27.06.2013 Views

ภาพที่ 1

ภาพที่ 1

ภาพที่ 1

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

การคัดแยกแบคทีเรียที<br />

่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกร<br />

Isolation of Cellulase-Producing Bacteria from Manure.<br />

โดย<br />

นางสาวทิพวรรณ แตงสวน<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

Curriculum of Animal Science<br />

Division of Animal Production Technology and Fisheries<br />

Faculty of Agricultural Technology<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า King Mongkut’s Institute of Technology<br />

เจ้าคุณทหารลาดกระบัง Chaokuntaharn Ladkrabang<br />

กรุงเทพฯ 10520 Bangkok 10520 Thailand


ใบรับรองปัญหาพิเศษปริญญาตรี<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง<br />

เรื่อง<br />

การคัดแยกแบคทีเรียที่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกร<br />

Isolation of Cellulase-Producing Bacteria from Manure.<br />

ได้รับการพิจารณาเห็นชอบโดย<br />

โดย<br />

นางสาวทิพวรรณ แตงสวน<br />

อาจารย์ที่ปรึกษา.........................................................................<br />

(ผศ.ดร. กนกรัตน์ ศรีกิจเกษมวัฒน์)<br />

อาจารย์ที่ปรึกษา<br />

หลักสูตรรับรองแล้ว<br />

....................................................................................<br />

(รศ.ดร. กานต์ สุขสุแพทย์)<br />

ประธานหลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

วันที่..........เดือน............................ปี<br />

............


ปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

การคัดแยกแบคทีเรียที่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกร<br />

Isolation of Cellulase-Producing Bacteria from Manure.<br />

โดย<br />

นางสาวทิพวรรณ แตงสวน<br />

เสนอ<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

พ.ศ.2553


บทคัดย่อปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

การคัดแยกแบคทีเรียที่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกร<br />

Isolation of Cellulase-Producing Bacteria from Manure.<br />

การคัดแยกแบคทีเรียที ่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรได้ท าการศึกษาคัดแยกจากมูล<br />

สุกรสดและจากมูลสุกรที ่ได้บ่อหมัก biogas โดยน ามาวิเคราะห์กิจกรรมเอนไซม์โดยใช้อาหาร<br />

CMC บ่มในสภาพไร้อากาศที ่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 72 ชั่วโมง<br />

หาอัตราส่วนของ<br />

บริเวณโซนใสต่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโคโลนี (HC) ผลการคัดแยกพบว่า การคัดแยกแบคทีเรียที ่<br />

สามารถสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสด พบว่ามีเชื ้อที่แสดงกิจกรรมของเอนไซม์เซลลูเลส<br />

ทั ้งหมด 20 ตัวอย่าง จากบ่อหมัก biogas มีเชื ้อที่แสดงกิจกรรมของเอนไซม์เซลลูเลส<br />

9 ตัวอย่าง<br />

จากการศึกษาลักษณะการเรียงตัวและการติดสีแกรมของเชื ้อแบคทีเรียจากมูลสุกรสด ที่สามารถ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสได้ สามารถจัดกลุ่มแบคทีเรี ยได้ 8 กลุ่มและพบว่าตัวอย่างหมายเลข<br />

SD6R1C79 สามารถผลิตเอนไซม์เซลลูเลสได้ดีที ่สุด โดยมีค่า HC เท่ากับ 3.88 เซนติเมตร ส่วนการ<br />

คัดแยกเชื ้อแบคทีเรียที ่สามารถสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรที ่ได้บ่อหมัก biogas พบเชื ้อ<br />

แบคทีเรียหมายเลข L(A) โดยมีค่า HC เท่ากับ 3.09 เซนติเมตร ซึ ่งเป็ นที่น่าสนใจที่จะศึกษาถึงการ<br />

จ าแนกชนิดเชื ้อและหาสภาวะที ่เหมาะสมต่อการเจริญและสร้างเอนไซม์ของเชื ้อเพื่อน<br />

าไปใช้<br />

ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่อไป<br />

I


ค านิยม<br />

ปัญหาพิเศษฉบับนี ้ ส าเร็จลุล่วงลงได้ด้วยดีโดยได้รับความกรุณาจาก ผศ.ดร. กนกรัตน์<br />

