็วลมจุดที 2 218 112 114 109 98 68<br />

ความเร็วลมจุดที 3 180 79 52 35 24 60<br />

เฉลี่ย<br />

217 126 117 102 64 47<br />

<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

1 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

1 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 - 3 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

1<br />

40


<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

2 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

2 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 - 3 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

1<br />

<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

3 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

3 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 - 3 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

1<br />

41


<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

4 แสดงการกระจายตัวของลมทั ้ง 3 จุด ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 - 3 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

1<br />

<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

5 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

1 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 - 18 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

1<br />

42


<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

6 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

2 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 - 18 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

1<br />

<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

7 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

3 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 - 18 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

1<br />

43


<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

8 แสดงการกระจายตัวของลมทั ้ง 3 จุด ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 - 18 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

1<br />

<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

9 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

1 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 - 3 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

2<br />

44


<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

10 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

2 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 - 3 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

2<br />

<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

11 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

3 ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 - 3 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

2<br />

45


<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

12 แสดงการกระจายตัวของลมทั ้ง 3 จุด ของไข่ฟักช่วงอายุ 1 - 3 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

2<br />

<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

13 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

1 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 - 18 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

2<br />

46


<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

14 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

2 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 - 18 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

2<br />

<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

15 แสดงการกระจายตัวของลมจุดที่<br />

3 ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 - 18 วัน แต่ละชั ้นภายใน<br />

รถตู้ฟักคันที่<br />

2<br />

47


<strong>ภาพผนวกที่</strong><br />

16 แสดงการกระจายตัวของลมทั ้ง 3 จุด ของไข่ฟักช่วงอายุ 16 - 18 วัน แต่ละชั ้น<br />

ภายในรถตู้ฟักคันที่<br />

2<br />

48


่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ตารางผนวกที 5 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 - 18 วัน,<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกแต่ละระยะของชั<br />

้นที 1<br />

ซ ้าที<br />

1 2 3 4<br />

อุณหภูมิเฉลี่ย<br />

(ฟาเรนไฮด์) 96.4 96.8 97.3 98.2<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

1 278 317<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

18<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

111 218<br />

วันที 1<br />

0.9 0.3 0.6 0.3<br />

วันที 3 0.6 0.3 0 1.5<br />

วันที 6 0.3 0 0 0.3<br />

วันที 10 0.3 0.6 0 0.3<br />

วันที 12 0 0 0.3 0<br />

วันที 16 0.3 0.6 1.2 0.6<br />

วันที 18 1.2 0.9 1.5 0.9<br />

เปอร์เซ็นต์รวมไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

3.6 2.7 3.6 3.9<br />

49


่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ตารางผนวกที 6 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 - 18 วัน,<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกแต่ละระยะของชั<br />

้นที 4<br />

ซ ้าที<br />

1 2 3 4<br />

อุณหภูมิเฉลี่ย<br />

(ฟาเรนไฮด์) 97.7 99.1 98.2 98.6<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

1 327 330<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

18<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

121 127<br />

วันที 1<br />

0 1.2 0.6 0<br />

วันที 3 0.6 0.9 0.9 0.3<br />

วันที 6 0 0.6 0 0<br />

วันที 10 0 0 0 0<br />

วันที 12 0 0 0.3 0<br />

วันที 16 0.6 0.6 0.3 0.6<br />

วันที 18 0.6 0.9 0.6 1.5<br />

เปอร์เซ็นต์รวมไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

1.8 4.2 2.7 2.4<br />

50


่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ตารางผนวกที 7 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 - 18 วัน,<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกแต่ละระยะของชั<br />

้นที 7<br />

ซ ้าที<br />

1 2 3 4<br />

อุณหภูมิเฉลี่ย<br />

(ฟาเรนไฮด์) 99.1 99.1 99.5 98.6<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

1 360 307<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

18<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

96 118<br />

วันที 1<br />

0.3 0.9 0.6 0.6<br />

วันที 3 0.6 0 0.6 0.6<br />

วันที 6 0.3 0.3 0 0.3<br />

วันที 10 0 0 0.3 0.3<br />

วันที 12 0 0.3 0 0.3<br />

วันที 16 0 0 0 0.3<br />

วันที 18 0.6 0.3 1.2 0.6<br />

เปอร์เซ็นต์รวมไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

1.8 1.8 2.7 3<br />

51


่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ตารางผนวกที 8 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 - 18 วัน,<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกแต่ละระยะของชั<br />

้นที 10<br />

ซ ้าที<br />

1 2 3 4<br />

อุณหภูมิเฉลี่ย<br />

(ฟาเรนไฮด์) 99.1 99.1 99.5 99.1<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

1 305 315<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

18<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

123 103<br />

วันที 1<br />

0.9 1.8 0.6<br />

0<br />

วันที 3 0.6 0.3 1.2 0.6<br />

วันที 6 0.9 0.6 0.3 0.3<br />

วันที 10 0.3 0.3 0 0<br />

วันที 12 0.3 0 0 0<br />

วันที 16 0 0 0.3 0.6<br />

วันที 18 1.8 0 0.9 1.2<br />

เปอร์เซ็นต์รวมไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

4.8 3 3.3 2.7<br />

52


่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ตารางผนวกที 9 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 - 18 วัน,<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกแต่ละระยะของชั<br />

้นที 13<br />

ซ ้าที<br />

1 2 3 4<br />

อุณหภูมิเฉลี่ย<br />

(ฟาเรนไฮด์) 100.0 99.5 99.1 99.5<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

1 329 280<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

18<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

117 65<br />

วันที 1 0.6 1.2 0 0<br />

วันที 3 0.6 0.3 0.9 0.9<br />

วันที 6 0.6 0.3 0 0.3<br />

วันที 10 0 0 0 0.6<br />

วันที 12 0.3 0 0.3 0<br />

วันที 16 0.6 0.6 0 0.3<br />

วันที 18 0.9 0.3 2.1 2.4<br />

เปอร์เซ็นต์รวมไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

3.6 2.7 3.3 4.5<br />

53


่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ตารางผนวกที 10 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ย,<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยที่ไข่ฟักช่วงอายุ<br />

1 – 3 วัน และ 16 - 18 วัน,<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออกแต่ละระยะของชั<br />

้นที 15<br />

ซ ้าที<br />

1 2 3 4<br />

อุณหภูมิเฉลี่ย<br />

(ฟาเรนไฮด์) 98.2 96.8 97.7 97.3<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

1 821 842<br />

ความเร็วลมเฉลี่ยวันที<br />

18<br />

เปอร์เซ็นต์ไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

147 48<br />

วันที 1 0.3 1.8 0.3 0<br />

วันที 3 0.3 1.8 0.3 0.9<br />

วันที 6 0 0 0.9 0.3<br />

วันที 10 0.3 0 0.6 0.6<br />

วันที 12 0 0 0 0<br />

วันที 16 0.6 0.9 0.6 0.3<br />

วันที 18 0.3 0.6 0.9 2.4<br />

เปอร์เซ็นต์รวมไข่ฟักมีเชื ้อที่ฟักไม่ออก<br />

1.8 5.1 3.6 4.5<br />

54


ตู ้ฟักระบบ Multi - stage ยี่ห้อ<br />

Jamesway รุ ่น Super J<br />

ภายในตู้ฟักจะมีรถเข็นบรรจุไข่จ านวน 2 แถว แถวละ 6 คัน จอดเรียงตามล าดับอายุการฟัก<br />

ไข่ฟักที่มีอายุมากจะอยู่ติดกับประตูทางออกเรื<br />

่อยไปจนถึงไข่ที ่อายุน้อยที่อยู่ติดประตูทางเข้าของตู้<br />

ฟัก โดยใช้หลักการไข่อายุมากฟักไข่อายุน้อยท าให้สภาพแวดล้อมรอบรถเข็นบรรจุไข่แต่ละคัน<br />

สอดคล้องกับอายุการเจริญของตัวอ่อนที ่อยู่ภายในฟองไข่<br />

ทั ้งเรื่องของอุณหภูมิ<br />

ปริมาณออกซิเจน<br />

และปริ มาณคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนพัดลมที ่อยู่เหนือบริเวณประตูทางเข้าของตู้ฟักจะดูดเอา<br />