ศรีกิจเกษมวัฒน์ อาจารย์ที่ปรึกษา<br />

ที่กรุณาให้ค<br />

าแนะน าช่วยเหลือ ให้ความเอื ้อเฟื ้ อวัสดุอุปกรณ์<br />

ต่างๆ และทุนในการวิจัย ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ของปัญหาพิเศษฉบับนี ้ จนเสร็จ<br />

เรียบร้อยและสมบูรณ์ยิ่งขึ<br />

้น<br />

ขอขอบพระคุณ โครงการย่อยบัณฑิตศึกษาและวิจัย สาขาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร<br />

ห้องปฏิ บัติ ก ารสรี รวิท ย าและกา ย วิภาคสัตว์ ภาควิช าเทคโนโลยีก ารผลิ ตสัตว์ คณะ<br />

เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ ห้ อ ง ป ฏิ บัติ ก า ร ภ า ค วิ ช า เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ผ ลิ ต พื ช ค ณ ะ<br />

เทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังที ่ให้ความ<br />

อนุเคราะห์ในการใช้ห้องปฏิบัติการ<br />

ขอขอบคุณพี่ๆ<br />

ปริญญาโท โดยเฉพาะ นางสาวปัทมาพร จิตปรีดา และนางสาวมานิตา<br />

บุพตา ที่คอยเป็<br />

นที่ปรึกษาและให้ความช่วยเหลือตลอดจนปัญหาพิเศษฉบับนี<br />

้เสร็จสมบูรณ์<br />

ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และพี่น้องทุกคนที่คอยเป็<br />

นก าลังใจให้ตลอดในยามที่มี<br />

ปัญหาและยามที่ขาดก<br />

าลังใจ<br />

ขอขอบคุณเพื่อนๆ<br />

ทุกคนที่คอยถามไถ่อย่างเป็<br />

นห่วงและคอยเป็ นก าลังใจจนท าให้ปัญหา<br />

พิเศษฉบับนี ้ส าเร็จลงได้ด้วยดี<br />

II<br />

ทิพวรรณ แตงสวน<br />

31 มีนาคม 2554


สารบัญ<br />

หน้า<br />

บทคัดย่อ I<br />

ค านิยม II<br />

สารบัญ III<br />

สารบัญตาราง IV<br />

สารบัญภาพ V<br />

ค าน า 1<br />

วัตถุประสงค์ 1<br />

การตรวจเอกสาร 2<br />

อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 12<br />

ผลการทดลอง 17<br />

สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง 29<br />

เอกสารอ้างอิง 30<br />

ภาคผนวก 32<br />

III


สารบัญตาราง<br />

่ ตารางที<br />

หน้า<br />

1. จุลินทรีย์ที ่สามารถผลิตเอนไซม์เซลลูเลสได้ 8<br />

2. เชื ้อราที่สามารถสร้างเอนไซม์เซลลูเลส<br />

9<br />

3. ผลศึกษาลักษณะ รูปร่าง ของเชื ้อแบคทีเรีย และการทดสอบความ<br />

สามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสที่คัดเลือกได้จากมูลสุกรสด<br />

4. ผลศึกษาลักษณะ รูปร่าง ของเชื ้อแบคทีเรีย และการทดสอบความ<br />

สามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสที่คัดเลือกได้จากมูลสุกร<br />

18<br />

จากบ่อแก๊ซชีวภาพ 24<br />

IV


สารบัญภาพ<br />

่ ภาพที<br />

หน้า<br />

1. ลักษณะโครงสร้างของเซลลูโลส และหน่วยย่อยบีต้า-ดี-กลูโคไฟราโนส<br />

ที่ต่อด้วยพันธะบีต้า-1,4-ไกลโคซิดิก<br />

ระหว่างคาร์บอนต าแหน่งที่<br />

1<br />

ของหน่วยย่อยบีต้า-ดี-กลูโคไฟราโนส กับคาร์บอนต าแหน่งที่<br />

4<br />

ของหน่วยย่อยถัดไป 3<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

2. รูปร่างของโครงสร้างเซลลูโลสที ่พบในผนังเซลล์ทั่วไป<br />

3<br />

3. โครงสร้างสามมิติของเอนไซม์เซลลูเลส 5<br />

4. กลไลการท าปฏิกิริยาการย่อยสลายเซลลูโลสขของระบบเอนไซม์เซลลูเลส 6<br />

5. แสดงการท าเจือจางล าดับส่วน 14<br />

6. วิธีการ spread plate 14<br />

7. วิธีการ streak plate 14<br />

8. เทคนิคการย้อมสีแบคทีเรีย 15<br />

9. ลักษณะการเกิดโซนใสรอบโคโลนีของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่สร้างเอนไซม์เซลลูเลส<br />

10. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มที 1<br />

19<br />

เชื ้อติดสีแกรมลบ รูปร่างกลม ลักษณะการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ<br />

11. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที 2<br />

19<br />

เชื ้อติดสีแกรมลบ รูปร่างกลมหรือรี มีการเรียงตัวอยู ่เป็ นคู่ 20<br />

12. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที 3<br />

เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม มีการจัดเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

และเป็ นคู่ๆ<br />

13. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที 4<br />

20<br />

เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลมหรือรี เรียงตัวจับกันเป็ นคู่ 21<br />

14. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที 5<br />

เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม ลักษณะการเรียงตัวเป็ นคู่สอง และคู่สี<br />

21<br />

V


สารบัญภาพ(ต่อ)<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่ ่<br />

่<br />

ภาพที<br />

หน้า<br />

15. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที 6<br />

เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม ลักษณะการเรียงตัวอยู ่เป็ นคู่สี<br />

22<br />

16. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที 7<br />

เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้น มีการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ<br />

17. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที 8<br />

22<br />

เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้น มีการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ<br />

18. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

23<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

กลุ่มเชื ้อที 1 เชื ้อติดสีแกรมลบ รูปร่างกลมหรือรี ลักษณะการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

และเป็ นคู่ๆ 24<br />

19. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

กลุ่มเชื ้อที 2 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม มีการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

และเป็ นคู่ๆ 25<br />

20. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

กลุ่มเชื ้อที 3 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม การจัดเรียงตัวจับกันเป็ นคู่สอง<br />

และคู่สี<br />

25<br />

21. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

กลุ่มเชื ้อที 4 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม ลักษณะการเรียงตัวเป็ นคู่สี<br />

22. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

26<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

กลุ่มเชื ้อที 5 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม เรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

เป็ นคู่ และเป็ นสาย 26<br />

VI


สารบัญภาพ(ต่อ)<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ภาพที<br />

หน้า<br />

23. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

กลุ่มเชื ้อที 6 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้น มีการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

24. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

27<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

กลุ่มเชื ้อที 7 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้น ลักษณะการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ 27<br />

25. แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มี<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

กลุ่มเชื ้อที 8 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้น ลักษณะการรียงตัวจับกัน<br />

อยู่เป็<br />

นคู่ 28<br />

VII


การคัดแยกแบคทีเรียที่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกร<br />

Isolation of Cellulase-Producing Bacteria from Manure.<br />

ค าน า<br />

ปัจจุบันการเลี ้ ยงสัตว์ภายในประเทศก าลังเจริ ญเติบโตและมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว<br />

โดยเฉพาะฟาร์มสุกร ที่ตอบสนองความต้องการการบริโภคเนื<br />

้อสุกร ซึ ่ งสิ่งที่เราหลีกเลี่ยงไม่ได้<br />

ก็<br />

คือ มูลสุกรและของเสียจากฟาร์มสุกรที ่มีปริมาณมากและก าลังเป็ นปัญหาท าให้เกิดน ้าเสีย และ<br />

สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม<br />

ดังนั ้นจึงมุ่งเน้นที่จะน<br />

ามูลสุกรและของเสียจากฟาร์มสุกรมาหาจุลินทรีย์<br />

ที่มีประสิทธิภาพในการผลิตเอนไซม์<br />

เพื่อใช้เป็<br />

นหัวเชื ้อในการย่อยสารประกอบในน ้าเสียเพื ่อช่วย<br />

ลดระยะเวลาในการบ าบัดให้ทันกับการเกิดน ้าเสียในปัจจุบันทั ้งยังอาจน ามาใช้ผลิตเอนไซม์ใน<br />