อากาศบริสุทธิ ์ ที่ผ่านการปรับอุณหภูมิและความชื<br />

้นสัมพัทธ์ให้ไหลเวียนเข้าสู ่บริเวณเหนือรถเข็น<br />

บรรจุฟองไข่ไปสู่บริเวณประตูทางออก<br />

และวนเข้าสู่ฟองไข่ที่อยู่ภายในรถเข็นบรรจุไข่<br />

หลักการการฟักไข่ของตู ้ฟัก ระบบ Multi – Stage ยี่ห้อ<br />

Jamesway รุ ่น Super J<br />

รถเข็นต าแหน่งที่<br />

6 ซึ ่งอยู่ติดประตูทางออกของตู้ฟักจะมีอายุการฟักนานที<br />

่สุด ตัวอ่อนที่<br />

เจริ ญอยู่ในฟองไข่จะมีการพัฒนาของตัวอ่อนมากที<br />

่สุ ด และมีการปลดปล่อยความร้อนจาก<br />

กระบวนการสันดาปออกมาเป็ นปริมาณมาก ตามด้วยรถเข็นคันที ่ 5 ซึ ่ งจะมีอายุการฟักรองลงมา<br />

รถเข็นคันที่<br />

4 จะอยู่ในระดับสมดุล<br />

คือ ไม่มีการปลดปล่อยความร้อนออกมาในปริมาณมากและไม่<br />

ต้องการอุณหภูมิที่เพิ่มขึ<br />

้นหรือลดลง ส่วนรถเข็นคันอื่นๆจะดูดซึมความร้อนที<br />

่ถูกปลดปล่อยออกมา<br />

จากรถเข็นคันที่<br />

6 และคันที่<br />

5 โดยรถเข็นคันที่<br />

1 ซึ ่งอยู่บริเวณประตูทางเข้าของตู้ฟักจะดูดซึมความ<br />

ร้อนมากที่สุด<br />

ตามด้วยรถเข็นคันที่<br />

2 และคันที่<br />

3 ตามล าดับ<br />

ในเรื่องของปริมาณออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ก็เช่นเดียวกัน<br />

ตัวอ่อนที่อายุมากจะ<br />

ต้องการออกซิเจนในปริมาณมากและมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากเช่นเดียวกัน ดังนั ้น<br />

รถเข็นต าแหน่งที่<br />

6 และ 5 ซึ ่ งมีลูกไก่อายุมากก็จะได้รับออกซิเจนในปริมาณมาก อากาศบริสุทธิ ์ ที่<br />

เข้าสู่ตู้ฟักไข่จะผ่านการกรองและดูดเข้าสู่ตู้ฟักทางช่องอากาศดีที<br />

่อยู่บริเวณเหนือพื<br />

้นที่ระหว่าง<br />

55


ประตูทางเข้าตู้ฟักกับรถเข็นบรรจุไข่ และใช้เป็ นห้องปรับสภาพอากาศ (air mixing chamber) เพื่อ<br />

ปรับอุณหภูมิ ความชื ้นสัมพัทธ์ ปริมาณออกซิเจน และปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ให้เหมาะสม<br />

ก่อนที่จะไหลเวียนเข้าสู่รถเข็นบรรจุไข่ต่อไป<br />

ระบบหมุนเวียนและระบายอากาศตู้ฟัก<br />

FAN<br />

AIR INTAKE<br />

EXHAUST<br />

การหมุนเวียนอากาศภายในตู้ฟัก อากาศจะหมุนเวียน จากส่วนกลางตู้ฟักออกไปทาง<br />

ด้านข้างแล้วหมุนเวียนเข้าสู ่ส่วนกลางของตู้ฟัก โดยมีพัดลมเป่ าอากาศหมุนเวียน การระบายอากาศ<br />

ภายในตู้ฟักอากาศดีจะเข้าทางด้านหน้าตู้ฟัก อากาศเสียจะออกทางด้านหลังตู้ฟัก ด้วยความเร็วลม<br />

200 CFM ต่อ 1 ตู้ฟัก โดยใช้อุปกรณ์ดังนี ้ คือ<br />

1. FAN พัดลมมี 6 ตัว ขนาด 18 นิ้ว<br />

2. AIR CONDITIONING DUCT ท าหน้าที่เป็<br />

น AIR MIXED มีทั ้งความร้อน,<br />

ความชื ้นและอากาศผสมกันภายในปล่องก่อนกระจายไปทั ่วทั ้งตู้ฟัก<br />

3. BLOWER ท าหน้าที่ดูดอากาศดีเข้าสู่ภายในตู้ฟักอย่างรวดเร็ว<br />

4. EXHAUST DUCT ท าหน้าที่ดูดอากาศเสียออกจากตู้ฟัก<br />

ความเร็วลม 200 CFM/ ตู้<br />

56


ระบบการกลับไข่<br />

การกลับไข่ภายในตู้ฟักจะกลับ 1 ถึง 18 วัน จะกลับทุก ๆ 1 ชั่วโมง<br />

โดยเอียงไข่ให้<br />

ได้มุม 45 องศา<br />

ตู ้เกิด ยี่ห้อ<br />

Jamesway รุ ่น Super J<br />

ระบบหมุนเวียนและการระบายอากาศตู้เกิด<br />

ระบบการหมุนเวียนและการระบายอากาศตู้เกิด อากาศจะหมุนเวียนโดยพัดลมขนาด 16<br />

นิ้ว 2 ตัว ผ่านเพดานตู้เกิดแล้วหมุนลงสู ่ด้านล่างผ่านรถตู้เกิดแล้วหมุนขึ ้นข้างบนโดยพัดลมดูด ส่วน<br />

การระบายอากาศนั ้น อากาศดีจะผ่านเข้ามาขนาด 6 ตารางนิ้ว 2 ช่องโดยพัดลมดูดแล้วอากาศเสียจะ<br />

ขับออกทางช่องขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว 2 ช่อง ด้วยความเร็ วลม 200 CFM/ตู้ โดยมี<br />

EXHAUST FAN เป็ นตัวดูดอากาศเสียทิ้งออกสู่ข้างนอกโรงฟัก<br />

ระบบเตือนภัยภายในโรงฟักมีดังนี้<br />

ระบบสัญญาณเตือน ( SYSTEM ALARMS ) ไฟกระพริบสัญญาณเตือนจะกระพริบทันที<br />

ที่เกิดข้อผิดพลาดขึ<br />

้นกับตู้ตามรายการสัญญาณเตือนบนจอแสดงผล ( DISPLAY PANEL ) ไฟ<br />

กระพริบต่างๆของระบบสัญญาณเตือนนี ้สามารถจะยกเลิกได้วิธีเดียวคือ ต้องแก้ไขข้อผิดพลาดที ่<br />

เกิดขึ ้นกับตู้ให้ถูกต้องเท่านั ้นสัญญาณเตือนจึงจะหยุดกระพริบ ดังนั ้นสวิทซ์ยกเลิกสัญญาณเตือน<br />

( ALARM CANCEL SWITCH ) จึงใช้ไม่ได้ในกรณีนี ้<br />

57


1. สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิสูง ( THE HIGH TEMH LED ) ไฟนี ้จะกระพริบเมื ่อ<br />

อุณหภูมิจริงภายในตู้สูงกว่าจุดก าหนดอุณหภูมิ ( SET POINT ) 0.5 °˚F ขึ ้นไปส าหรับตู้ฟักและ<br />

0.7 °F ขึ ้ นไปส าหรับตู้เกิด สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิสูงนี ้ จะท าให้สัญญาณไฟเตือนหลัก<br />

( COMMON ALARM LAMP ) กระพริบด้วยเช่นกัน และจะท าให้สัญญาณเตือนภัยเสียงดังขึ ้น<br />

ด้วย<br />

2. สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิต ่า ( LOW TEMPLED ) ไฟนี ้จะกระพริบเตือนเมื ่ออุณหภูมิ<br />

จริงภายในตู้ต ่ากว่าจุดก าหนดอุณหภูมิ ( SET POINT ) 1.8 ขึ ้นไป สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิต ่านี ้<br />

จะท าให้สัญญาณไฟเตือนหลัก ( COMMON ALARM LAMP ) กระพริบถ้าเราเปิ ดสวิทซ์เบอร์ 4<br />

บนแผง INTERFACE MODULE ไว้จะท าให้เกิดสัญญาณเตือนภัยเสียงดังขึ ้นพร้อมไปด้วย<br />

3. สัญญาณไฟเตือนความชื ้นสูง ( HIGH HUM LED ) ไฟนี ้จะกระพริบเมื ่อความชื ้นจริง<br />

ภายในตู้สูงเกินกว่าจุดก าหนดความชื ้น ( SET POINT ) 2.0 ˚°F ขึ ้นไปทั ้งในตู้ฟักและตู้เกิด<br />

สัญญาณไฟเตือนความชื ้นสูงนี ้จะท าให้สัญญาณไฟเตือนหลัก ( COMMON ALARM LAMP )<br />