อุตสาหกรรมได้อีกทางหนึ ่ งเนื่องจากแหล่งเอนไซม์ที<br />

่ส าคัญและเป็ นที่น่าสนใจอย่างมาก<br />

คือ<br />

จุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการผลิตเอนไซม์เซลลูเลส ซึ ่งเป็ นเอนไซม์ที่มีความสามารถในการ<br />

ย่อยสลายสารประกอบเซลลูโลส ที่เป็<br />

นองค์ประกอบในน ้ าเสี ยและในขยะต่าง ๆ นอกจากนี ้<br />

จุลินทรีย์หลายชนิดที ่สร้างเอนไซม์ เซลลูเลสออกมาย่อยเซลลูโลส เช่น เชื ้อรา แบคทีเรี ย และ<br />

เชื ้อแอคติโนมัยสิท ผลจากการย่อยสลายเซลลูโลสด้วยเอนไซม์เซลลูเลสจะได้ผลิตภัณฑ์สุดท้าย คือ<br />

น ้าตาลกลูโคส ซึ ่งสามารถน าไปใช้ในการผลิตแอลกอฮอล์ โปรตีนเซลล์เดียว วิตามิน กรดอินทรีย์<br />

สารปฏิชีวนะ และเคมีภัณฑ์ต่าง ๆ โดยผ่านกระบวนการหมัก และยังน าเอนไซม์เซลลูเลสไปใช้ใน<br />

อุตสาหกรรมต่างๆ อีก เช่น อุตสาหกรรมการผลิตยาง อาหาร กระดาษ เป็ นต้น<br />

ดังนั ้นการศึกษาครั ้ งนี ้ ได้ท าการศึกษาการแยกจุลินทรีย์ที ่สามารถสร้างเอนไซม์เซลลูเลส<br />

โดยท าการแยกจุลินทรีย์จากมูลสุกรสด และมูลสุกรจากบ่อแก๊สชีวภาพ และน าไปใช้ในการเพิ่ม<br />

คุณค่าของวัตถุดิบที ่เหลือจากฟาร์มสุกร ยังช่วยลดการน าเข้าเอนไซม์ส าเร็จรูปจากต่างประเทศได้<br />

อีกด้วย<br />

วัตถุประสงค์<br />

เพื่อการจัดจ<br />

าแนกเชื ้อจุลินทรีย์ที ่สามารถสร้างกิจกรรมเอนไซม์ Cellulase ที่แยกได้จากมูล<br />

สุกรสด และมูลสุกรจากบ่อก๊าซชีวภาพ<br />

1


การตรวจเอกสาร<br />

1. เซลลูโลส (cellulose)<br />

เซลลูโลส เป็ นโพลีแซคคาไรด์ที ่มีขนาดเล็กมาก ลักษณะเป็ นแท่ง (rod-shaped units) ที่<br />

เรี ยกว่า ไมเซล (micells) บางครั ้ งประกอบเป็ นหน่วยใหญ่จากไมเซล 10 ถึง 20 หน่วย เป็ น<br />

ไมโครไฟบริล (microfibril) ซึ ่งโครงสร้างมีลักษณะส่วนใหญ่เป็ นผลึก (cystalline) จึงถูกย่อยสลาย<br />

ได้ยาก เป็ นส่วนประกอบอินทรีย์ที ่พบมากที่สุดประมาณร้อยละ<br />

45 ของสารอินทรีย์ทั ้งหมดใน<br />

ธรรมชาติ ส่วนใหญ่ถูกผลิตขึ ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และสะสมอยู ่ที่ผนัง<br />

เซลล์ เช่น ฝ้ าย มีส่วนประกอบของเซลลูโลสมากกว่าร้อยละ 97-99 จัดว่าเป็ นเซลลูโลสที่บริสุทธิ<br />

์<br />

ประกอบด้วยสายโพลิเมอร์เรียงขนาน และยึดติดกันด้วยแรงกระจายตัว (dispersion forcc) และ<br />

พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond) ภายในโมเลกุลเซลลูโลสจึงยึดติดกันแน่นท าให้เซลลูโลสท า<br />

ปฏิกิริยากับสารต่าง ๆ ได้ช้า เพราะสารไม่สามารถผ่านเข้าไปในเซลลูโลสได้ ยังพบในสาหร่าย และ<br />

ฟังไจหลายชนิด รวมทั ้งในสัตว์ทะเลหลายชนิด และเนื่องจากเซลลูโลสสามารถถูกย่อยสลายได้ใน<br />