กระพริบ<br />

4. สัญญาณไฟเตือนความชื ้นต ่า ( LOW HUMIDITY LED ) ไฟนี ้จะกระพริบเมื ่อ<br />

ความชื ้นจริงภายในตู้ต ่ากว่าจุดก าหนด ( SET POINT ) 2.0 ˚°F ขึ ้นไปทั ้งในตู้ฟักและตู้เกิด ถ้าเปิ ด<br />

สวิทซ์หมายเลข 3 บนแผง INTERFACE MODULE จะท าให้เกิดสัญญาณเตือนภัยเสียงพร้อมกัน<br />

ไปด้วย<br />

5. สัญญาณไฟเตือนพัดลมไม่ท างาน ( FAN FAILURE ALARM LED ) ไฟเตือนนี ้จะ<br />

กระพริบเตือนเมื ่อมอเตอร์พัดลมภายในตู้ตัวใดตัวหนึ ่ง หรือมากกว่าหนึ ่งตัว ทั ้งหมดหยุดท างาน<br />

หรือ เมื่อเปิ<br />

ดสวิทซ์พัดลมที่กล่องแสดงผล<br />

( DISPLAY PANEL ) หน้าตู้ สัญญาณไฟเตือนพัดลม<br />

หยุดท างานนี ้จะท าให้สัญญาณไฟเตือนหลัก ( COMMON ALARM LAMP ) กระพริบเตือนและ<br />

ท าให้สัญญาณเตือนภัยเสียงดัง เตือนขึ ้นเช่นกัน<br />

ภายในโรงฟักมีระบบสัญญาณเตือนภัยนอกเหนือจากสัญญาณเตือนภัยที ่กล่าวมาข้างต้น คือ<br />

1. BACK UP ALARM ระบบการท างานจะส่งเสียงเตือนเมื ่ออุณหภูมิภายในตู้ฟัก<br />

ตู้เกิด สูงเกินกว่า 100.5 °F โดยจะมีไฟแสดงสถานะ ความผิดปกติกระพริบ และมีเสียงเตือนเป็ น<br />

จังหวะ<br />

2. ไฟฉุกเฉิน ห้องลูกไก่ ระบบจะแสดงสัญญาณไฟฉุกเฉินภายในห้องเก็บลูกไก่<br />

กรณีที่อุณหภูมิมากกว่า<br />

90 °F และระบบจะสั่งให้ปั๊มน<br />

้ารด PAD ที่อุณหภูมิ<br />

85 °F<br />

58


การท า Hatch Window เพื่อช่วยปรับปรุงคุณภาพลูกไก่<br />

Hatch Window หมายถึง ช่วงเวลาที่ลูกไก่ฟักออกจนถึงเวลาที<br />

่ดึงลูกไก่ออกจากตู้เกิดเข้าสู ่<br />

กระบวนการคัดลูกไก่ ถ้า Hatch Window มีช่วงกว้าง คือลูกไก่ออกจากไข่ฟักเร็วเกินไป ก็จะ<br />

ประสบปัญหา เช่น สูญเสียน ้าในร่างกาย (Dehydration) การสูญเสียน ้าในร่างกายลูกไก่ตั ้งแต่อยู่ในตู้<br />

เกิดจะเป็ นสาเหตุท าให้อัตราการตายในช่วง 7 วัน และช่วง 14 วัน สูงขึ ้น และท าให้ผลการเลี ้ยงไก่<br />

เนื ้อในรุ่นนั ้นมักไม่ดี ถ้า Hatch Window มีช่วงสั ้น คือลูกไก่ฟักออกจากไข่ฟักช้าเกินไป เป็ นเครื่อง<br />

บ่งบอกว่า เปอร์เซ็นต์การฟักจะต ่า จ านวนลูกไก่ที่ฟักไม่ออกมีเพิ่มขึ<br />

้น และมักมีคุณภาพลูกไก่ที ่ไม่ดี<br />

ซึ ่งตามข้อก าหนดของ TESCO ก าหนด Hatch window ไม่เกิน 40 ชม.<br />

การตรวจ Hatch Window มีขั ้นตอนดังนี ้<br />

1. มีการติดตามตั ้งแต่ในตู้ฟัก (Setter) โดยบันทึกการท างานของตู้ฟักตั ้งแต่น าไข่<br />

ฟักเข้าฟักจนถึงการย้ายไข่ฟักไปยังตู้เกิด (Hatcher) มีวิธีการตรวจติดตามผลการฟักของแต่ละฝูง ให้<br />

เลือกถาดฟัก 3 ถาด ถาดบนสุด ตรงกลางและล่าง และท าเครื่องหมายไว้<br />

เมื่อย้ายไข่ฟักไปตู้เกิดก็ใส่<br />

ไว้ที่<br />

3ถาดบนสุดในตู้เกิดตามล าดับไม่ให้เกิดการสับสน<br />

2. ตรวจนับลูกไก่ของถาดในตู้เกิด 3 ถาดบนที่ย้ายมาจากตู้ฟัก<br />

3. ก่อนที่จะท<br />

าการตรวจให้มีการเตรียมโต๊ะส าหรับการท างานนี ้ไว้หน้าตู้เกิด<br />

4. ขบวนการเอาถาดออกมาตรวจนับลูกไก่ และการเอาถาดกลับเข้าในตู้เกิด ต้อง<br />

ท าอย่างรวดเร็วที่สุดเท่าที่เป็<br />

นไปได้<br />

5. การก าหนดเวลาในการตรวจนับจ านวนลูกไก่ที่ฟักออกในถาด<br />

3 ถาดของตู้เกิด<br />

ให้นับถอยหลังจากเวลาที ่เราจะออกลูกไก่ เริ่มกระท<br />

าได้ตั ้งแต่ 38 ชั่วโมงก่อนก<br />

าหนดเวลาออก<br />

ลูกไก่ เช่นอาจก าหนดว่า ตรวจครั ้ งที่<br />

1 ก่อนเวลาที่ก<br />

าหนดออกลูกไก่ 33 ชั่วโมง<br />

ครั ้ งที่<br />

2 ก่อน 23<br />

ชั่วโมง<br />

ครั ้งที่<br />

3 ก่อน 13 ชั่วโมง<br />

เป็ นต้น<br />

ปัจจัยที่ท<br />

าให้ลูกไก่ออกเร็วกว่าที ่ก าหนด ได้แก่<br />

1. ไข่ฟักมีการอุ่นไข่ ( Preheat ) ก่อนนานเกินไป<br />

2. เข้าไข่ในตู้ฟักเร็วเกินไป<br />

3. อุณหภูมิในตู้ฟัก และตู้เกิดไม่ถูกต้อง<br />

4. อุณหภูมิอากาศมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากฤดูกาล<br />

5. การหมุนเวียนถ่ายเทอากาศผิดปกติ<br />

6. มีไข่มีเชื ้อ (Fertile eggs) ในตู้เกิดจ านวนมาก<br />

59


ปัจจัยที่ท<br />

าให้ลูกไก่ฟักออกจากไข่ฟักช้าผิดปกติ ได้แก่<br />

1. เข้าไข่ในตู้ฟักช้าเกินไป<br />

2. อุณหภูมิในตู้ฟักและตู้เกิดไม่ถูกต้อง<br />

3. การหมุนเวียนถ่ายเทอากาศผิดปกติ<br />

4. อุณหภูมิอากาศมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากฤดูกาล<br />

5. ไข่ฟักถูกเก็บไว้นานเกินไปก่อนน าเข้าฟัก<br />

6. ไข่ฟักถูกเก็บในอุณหภูมิที่ต<br />

่าเกินไป<br />

7. รูปแบบการเข้าไข่ในตู้ฟักชนิดฟักหลายอายุไข่ไม่ถูกต้อง<br />

8. มีปัญหาโรค และปัญหาการผสมพันธุ์ มีไข่ไม่มีเชื ้อ<br />

การท า Hatch Window ควรท าทุกฤดูกาล เนื่องจากโรงฟักทุกแห่งไม่สามารถควบคุม<br />

อุณหภูมิอากาศของสิ ่งแวดล้อมบริเวณห้องตู้ฟักและตู้เกิดได้ ดังนั ้นภายในตู้ฟักและตู้เกิดจะมี<br />

อุณหภูมิที่แกว่งไม่สม<br />

่าเสมอ การตรวจสอบและปรับระบบการหมุนเวียนถ่ายเทอากาศของทั ้งตู้ฟัก<br />

และตู้เกิดเป็ นส่วนหนึ ่งที่ส<br />

าคัญและจ าเป็ นต้องจัดการให้ดี<br />

การจัดการภายในโรงฟัก<br />

ขั ้นตอนการฟักไข่<br />

1. การขนส่งไข่ฟัก<br />

จะต้องไม่ท าให้เกิดการกระทบกระเทือนกับไข่ เพื่อลดการแตกร้าว<br />

และ<br />

ฟองอากาศหลุดลอยได้มากท าให้ผลของการฟักไข่ไม่ดีเท่าที ่ควร อีกทั ้งการควบคุมอุณหภูมิให้มี<br />

ความเหมาะสมระหว่างการขนส่งจะท าให้คุณภาพไข่เข้าฟักดี และมีเปอร์เซ็นต์การฟักออกสูง การ<br />

ขนส่งที่ดีต้องปฏิบัติดังนี<br />

้<br />

1.1 ตรวจสอบสภาพรถขนส่ง พร้อมเช็คอุปกรณ์เช่น แผงไข่ ตะกร้าที่จะน<br />

าส่ง<br />

ให้กับฟาร์มเพื่อใช้ในการเก็บไข่ฟัก<br />

1.2 ปรับตั ้งอุณหภูมิภายในรถให้อยู่ระหว่าง<br />

16 - 20 °C<br />

1.3 จดบันทึกอุณหภูมิภายในรถขนส่ง ลงใบรายงานขนส่งไข่ฟัก<br />

1.4 การจัดเรียงไข่ภายในรถขนส่ง จัดเรียงโดยแยกเป็ นเล้า เพื่อประโยชน์ในการ<br />

จัดการ และการตรวจสอบย้อนกลับ และการป้ องกันการปนเปื ้ อนข้ามระหว่างเล้าในขณะขนส่ง<br />

1.5 ไข่ฟักที่จะน<br />

าเข้าตู้ฟัก JAMESWAY จะถูกบรรจุลงแผงใส่ไข่พลาสติก ขนาด<br />

บรรจุ 42 ฟอง / แผง แล้ววางเรียงในกล่องพลาสติก 5 แผง/กล่อง เรียงซ้อนบนพาเลทไม่เกิน 4<br />

กล่อง / ตั ้ง และวาง 12 ตั ้ง / พาเลท<br />

1.6 ความเร็วในการขับขี ่จะต้องไม่เกิน 80 กม./ชม.<br />

60


2. การตรวจรับและการคัดเลือก<br />

ไข่ที่จะน<br />

าเข้าฟักต้องได้มาจากไก่พ่อแม่พันธุ์ที ่ให้ไข่มีความสมบูรณ์พันธุ์สูงแล้ว<br />

เมื่อมาถึงโรงฟักจะต้องท<br />

าการตรวจสอบ และคัดเลือก เพื่อให้ได้ไข่ที่มีคุณภาพดี<br />

จะต้องตรวจสอบ<br />

ก่อนการรับไข่มีดังนี ้<br />

2.1 น ้าหนักฟองไข่โดยเฉลี่ยระหว่าง<br />

45 – 60 กรัม<br />

2.2 ผิวเปลือกไข่ต้องสะอาดและ แห้ง ไม่ขรุขระ สภาพเปลือกไข่สมบูรณ์<br />

2.3 ตรวจสอบอุณหภูมิภายในรถขนส่งไข่ฟักอยู่ที่<br />

16 - 20 °C<br />

2.4 ไข่ที่รับเพื่อเข้าฟัก<br />

จะต้องผ่านการรมควันเพื ่อฆ่าเชื ้อที่ผิวเปลือกไข่มาแล้วจากฟาร์ม<br />

พ่อแม่พันธุ์<br />

2.5 จ านวนไข่และตะกร้าใส่ไข่แต่ละเล้า รหัสเล้า รวมไปถึงวันที ่เก็บไข่ ให้ถูกต้องตามที่<br />

ระบุในเอกสารใบส่งไข่<br />

2.6 ความถูกต้องของเอกสารใบส่งไข่<br />

การคัดเลือกไข่เพื่อเข้าฟัก<br />

ไข่ที่มีคุณภาพดีได้ตามมาตรฐานไข่ฟักมีดังนี<br />

้<br />

1. น ้าหนักฟองไข่โดยเฉลี่ยระหว่าง<br />

45 – 60 กรัม<br />

2. ผิวเปลือกไข่ต้องสะอาดและแห้ง ไม่ขรุขระ สภาพเปลือกไข่สมบูรณ์<br />

ไข่ที่มีลักษณะดังต่อไปนี<br />

้ จะต้องท าการคัดทิ้ง<br />

1. ผิวเปลือกไข่เปื ้ อน เช่น จากขี ้ไก่ คราบเลือด ขนไก่ แกลบ เป็ นต้น<br />

2. ผิวเปลือกไข่บาง<br />

3. ผิวเปลือกไข่ย่น<br />

4. ไข่หัวจุด มีลักษณะของการสะสมแคลเซี่ยมที่ผิวเปลือกไข่<br />

5. เปลือกไข่แตกร้าว<br />

6. ไข่แฝด<br />

7. ไข่ผิดรูป เช่น ลักษณะกลม ไข่รูปกระสวย ไข่ที่มีด้านใดด้านหนึ<br />

่งป้ านเกินไป<br />

8. ไข่ที่มีน<br />

้าหนักน้อยกว่า 45 กรัม หรือมากกว่า 60 กรัม<br />

61


3. การจัดเก็บไข่ภายในห้องเย็น<br />

เป็ นการจัดการไข่ฟักก่อนน าเข้าตู้ฟัก การเก็บในห้องเย็นจะต้องควบคุมอุณหภูมิ<br />

ความชื ้น และระยะเวลาใน การจัดเก็บซึ ่งจะส่งผลท าให้การฟักออกของลูกไก่ดี การจัดเก็บที่ดีต้อง<br />

ปฏิบัติดังนี ้<br />

3.1 อุณหภูมิของห้องเย็นที่เหมาะสมในการจัดเก็บต้องอยู่ระหว่าง<br />

60 - 68 °F<br />

3.2 ความชื ้นสัมพัทธ์ในห้องเย็นที ่เหมาะสมจะต้องอยู่ระหว่าง<br />

70 - 80 %<br />

3.3 ระยะเวลาในการจัดเก็บต้องไม่เกิน 14 วัน นับจากวันที่เก็บไข่<br />

3.4 ห้องเย็นจะต้องสะอาด แห้ง และอยู่ในสภาพที่ดี<br />

3.5 ใช้ระบบเข้าก่อน ออกก่อน (First In-First Out) ในการจัดเก็บ<br />

3.6 การจัดเรียงไข่ฟักในห้องเก็บไข่ ให้เก็บแยกตามวันที ่เก็บไข่ และฝูงไก่ โดยดูจากป้ ายที่<br />

ติดอยู่บนฟองไข่<br />

และบิลส่งไข่ (EX – 11) โดยจัดเรียงพาเลทเป็ นแถว แต่ละแถวห่างกัน 10<br />

เซนติเมตร<br />

3.7 อายุของพ่อแม่พันธุ์ที่มากกว่า<br />

55 สัปดาห์ จะต้องไม่เก็บเกิน 14 วัน<br />

3.8 การจัดเก็บจะต้องเก็บกล่องใส่ไข่บนพาเลทเท่านั ้น ไม่ให้วางกล่องใส่ไข่บนพื ้น<br />

การจัดการฟักไข่<br />

การจัดการฟักไข่ เป็ นการจัดการสภาพแวดล้อมภายในตู้ฟัก และห้องตู้ฟักให้มี<br />

ความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของตัวอ่อน ป้ องกันการปนเปื ้ อนของเชื ้อโรคที่อาจจะเกิดขึ<br />

้น<br />

ภายในห้องตู้ฟัก หรือตู้ฟักไข่ โดยไข่ฟักจะอยู่ภายในตู้ฟักทั<br />

้งหมด 18 วัน โดยสามารถแบ่งขั ้นตอน<br />

ออกได้ดังนี ้<br />

1. การจัดไข่ฟักขึ้นรถตู ้ฟักไข่ (Tray setting)<br />

รถตู้ฟักไข่ แบบ JAMESWAY 1 ตู้ ประกอบด้วยรถตู้ฟัก 2 คัน รถ 1 คัน สามารถ<br />

บรรจุไข่ฟักได้ 7,560 ฟองการจัดไข่ฟักขึ ้นรถตู้ฟัก เป็ นขั ้นตอนการน าไข่ฟักที่เก็บอยู่ภายในห้องเย็น<br />