สิ่งแวดล้อมโดยจุลินทรีย์จึงเป็<br />

นส่วนประกอบที่มีความส<br />

าคัญต่อวัฏจักรคาร์บอน<br />

ในด้านโครงสร้างสายของเซลลูโลสจะต่อกันด้วยพันธะบีต้า-1,4-ไกลโคซิดิก โดยเรียงต่อ<br />

กันเป็ นสายตรงที่ไม่มีการแตกกิ่งก้านสาขา<br />

จ านวนหน่วยย่อยที่มาต่อขึ<br />

้นอยู่กับชนิด<br />

และอายุของพืช<br />

อาจมี 200-15,000 หน่วย หรือเป็ นล้านหน่วย คอนฟิ กูเลชัน (configulation) ของบีต้า-ดี-กลูโคไฟรา<br />

โนส (β-D-glucogyranose) ส่วนใหญ่จะเป็ นรูปแบบเก้าอี ้ (chair form) (<strong>ภาพที่</strong><br />

1) และโมเลกุลของ<br />

กลูแคนจะมีผิว (surface) เป็ นไฮโดรเจนอะตอม โมเลกุลของสายกลูแคนมีสมบัติไม่ชอบน ้ า<br />

(hydrophobic) การต่อกันด้วยพันธะบีต้า-1,4-ไกลโคซิดิก จึงเกิดแรงที่ท<br />

าให้สายกลูแคนหมุนบิดตัว<br />

ได้ 180 องศา รอบแกน จึงท าให้แต่ละสายมีรูปร่างลักษณะที ่เปรียบเสมือนริบบิ้น (flat ribbon)<br />

สายกลูแคนแต่ละสายจะมาเรียงต่อกันเป็ นไมโครไฟบริล ซึ ่งอาจจะม้วนหรือพับไปมาตามแกนของ<br />

เส้นใยเซลลูโลส หรือม้วนทับกันเป็ นเกลียวรอบแกนของเส้นใย จากการเรียงตัวของโมเลกุลของ<br />

เซลลูโลสดังกล่าวท าให้สามารถแบ่งรูปร่างของเซลลูโลสในผนังเซลล์พืชได้ 3 แบบ ที่แตกต่างกัน<br />

ดังแสดงใน<strong>ภาพที่</strong><br />

2 (Norkrans, 1967) จากการศึกษาโดยใช้เอกซเรย์ดิฟแฟคชัน (x-ray diffraction)<br />

พบว่าไมโครไฟบริลบางส่วนจัดตัวอย่างมีระเบียบ (crystalline) แต่บางส่วนจัดตัวไม่เป็ นระเบียบ<br />

(amorphous) ซึ ่งในธรรมชาติจะมีส่วนจัดตัวเป็ นระเบียบร้อยละ 85 แต่ส่วนที่ไม่เป็<br />

นระเบียบร้อยละ<br />

15 ผนังเซลล์ของพืชจะมีเซลลูโลสจับตัวอยู ่เป็ นแถบ ๆ ไม่ติดต่อกันโดยตลอด แยกโดยช่องว่าง เมื่อ<br />

เซลล์แก่เต็มที่ภายในช่องว่างจะเต็มไปด้วยลิกนิน<br />

ซึ ่งมีผลท าให้เซลลูโลสถูกห่อหุ้มด้วยลิกนิน<br />

2


<strong>ภาพที่</strong><br />

1 ลักษณะโครงสร้างของเซลลูโลส และหน่วยย่อยบีต้า-ดี-กลูโคไฟราโนส ที่ต่อด้วยพันธะ<br />

บีต้า-1,4-ไกลโคซิดิก ระหว่างคาร์บอนต าแหน่งที่<br />

1 ของหน่วยย่อยบีต้า-ดี-กลูโคไฟราโนส<br />

กับคาร์บอนต าแหน่งที่<br />

4 ของหน่วยย่อยถัดไป (พิจิตรา, 2548)<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