เพื่อเตรียมที่จะน<br />

าเข้าไปฟักภายในตู้ฟักไข่ตามชนิดของตู้ฟัก ระหว่างการจัดไข่ขึ ้นรถตู้ฟักจะท าการ<br />

คัดแยกไข่ที่ไม่ได้มาตรฐานการน<br />

าเข้าฟักออกจากแผงไข่ เพื่อให้ได้ไข่ที่มีคุณภาพดีตามที<br />

่ก าหนด<br />

ในมาตรฐานไข่ฟักเท่านั ้น สิ่งที่ต้องควบคุมในขั<br />

้นตอนการจัดไข่ขึ ้นรถตู้ฟักมีดังนี ้<br />

1.1 การล้างท าความสะอาดพร้อมทั ้งฆ่าเชื ้อมือก่อนและหลังการปฏิบัติงาน<br />

1.2 การติดป้ ายระบุ ฝูง ฟาร์ม เบอร์ตู้ฟัก งวดล าดับเข้าฟัก และล าดับรถตู้ฟักให้ถูกต้อง<br />

1.3 ความเสียหายของไข่ฟักในระหว่างการปฏิบัติงาน<br />

1.4 การจัดเรียงที่เป็<br />

นระเบียบเรียบร้อย และระยะห่างที่ถูกต้อง<br />

ก่อนน าเข้าตู้ฟัก<br />

62


นอกจากนี ้ยังมีการสุ่มชั ่งน ้าหนัก เพื่อเก็บบันทึกน<br />

้าหนักไข่ฟักทุกฝูง โดยชั่งรวมแผง<br />

ครั ้ ง<br />

ละ 1 ชั ้น ตามชนิดของตู้ รวม 2 ชั ้น ต่อ 1 ตู้ พร้อมทั ้งติดป้ าย แสดงจุดที่ชั่ง<br />

และน ้าหนักไข่บนแผง<br />

ไข่ที่ชั่งเพื่อเป็<br />

นข้อมูลทางสถิติ ตรวจสอบกระบวนการฟัก จนครบ 18 วัน<br />

2. การจัดการห้องตู ้ฟัก<br />

สิ่งที่ต้องควบคุมในขั<br />

้นตอนการจัดการห้องตู้ฟัก<br />

2.1 ท าการควบคุมอุณหภูมิภายในห้องฟักให้อยู่ที่<br />

80 - 85 °F<br />

2.2 ควบคุมความชื ้นสัมพัทธ์อยู่ที่<br />

50 – 60 %<br />

2.3 ความดันภายในห้องฟักจะต้องสูงกว่าระดับน ้าทะเล (Positive Pressure)<br />

2.4 ห้องตู้ฟักจะต้องสะอาดอยู ่เสมอ ปราศจากเชื ้อก่อโรค และอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้<br />

และมีโปรแกรมการซ่อมบ ารุง<br />

2.5 อุปกรณ์ที่ใช้ภายในห้องตู้ฟักต้องสะอาดและท<br />

าการฆ่าเชื ้อโรคทุกครั ้ งก่อนการ<br />

ใช้งาน<br />

การน าไข่เข้าตู้ฟัก (SETTING)<br />

การน าไข่เข้าตู้ฟักเจมส์เวย์ (JAMEWAY) เป็ นขั ้นตอนการเข็นรถตู้ฟักเข้าตู้ฟัก<br />

โดย 1 ตู้ฟัก ประกอบด้วย 2 คันรถ และ 1 ตู้ฟัก สามารถบรรจุไข่ได้ 12 คัน แบ่งเป็ น 2 แถว ๆ ละ<br />

6 คัน สามารถบรรจุไข่ได้ 90,720 ฟองต่อตู้ ไม่จ าเป็ นต้องท าขั ้นตอนการอุ่นไข่ (Pre-heat) สามารถ<br />

น าไข่จากห้องเย็นเข้าสู ่ตู้ฟักได้ทันที การจัดการภายในตู้เป็ นแบบ Multi-stages หมายถึง การมีไข่ฟัก<br />

อายุตั ้งแต่ 1 วัน ถึงอายุ 18 วัน อยู่ภายในตู้ฟักเดียวกัน<br />

การจัดการไข่ฟักในขณะที่อยู่ภายในตู้ฟัก<br />

อายุไข่ฟักไม่เกิน 12 ชม. ภายหลังจากน าไข่เข้าฟัก ท าการฆ่าเชื ้อที่ผิวเปลือกไข่<br />

และพื ้นผิวภายในตู้ฟักด้วยฟอร์มาดิไฮด์ 40 % เป็ นเวลานาน 30 นาที ห้ามรมควันไข่ฟักที ่มีอายุ<br />

ระหว่าง 12 – 96 ชม.<br />

อายุไข่ระหว่าง 1 – 14 วัน ต้องมีการกลับไข่ทุกชั ่วโมง โดยท ามุม 45 องศากับ<br />

แนวดิ่ง<br />

โดยด้านป้ านอยู่ด้านบน<br />

อายุไข่ระหว่าง 15 – 18 วัน ไม่มีการกลับไข่ ต าแหน่งไข่วางอยู่ในระดับ<br />

90 องศา<br />

โดยด้านป้ านอยู่ด้านบน<br />

63


3. การจัดการตู ้เกิด<br />

เนื่องจากสภาพแวดล้อมในตู้เกิดจะแตกต่างจากสภาพแวดล้อมภายในตู้ฟัก<br />

ท าให้<br />

ต้องมีการย้ายไข่ออกจากตู้ฟัก เพื่อให้มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของตัวอ่อนเพื<br />

่อใช้ฟักไข่<br />

ในอีก 3 วันสุดท้ายโดยมีเหตุผลดังนี ้<br />

3.1 ความต้องการสภาพแวดล้อมที ่แตกต่างกัน ทั ้งอุณหภูมิและความชื ้น และการระบาย<br />

อากาศ<br />

3.2 ในช่วงลูกไก่ออกจากเปลือกจ าเป็ นต้องใช้ถาดเกิดลูกไก่ เพื่อป้<br />

องกันลูกไก่ที่เกิดใหม่<br />

ไม่ไห้ตกจากถาด และสามารถรองรับสิ่งปฏิกูลต่าง<br />

ๆ ที่เกิดจากการฟักได้เป็<br />

นอย่างดี<br />

3.3 เพื่อให้สะดวกต่อการก<br />

าจัดสิ่งปฏิกูลต่าง<br />

ๆ และสามารถฆ่าเชื ้อในตู้เกิดได้โดยไม่<br />

กระทบกระเทือนต่อไข่ฟักอื่น<br />

ๆ<br />

3.4 เพื่อแยกไข่ที่เข้าฟักว่าเป็<br />

นไข่มีเชื ้อหรือไม่มีเชื ้อ และไข่เชื ้อตายในระยะต่าง ๆ ตลอดจน<br />

อาจจะมีไข่เน่าที่เกิดจากการติดเชื<br />

้อโรค ซึ ่งจะมีผลกระทบกระเทือนต่อไข่ฟักอื ่นๆ และลูกไก่ที่เกิด<br />

ใหม่ได้ ขั ้นตอนนี ้เรียกว่าการส่องไข่ (Egg Candling)<br />

การส่องไข่<br />

การส่องไข่ (Candling) เพื่อแยกไข่ไม่มีเชื<br />

้อหรือไข่ลมออกก่อนที ่จะน าเข้าตู้เกิด เพื่อ<br />

ป้ องกันไข่ไม่มีเชื ้อเข้าไปในตู้เกิดจะท าให้เป็ นไข่เน่าแล้วเกิดการปนเปื ้ อนกับไข่ที่จะฟักออก<br />

การ<br />

ส่องไข่จะต้องกระท าอย่างนุ่มนวล และรวดเร็วเพื ่อไม่กระทบกระเทือนกับตัวอ่อนในฟองไข่<br />

ขั ้นตอนนี ้ จะกระท าในห้องตู้เกิด ก่อนที่จะย้ายไข่ฟักอายุ<br />

18 วัน เข้าตู้เกิด การส่องไข่ สามารถ<br />

กระท าได้โดยการใช้แสงไฟส่องผ่านฟองไข่สังเกตลักษณะทึบแสง หมายถึง ไข่มีเชื ้อ ถ้าลักษณะ<br />