2 รูปร่างของโครงสร้างเซลลูโลสที ่พบในผนังเซลล์ทั่วไป<br />

Norkrans (1967) อ้างโดย<br />

อมรรัตน์ (2547)<br />

ก. ฟริงเกิลไมเซล (fingle micells) ประกอบด้วยส่วนที่เป็<br />

นระเบียบ และที่ไม่เป็<br />

นระเบียบ<br />

ข. โครงสร้างขของเซลลูโลสที่ม้วน<br />

หรือพับไปมาตามแกนของเส้นใย<br />

ค. โครงสร้างที่มีลักษณะเป็<br />

นริบบิ้นหนาเกิดจากการม้วนไปมาโดยตั ้งฉากกับแกนริบบิ้น<br />

และแถบของริบบิ้นจะม้วนเป็ นเกลียว<br />

3


2. ระบบเอนไซม์เซลลูเลส<br />

2.1 การย่อยสลายสารประกอบเซลลูโลส (พรเทพ, 2538)<br />

ในธรรมชาติการย่อยสลายสารประกอบเซลลูโลส เกิดโดยอาศัยการย่อยสลายจุลินทรีย์<br />

หลายชนิดรวมกันในสภาพที ่มีออกซิเจน ผลที่ได้จากการย่อยสลาย<br />

จะได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์<br />

อิวมัส ความร้อน และจุลินทรีย์เพิ ่มขึ ้น โดยที่ปริมาณการเพิ<br />

่มขึ ้นของจุลินทรีย์จะได้มาจากการย่อย<br />

สลายสารประกอบเซลลูโลสในสภาพที ่เหมาะสม มีการระบายอากาศ และอุณหภูมิที่เหมาะสม<br />

มี<br />

แหล่งอาหารเพียงพอกับการน าไปสร้างพลังงานเพื ่อใช้ในระบบเมตาบอลิซึม และการเพิ่มจ<br />

านวน<br />

เซลล์ ในส<strong>ภาพที่</strong>ไม่มีออกซิเจน<br />

การย่อยสลายเซลลูโลส จะได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดเจน<br />

เอทธานอล กรดฟอร์มิก กรดซัคซินิก กรดบิวทีริก และกรดแลกติก เป็ นต้น นอกจากนี ้การย่อยสลาย<br />

สารประกอบเซลลูโลส ยังสามารถท าได้โดยวิธีทางเคมี ซึ ่งมีการย่อยสลายด้วยสารเคมี อาทิเช่น การ<br />

ใช้กรด การย่อยสลายวิธีนี ้ ปฏิกิริยาที ่เกิดขึ ้นจะไม่เฉพาะเจาะจง ดังนั ้นน ้าตาลกลูโลสบางส่วนที ่<br />

เกิดขึ ้นจะท าปฏิกิริยากับกรดต่อไป ท าให้ได้ผลิตภัณฑ์ข้างเคียงชนิดอื ่น และกรดยังท าปฏิกิริยากับ<br />

สารชนิดอื่นที่ติดมากับเซลลูโลส<br />

ท าให้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ต้องการ<br />

นอกจากนี ้โครงสร้างในส่วนที ่เป็ น<br />

คริสตัลลีน ก็จ าเป็ นต้องใช้กรดที ่ความเข้มข้น และอุณหภูมิสูงในการย่อยสลายจึงจะได้น ้ าตาล<br />

กลูโคส ปฏิกิริยาย่อยจึงเกิดแบบรุนแรง ภาชนะที่ใช้ต้องทนทานต่อการกัดกร่อน<br />

ต้นทุนจึงสูง และ<br />

กรดที่ถูกทิ้งออกมายังก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย<br />

แต่วิธีนี ้ฏิกิริยาการย่อยสลายจะเกิดขึ ้น<br />

อย่างรวดเร็วภายใน 15-20 นาที หรือโดยวิธีทางชีวภาพ อาทิเช่น การย่อยสลายด้วยเอนไซม์<br />

เซลลูเลส วิธีนี ้เป็ นวิธีที่เฉพาะเจาะจงระหว่างเอนไซม์เซลลูเลสกับสารประกอบเซลลูโลส<br />