โปร่งแสง หมายถึงไข่ไม่มีเชื ้อ หรือไข่ลมนั่นเอง<br />

การจัดการห้องตู้เกิด<br />

- ควบคุมอุณหภูมิภายในห้องตู้เกิดให้อยู ่ที่<br />

97.0 – 97.5 °F<br />

- ควบคุมความชื ้นสัมพัทธ์อยู่ที่<br />

86 – 90 %<br />

- ความดันภายในห้องตู้เกิดจะต้องสูงกว่าระดับน ้าทะเล (Positive Pressure)<br />

- ห้องตู้เกิดจะต้องสะอาดอยู ่เสมอ ปราศจากเชื ้อก่อโรค และอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้<br />

และมีโปรแกรมการซ่อมบ ารุง<br />

- อุปกรณ์ที่ใช้ภายในห้องตู้เกิดจะต้องสะอาดและท<br />

าการฆ่าเชื ้อโรคทุกครั ้ งก่อนการ<br />

ใช้งาน<br />

64


4. การย้ายไข่ฟักจากตู ้ฟักไข่เข้าตู ้เกิด<br />

การจัดการย้ายไข่เข้าตู้เกิด JAMESWAY หลักการในการย้ายไข่จากตู้ฟักเข้าตู้เกิด<br />

โดยการน าถาดไข่ที่อยู่บริเวณที่เป็<br />

นจุดอับอากาศในตู้ฟักให้อยู ่ในต าแหน่งที่มีการหมุนเวียนอากาศที่<br />

ดีในตู้เกิด<br />

การย้ายจะเริ ่มจากชั ้นที่<br />

7 แถว A ของตู้ฟัก มาใส่ที่ชั<br />

้นล่างสุดแถว A ของตู้เกิดแล้ว<br />

เรียงขึ ้นมาตามล าดับ ส่วนชั ้นที่<br />

8 จะวางเหนือชั ้นที่<br />

1 แล้วเรียงล าดับจนถึงชั ้นบนสุดซึ ่งก็คือชั ้นที่<br />

15<br />

โดย 6 แถวของตู้ฟักจะถูกน ามาใส่ไว้ในรถตู้เกิดได้ทั ้งหมด 3 คัน คันละ 2 แถว<br />

5. การรมควันฆ่าเชื้อในตู ้เกิดหลังการน าไข่เข้าตู ้<br />

การรมควัน เกิดจากการใช้สารละลายฟอร์มาลีนท าปฏิกิริ ยากับด่างทับทิม<br />

(KMnO4) ในภาชนะเคลือบหรือสแตนเลส ที่มีขนาดความจุหลาย<br />

ๆ เท่าของปริมาตรสารละลายที ่<br />

จะต้องใช้ในการท าปฏิกิริยานั ้น การท าปฏิกิริยานั ้นจะได้ก๊าซฟอร์มัลดีไฮด์ ซึ ่งมีคุณสมบัติในการ<br />

ฆ่าเชื ้อโรคได้ดี แต่ต้องระมัดระวังการหายใจเอาก๊าซเข้าสู ่ร่างกาย เพราะจะเป็ นพิษอันตรายต่อ<br />

ผิวหนังและระบบหายใจ การระคายเคืองต่อตา ความเข้มข้นของก๊าซฟอร์มัลดีไฮด์ที่ใช้ฆ่าเชื<br />

้อในที่<br />

ต่าง ๆ นั ้น จะแตกต่างกันไปตามความเหมาะสม ความเข้มข้นของก๊าซฟอร์มัลดีไฮด์ 1 เท่า ( 1 X )<br />

= ความเข้มข้นของก๊าซฟอร์มัลดีไฮด์ที ่เกิดจากการใช้ฟอร์มาลีน 40 % ปริมาตร 40 CC ท า<br />

ปฏิกิริ ยากับด่างทับทิมหนัก 20 กรัม ในปริ มาตรของห้องขนาด 100 ลูกบาศก์ฟุต ส าหรับ<br />

ระยะเวลาที่ใช้ในการฆ่าเชื<br />

้อและความเข้มข้นของก๊าซที ่ใช้ในการฆ่าเชื ้อในที่ต่าง<br />

ๆ ในโรงฟักไข่<br />

ดังนี ้<br />

่<br />

ส่วนที่ฆ่าเชื<br />

้อโรค ความเข้มข้น ระยะเวลา ก า ร ท า ล า ย ก๊ า ซ โ ด ย ใ ช้<br />

ของก๊าซ รมก๊าซ (นาที) แอมโมเนียมไฮดร๊อกไซด์<br />

ไข่ฟักภายหลังจากแม่ไก่ให้ไข่ 3x 20 ไม่จ าเป็ น<br />

ไข่ฟักในตู้ฟักไข่(วันแรกของการฟัก) 2x 20 ไม่จ าเป็ น<br />

ลูกไก่ในตู้เกิดลูกไก่ 1x 3 จ าเป็ น<br />

ห้องฟักไข่ 1x, 2x 30 ไม่จ าเป็ น<br />

ตู้เกิดลูกไก่ภายหลังจากน าลูกไก่ออกไปแล้ว 3x 30 ไม่จ าเป็ น<br />

ห้องเกิดลูกไก่,ห้องเก็บลูกไก่ในระหว่างที<br />

ลูกไก่เกิด<br />

3x 30 ไม่จ าเป็ น<br />

ห้องล้างเครื่องมือ<br />

3x 30 ไม่จ าเป็ น<br />

กล่องใส่ลูกไก่ 3x 30 ไม่จ าเป็ น<br />

รถขนส่งลูกไก่ 5x 20 จ าเป็ น<br />

65


การหยดฟอร์มาลีนในตู้เกิดหลังย้ายไข่<br />

การหยดฟอร์มาลีนในตู้เกิด จะได้ก๊าซที่ระบายออกมาเป็<br />

นก๊าซฟอร์มัลดีไฮด์<br />

สามารถฆ่าเชื ้อโรคบนผิวของฟองไข่แล้วยังช่วยให้ขนอ่อนของลูกไก่มีสีเหลือง<br />

สิ่งที่ต้องควบคุมในขั<br />

้นตอนของการรมควันฆ่าเชื ้อ และหยดฟอร์มาลีนในตู้เกิดหลังย้ายไข่<br />

1. คุณสมบัติในการฆ่าเชื ้อของก๊าซฟอร์มัลดีไฮด์จะสูงสุดในสภาวะที ่มีความชื ้นสัมพัทธ์<br />

75 % หรือความชื ้นสูงกว่านี ้ และมีอุณหภูมิ 75 °F<br />

2. ในการรมควันฆ่าเชื ้ อก๊าซฟอร์ มัลดีไฮด์นั ้ นเป็ นพิษต่อตัวอ่อนของลูกไก่ที ่ก าลัง<br />

เจริญเติบโต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอายุ<br />

24 – 96 ชั่วโมง<br />

และในระหว่างที่ตัวอ่อนเจาะเปลือก<br />

ไข่อยู่<br />

3. ปริมาณสารที ่ใช้และเวลาในการรมต้องให้ได้ตามที่ก<br />

าหนดไว้ มิฉะนั ้นจากผลดีจะ<br />

กลายเป็ นผลเสีย<br />

4. หลีกเลี่ยงการหายใจเอาก๊าซเข้าไป<br />

ฟอร์มาลีนสัมผัสผิวหนัง เข้าตา เพราะจะท าให้<br />

เป็ นพิษต่อร่างกาย เกิดการระคายเคือง<br />

การดึงลูกไก่ออกจากตู้เกิด<br />

เมื่อการฟักไข่ครบก<br />

าหนด 21 วัน ลูกไก่เจาะเปลือกไข่ออกมาเป็ นอิสระตัวของ<br />

ลูกไก่จะเปี ยกและไม่แข็งแรงจะต้องอาศัยระยะเวลาอยู ่ในตู้เกิดอีกระยะหนึ ่งเพื่อให้ลูกไก่รอจนขน<br />

แห้งสนิท ถ้าลูกไก่ในตู้เกิด 95 % แห้งดีแล้ว จึงน าลูกไก่ทั ้งหมดออกจากตู้เกิดได้ แต่ถ้าปล่อยให้<br />