โดยจะไม่<br />

ท าปฏิกิริยากับสารอื ่นที่ปนมา<br />

จึงท าให้ได้น ้าตาลกลูโคสซึ ่ งค่อนข้างบริสุทธิ ์ ลักษณะการย่อยจะ<br />

เกิดขึ ้นช้าๆ ปฏิกิริยาเกิดขึ ้นในที่มีอุณหูมิซึ<br />

่งสิ่งมีชีวิตสามารถเจริญเติบโตได้<br />

และปฏิกิริยาที ่เกิดขึ ้น<br />

ก็ไม่รุนแรง นอกจากนี ้ก็อาจไม่จ าเป็ นต้องใช้ภาชนะที่ทนทานต่อการกัดกร่อน<br />

ต้นทุนจึงต ่ากว่า และ<br />

ยังไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม<br />

หากแต่วิธีนี ้น ้าตาลกลูโคสที่ได้อยู่ในรูปสารละลายเจือจาง<br />

2.2 การท างานของเอนไซม์เซลลูเลส (พิจิตรา, 2548)<br />

การย่อยสลายเซลลูโลสด้วยเอนไซม์ เป็ นกระบวนการย่อยสลายที่มีความจ<br />

าเพาะเจาะจงสูง<br />

เอนไซม์จะไม่ท าปฏิกิริยากับสารอื ่น ๆ ที่ปนเปื<br />

้ อนมา ท าให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีความบริสุทธิ<br />

์ สูง และ<br />

ปฏิกิริยาไม่รุนแรงซึ ่งเอนไซม์ที่ถูกย่อยสลายเซลลูโลสได้เรียกรวมว่าเป็<br />

นเอนไซม์ในกลุ่มเซลลูเลส<br />

เอนไซม์เซลลูเลสเป็ นกลุ่มเอนไซม์ที่ท<br />

าหน้าที่เร่งปฏิกิริยาการย่อยสลายพันธะบีต้า-1,4-ไกลโคซิดิก<br />

ภายในโครงสร้างโมเลกุลของเซลลูโลสหน่วยเล็กที ่สุดหากการย่อยสลายสมบูรณ์จะได้น ้าตาล<br />

กลูโคส<br />

4


<strong>ภาพที่</strong><br />

3 โครงสร้างสามมิติของเอนไซม์เซลลูเลส (พิจิตรา, 2548)<br />

จาการศึกษาระบบเอนไซม์เซลลูเลส ( cellulose system) โดยการแยกเอนไซม์<br />

เซลลูเลสแต่ละชนิ ดให้บริ สุ ทธิ ์ นั ้ น ท าให้สรุ ปการจัดระบบของเอนไซม์เซลลูเลสได้ว่า<br />

ประกอบด้วยเอนไซม์ 3 กลุ่ม ตามระบบการจัดจ าแนกเอนไซม์ (Enzyme Classification (E.C)) ดังนี ้<br />

1. เอนโดกลูคาเนส หรือเอนโด-บีต้า-1,4-กลูคาเนส (E.C.3.2.1.4) (พิจิตรา, 2548)<br />

ท าหน้าที่ย่อยโมเลกุลของเซลลูเลสในส่วนที่ไม่เป็<br />

นระเบียบ (amorphous) หรือย่อยอนุพันธ์<br />

ของเซลลูโลส เช่น คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส (carboxymethyl cellulose) เซลลูโลสที่ผ่านการท<br />

า<br />

ปฏิกิริ ยากับกรดฟอสฟอริ ก (phosphoric swollen cellulose) ไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลส<br />

(hydroxyethyl cellulose) และเซลโลโอลิโกเมอร์ (cello-oligomers) โดยตัดย่อยเซลล์ที ่ต าแหน่ง<br />

พันธะบีต้า-1,4-ไกลโคซิดิกแบบสุ่ม (random) ท าให้ผลิตภัณฑ์ผสมหลายชนิด คือ เซลโลโอลิโก<br />

แซคคาไรด์ ( cellooligo-saccharides) เซ ล โล เพ นธ าโอส (cellopentaose) เซลโลไตรโอ ส<br />

(cellotriose) เซลโลไบโอส (cellobiose) และกลูโคส โดยจะได้ผลิตภัณฑ์หลักใดขึ ้นอยู่กับสมบัติ<br />

ของแต่ละเอนไซม์<br />

2. เอกโซกลูคาเนส หรือเอกโซ-1,4-กลูคาเนส หรือเอกโซบีต้า-1,4-กลูแคนกลูโคไฮโดร<br />

เนส หรือเอกโซบีต้า-1,4-เซลโลไบโอไฮโดรเนส (E.C.3.2.1.91) พบว่ามักท าหน้าร่วมกับเอนไซม์<br />