ลูกไก่อยู่ในตู้เกิดนานเกินไปจะท<br />

าให้ตัวลูกไก่แห้ง เนื่องจากสูญเสียน<br />

้าออกจากร่างกายมากเกินไป<br />

ลูกไก่จะเกิดความเครียดและเป็ นลูกไก่ที่มีคุณภาพต<br />

่า เมื่อน<br />

าไปเลี ้ยงจะมีอัตราการตายสูง ฉะนั ้น<br />

ก่อนการดึงลูกไก่ 12 ชั่วโมง<br />

ต้องตรวจสอบการแห้งของขนลูกไก่เพื่อก<br />

าหนดการดึงลูกไก่ออกจาก<br />

ตู้เกิดตามล าดับ โดยก าหนดการแห้งของขนอยู่ที่ประมาณ<br />

70 – 80 %<br />

ข้อควรระวัง<br />

1. โกยลูกไก่ใส่กล่องพลาสติกด้วยความระมัดระวัง<br />

2. อย่าให้มีเปลือกไข่ติดไปกับลูกไก่<br />

3. ไม่ท าให้ลูกไก่เกิดอาการบาดเจ็บจากการท างานของพนักงาน<br />

66


การคัดคุณภาพและการคัดเพศลูกไก่<br />

เมื่อมีการฟักไข่ครบ<br />

21 วันลูกไก่ส่วนใหญ่ออกจากเปลือกไข่และขนของลูกไก่จะแห้งดี<br />

ขณะที่ลูกไก่ออกจากตู้เกิดใหม่<br />

ๆ การตรวจสอบและการคัดคุณภาพสามารถท าให้ง่าย การคัด<br />

คุณภาพลูกไก่จะคัดลูกไก่ที ่มีคุณภาพต ่าและไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐานลูกไก่ออก แต่จะคัดลูกไก่<br />

ที่ดีมีคุณภาพขายให้ลูกค้า<br />

ลักษณะที่ดีของลูกไก่<br />

ลักษณะภายนอกแข็งแรง ร่าเริงแจ่มใส ขาสีเหลืองสม ่าเสมอ<br />

กระตือรือร้น<br />

ลักษณะที่ไม่ดีของลูกไก่<br />

ลักษณะซึม ซีด แข่งเหี่ยว<br />

นอนหมอบ สะดือด า สะดืออักเสบ<br />

ท้องบวมและลักษณะพิการทุกชนิด เช่น คอบิด คอแหงน ปากเบี ้ยว ตาบอด ข้อบวมนิ้วคด เป็ นต้น<br />

การคัดเพศลูกไก่<br />

คือ การน าลูกไก่ที่ออกจากตู้เกิด<br />

ผ่านการคัดคุณภาพเรียบร้อยแล้วมาคัดแยกเพศระหว่าง<br />

เพศผู้และเพศเมีย เพื่อการขายและการจัดการเลี<br />

้ยงต่อไป<br />

การคัดแยกเพศลูกไก่พันธุ์เนื ้อ<br />

โดยดูที่ลักษณะที่แตกต่างกันระหว่างขนปี<br />

กของเพศผู้และเพศเมีย ลักษณะการงอก<br />

ของขนปี กลูกไก่มีดังนี ้<br />

ลักษณะขนปี กของลูกไก่เพศผู้ มี 2 ลักษณะ คือ<br />

1. จะพบลักษณะขนปี กบน ยาวเท่ากับขนปี กล่าง<br />

2. จะพบลักษณะขนปี กบนยาวกว่าขนปี กล่าง<br />

ลักษณะขนปี กของลูกไก่เพศเมีย มีลักษณะของขนปี กบนสั ้นกว่าขนปี กล่าง<br />

การฉีดวัคซีนให้กับลูกไก่<br />

เพื่อป้<br />

องกันโรคที่จะเกิดขึ<br />

้นกับไก่ เนื่องจากโรคบางชนิดไม่สามารถที<br />

่จะรักษาได้ แต่<br />

สามารถป้ องกันได้ และให้ผลตอบแทนดีกว่าการรักษา การฉีดวัคซีนให้กับลูกไก่ หลังจากคัด<br />

คุณภาพและคัดแยกเพศแล้ว ระหว่างการฉีดวัคซีน เครื่องฉีดวัคซีนก็จะท<br />

าการนับจ านวนลูกไก่ไป<br />

ด้วย โดยอาจจะก าหนดจ านวนลูกไก่ต่อกล่อง มีทั ้ง 102 ตัว / กล่อง และ 80 ตัว / กล่อง วัคซีนที ่<br />

ฉีดให้กับลูกไก่มีอยู ่ด้วยกัน 2 ประเภท<br />

1. วัคซีนชนิดฉีด ( เชื ้อตาย ) โดยฉีดเข้าใต้ผิวหนังบริเวณคอลูกไก่ เช่น<br />

1.1 วัคซีนมาร์เร็กซ์ Marek ( กัมโบโร ) ฉีดให้ลูกไก่พันธุ์ไข่<br />

1.2 วัคซีน N D K ( นิวคาสเซิล ) ฉีดให้กับลูกไก่พันธุ์เนื ้อ<br />

67


2. วัคซีนชนิดพ่น ( เชื ้อเป็ น ) โดยฉีดพ่นลงบนกล่องลูกไก่ทั ้งกล่อง เช่น<br />

2.1 วัคซีน IB, ND Clone 30, MA5 ฉีดพ่นให้กับลูกไก่พันธุ์เนื ้อ<br />

2.2 วัคซีน บิด ( Coccivac ) ฉีดพ่นให้กับลูกไก่พันธุ์ไข่<br />

สิ่งที่ต้องควบคุมในขั<br />

้นตอนการฉีดวัคซีน<br />

1. ขบวนการเก็บรักษาวัคซีนและการขนส่ง อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ที่<br />

2 – 8 °C<br />

2. วิธีการท าวัคซีนต้องให้ถูกต้องตามขั ้นตอนที่ก<br />

าหนดไว้<br />

3. ระยะเวลาของการท าวัคซีนต้องอยู ่ในระยะเวลาที่ก<br />

าหนดตามชนิดของ<br />

วัคซีนนั ้น ๆ<br />

4. การเปลี่ยนถ่ายอะไหล่เครื่องฉีดวัคซีนให้ปฏิบัติตามข้อก<br />

าหนดของเครื่องฉีดวัคซีน<br />

การชั่งน<br />

้าหนักกล่องลูกไก่และการ Packing<br />

เมื่อลูกไก่ผ่านการคัดคุณภาพแยกเพศและนับจ<br />

านวนด้วยเครื ่องท าวัคซีนและบรรจุกล่อง<br />

เรียบร้อยแล้วกล่อง ลูกไก่จะถูกจัดเรียงไว้บนรถเข็น 10 กล่อง/ คัน จากนั ้นน ากล่องลูกไก่แต่ละฝูง<br />

มาชั่งน<br />

้าหนักเพื่อเก็บบันทึกข้อมูลน<br />

้าหนักลูกไก่ขณะที ่อยู่โรงฟักและตรวจสอบการสูญเสียน<br />

้าหนัก<br />

เมื่อลูกไก่ถึงมือลูกค้า<br />

การชั่งน<br />

้าหนักก็ช่วยเช็คจ านวนของลูกไก่ต่อกล่อง ซึ ่ งน ้าหนักของลูกไก่<br />

รวมกล่องแต่ละฝูง แต่ละช่วงอายุมีเกณฑ์ในการเปรียบเทียบได้ ในทางปฏิบัติยอมให้น ้าหนัก<br />

ลูกไก่ บวก ลบ ได้ 1 – 2 กรัมของน ้าหนักลูกไก่เฉลี่ยของแต่ละฝูงหากมีน<br />

้าหนักมากหรือน้อยเกินไป<br />

ต้องท าการเปิ ดฝา กล่องลูกไก่แล้วนับจ านวนใหม่โดยน ้าหนักลูกไก่ในกล่องดังแสดงในตาราง<br />

ลูกไก่เนื้อ ลูกไก่ไข่<br />

น ้าหนักลูกไก่ 102 ตัว / กล่องกระดาษ เกรด A ตั ้ ง แ ต่<br />

4.5 กิโลกรัม ขึ ้นไป<br />

น ้าหนักลูกไก่ 80 ตัว / กล่องพลาสติก เกรด A ตั ้ ง แ ต่<br />

5.8 กิโลกรัม ขึ ้นไป<br />

น ้าหนักลูกไก่ 102 ตัว / กล่องกระดาษ เกรด B ตั ้ ง แ ต่<br />

4.0 ถึง 4.5 กิโลกรัม ขึ ้นไป<br />

น ้าหนักลูกไก่ 80 ตัว / กล่องพลาสติก เกรด B ตั ้ ง แ ต่<br />

4.9 ถึง 5.8 กิโลกรัม ขึ ้นไป<br />

68<br />

น ้าหนักลูกไก่ 80 ตัว / กล่องพลาสติก เกรด A<br />

ตั ้งแต่ 5.6 กิโลกรัม ขึ ้นไป


การก าหนดสัญลักษณ์ข้างกล่องลูกไก่<br />

เพื่อเป็<br />

นการชี ้ บ่งลักษณะของสินค้า และเก็บบันทึกประวัติของไข่และลูกไก่ที ่ออกในแต่<br />

ละครั ้ ง โดยจะมีการระบุถึง สายพันธุ์ไก่, ฝูงไก่, อายุพ่อแม่พันธุ์ของไข่ฟัก, รหัสฟาร์ม, เล้าที่เลี<br />

้ยง,<br />

วันเดือนปี ที่ฟักออก,<br />

น ้าหนักลูกไก่รวมกล่อง ปัจจุบันการก าหนดรหัสข้างกล่องลูกไก่เพื ่อให้<br />

สามารถตรวจสอบย้อนกลับ (Tractability System) กระบวนการผลิตไก่ทั ้งหมด โดยจะมีการ<br />

ก าหนดรหัสข้างกล่องลูกไก่มีตัวอักษรทั ้งหมด 10 ตัว คือ<br />

่ อักษรตัวที 1 คือ รหัสสายพันธุ์ไก่ที ่น าเข้าเลี ้ยง<br />

A หมายถึงสายพันธุ์ ARBORACRES B หมายถึงสายพันธุ์ ROSS<br />

C หมายถึงสายพันธุ์ COBB<br />

L หมายถึงสายพันธุ์ LOHMONN<br />

H หมายถึงสายพันธุ์ HUBBARD<br />

่ อักษรตัวที 2 คือ รหัสฟาร์มไก่พันธุ์<br />

T หมายถึง BF-1 N หมายถึง BFI-1<br />

U หมายถึง BF-2 O หมายถึง BFI-2<br />

V หมายถึง BF-3 P หมายถึง BFI-3<br />

W หมายถึง BF-4 Q หมายถึง BFI-4<br />

X หมายถึง BF-5 R หมายถึง BFI-5<br />

S หมายถึง BFI-6<br />

่ อักษรตัวที 3 คือ รหัสแถวของเล้าไก่<br />

0 หมายถึง ไม่มีแยกแถว หรือ H 2 หมายถึง แถว B<br />

1 หมายถึง แถว A 3 หมายถึง แถว C<br />

อักษรตัวที่<br />

4 คือ รหัสเล้าไก่ในแถว<br />

อักษรตัวที่<br />

5 และ 6 คือ อายุแม่ไก่<br />

อักษรตัวที่<br />

7 คือ ปี<br />

อักษรตัวที่<br />

8 คือ เดือน<br />

อักษรตัวที่<br />

9 และ10 คือ วันที่<br />

69


ตัวอย่าง น าไข่ฟักสายพันธุ์ AA จากฟาร์ม BF - 2 แถว C เล้า 6 อายุ 28 สัปดาห์ เข้าฟัก วันที่<br />

28<br />

เมษายน 2547 ออกวันที่<br />

19 พฤษภาคม 2547 คือ AU36287519<br />

A = สายพันธุ์ AA 28 = 28 สัปดาห์<br />

U = ฟาร์มไก่พันธุ์ปากช่องฟาร์ม 2 7 = ปี 2547<br />

3 = แถว C 5 = พฤษภาคม<br />

6 = เล้าที่<br />

6 19 = วันที่<br />

19<br />

การจัดส่งลูกไก่ให้ลูกค้า<br />

ในกระบวนการฟักไข่ การจัดลูกไก่ส่งให้ลูกค้าเป็ นขั ้นตอนสุดท้าย ไม่ว่าจะกรณีที ่ขนส่ง<br />

โดยรถบริษัทเอง หรื อ ลูกค้าน ารถมารับเอง การก าหนดการจัดลูกไก่ให้ลูกค้าในแต่ละวัน จะถูก<br />

ก าหนด โดยเจ้าหน้าที่ฝ่<br />

ายขายลูกไก่ เป็ นการประสานงานกันระหว่างโรงฟักไข่ กับเจ้าหน้าที ่ฝ่ าย<br />

ขาย ทั ้งก่อนและหลังการออกลูกไก่ เพื่อก<br />

าหนดยอดการขายลูกไก่และก าหนดการขนส่ง การ<br />

ขนส่งลูกไก่ไปสู ่ลูกค้านั ้น ต้องให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพของลูกไก่ให้น้อยที่สุด<br />

โดยค านึ ่งถึง<br />

ระยะเวลาในการขนส่ง สภาพของเส้นทางช่วงเวลาในการขนส่ง และการบรรจุลูกไก่ภายในรถ<br />

ขนส่ง ผู้ขนส่งต้องมีระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด<br />

การเตรียมการจัดส่งลูกไก่ให้ลูกค้า<br />

หลังจากการออกลูกไก่เสร็จในแต่ละวัน ทางโรงฟักไข่จะแจ้งจ านวนลูกไก่ที่ออก<br />

ทั ้งหมดให้กับเจ้าหน้าที ่ฝ่ ายขาย เพื่อก<br />

าหนดการขายลูกไก่ ให้กับลูกค้าที่ก<br />

าหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว<br />

แจ้งกลับมายังโรงฟักไข่ เพื่อจัดลูกไก่ให้ตรงตามรายชื่อและจ<br />

านวนลูกไก่ของลูกค้าแต่ละราย โดย<br />

สัญลักษณ์เป็ นสีและป้ ายชื่อลูกค้า<br />

เพื่อให้ง่ายต่อการจัดส่งและความถูกต้องแม่นย<br />

ามากที่สุด<br />

การพักลูกไก่ในห้องลูกไก่เพื ่อรอการจัดส่งให้กับลูกค้า ลูกไก่จะต้องถูกจัดส่ง<br />

ภายในวันที ่ออกลูกไก่ ในกรณีที่ไม่สามารถจัดลูกไก่ออกได้ภายในวันที<br />

่ออกลูกไก่ จะต้องท าการ<br />

ตรวจสอบสภาพลูกไก่ทุกกล่อง และแก้ไขข้อบกพร่องที ่พบทันที บริเวณการพักรอจะต้องท าการ<br />

ควบคุมอุณหภูมิอยู่ระหว่าง<br />

90 – 95 °F และการจัดเรียงจะต้องจัดเรียงห่างกันอย่างน้อย 30 ซ.ม./ตั ้ง/<br />

แถว เพื่อช่วยเรื่องการระบายอากาศ<br />

การจัดส่งลูกไก่ให้ลูกค้ามี 2 วิธีคือ<br />

1. การส่งมอบลูกไก่ให้ลูกค้ารับเอง โดยลูกค้าจะน ารถมารับลูกไก่เอง ณ จุดรับ<br />

ลูกไก่ โดยขั ้นตอนในการเข้า ออก จะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการเข้าออกของโรงฟัก การขับรถ<br />

ขนส่งลูกไก่ต้องขับด้วยความระมัดระวัง เพื่อไม่ให้ลูกไก่ได้รับการกระทบกระเทือน<br />

2. การส่งมอบลูกไก่ให้ลูกค้าโดยรถขนส่งของบริษัท<br />

70


การจัดส่งที่ดีจะต้องประกอบไปด้วย<br />

- รถขนส่งจะต้องสะอาด อยู่ในสภาพใช้งานได้<br />

- ตรวจสอบคุณภาพลูกไก่ก่อนการขนส่ง<br />

- เคลื่อนย้ายลูกไก่ด้วยความนุ่มนวล<br />

- ระยะเวลาในการขนส่งต้องไม่เกิน 24 ช.ม.<br />

ข้อควรระวัง<br />

1. ห้ามพนักงานปฏิบัติการขนส่งแก้ไขเอกสารใบรับลูกไก่<br />

2. หากจ านวนไม่ถูกต้องหรือมีปัญหาในการส่งมอบให้พนักงานขนส่งเเจ้งกับหัวหน้า<br />

หน่วยขนส่งเพื่อด<br />

าเนินการประสานงานกับผู้ที ่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหา<br />

สิ่งที่ต้องการควบคุมในขั<br />

้นตอนการส่งมอบลูกไก่ให้ลูกค้า<br />

1. จ านวนลูกไก่ที่ส่งต้องตรงตามใบจัดส่งลูกค้า<br />

2. ส่งลูกไก่ให้ถึงลูกค้าตามเวลาที ่ก าหนด<br />

3. ลูกไก่เสียหายได้ไม่เกิน 2 % จากจ านวนที่ลูกค้าได้รับ<br />

ที่มา<br />

: หนังสือคู่มือการจัดการสถานที่ฟักไข่<br />

บริษัทอาหารเบทเทอร์ จ ากัด และ บริษัท บี. ฟู ้ ด<br />

โปรดักส์อินเตอร์เนชั ่นแนล จ ากัด<br />

71

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!