เอนโดกลูคาเนสในการย่อยโมเลกุลของเซลลูโลส โดยการย่อยสลายเซลลูโลสจากปลายด้านที ่ไม่มี<br />

น ้าตาลรีดิวซ์ (non-reducing) ของเซลลูโลส ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยสลายส่วนใหญ่<br />

คือ น ้าตาล<br />

เซลโลไบโอส นอกจากนี ้ ยังพบว่าสามารถย่อยสลายเซลลูโลสที ่จัดตัวอย่างเป็ นระเบียบ<br />

(microcrystalline cellulose) ได้โดยอาศัยการท างานร่วมกับเอนโดกลูคาเนส<br />

5


3. เอนไซม์บีต้า-1,4-กลูโคไซเนส (E.C.3.2.1.21)<br />

เป็ นเอนไซม์ที่ท<br />

าหน้าที่<br />

ย่อยโมเลกุลของเซลโลไบโอส เซลโลโอลิโกแซคคาไรด์ ที่ละลาย<br />

น ้าได้ให้เป็ นน ้าตาลกลูโคส แต่ไม่สามารถย่อยสลายโมเลกุลซับซ้อนขนาดใหญ่ของเซลลูโลสได้<br />

โดยตรง<br />

กลไกลการย่อยสลายโมเลกุลของเซลลูโลสทั ้งในส่วนที ่เป็ นระเบียบ (crystalline) และไม่<br />

เป็ นระเบียบ (amorphous) ให้เป็ นน ้าตาลกลูโคส โดยเอนไซม์ทั ้ง 3 ชนิดร่วมกันแสดงเป็ นแผนภูมิ<br />

ได้ดัง<strong>ภาพที่</strong><br />

4<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

4 กลไลการท าปฏิกิริยาการย่อยสลายเซลลูโลสขของระบบเอนไซม์เซลลูเลส ( Fan and Lee,<br />

1983 อ้างโดย อมรรัตน์ , 2547)<br />

ในธรรมชาติมีสิ ่งมีชีวิตหลายชนิดสามารถสร้างเอนไซม์ย่อยสลายเซลลูโลสได้ เช่น สัตว์<br />

ทะเลในกลุ่มเพรียงหัวหอม (tunicate) หอยทากยักษ์ (Achatinafulica) และจุลินทรีย์หลายชนิดทั ้งที่<br />

เป็ นโปรโตซัว แบคทีเรี ย แอคติโนมัยสิ ท และเชื ้ อรา จุลินทรี ย์แต่ละชนิดที ่สร้างเอนไซม์<br />

เซลลูเลสที่มีความสามารถในการย่อยลสายแตกต่างกันขึ<br />

้นกับสภาวะแวดล้อมที ่จุลินทรีย์เหล่านั ้น<br />

เจริญอยู ่ พบว่าเชื ้อรา (celllulolytic fungi) เป็ นจุลินทรีย์ที ่สามารถสร้างเอนไซม์เซลลูเลสได้ใน<br />

ปริมาณที ่มากกว่าจุลินทรีย์ชนิดอื ่น ๆ เอนไซม์เซลลูเลสส่วนใหญ่เป็ นเอกซ์ตร้าเซลลูลาร์เอนไซม์<br />

(extracellular enzyme) คือ เซลล์ปล่อยเอนไซม์ออกมานอกเซลล์ ท าให้สะดวกต่อการแยกและ<br />

คัดเลือกสายพันธุ์ที ่มีประสิทธิภาพดีในการย่อยสลายเซลลูโลส และสะดวกต่อการน ามาผลิต<br />

เอนไซม์เซลลูเลสเพื่อใช้ในการศึกษา<br />

หรือใช้ในอุตสาหกรรม (พิจิตรา, 2548)<br />

6


2.3 การยับยั ้บการสร้างและการท างานของเอนไซม์เซลลูเลส<br />

ในการย่อยสลายเซลลูโลสให้เป็ นน ้ าตาลกลูโคส จะมีการยับยั ้งการท างานของระบบ<br />

เอนไซม์เซลลูเลส 2 แบบ คือ การยับยั ้งแบบไม่แข่งขัน (non-completitive) และการยับยั ้งแบบ<br />

แข่งขัน (completitive) สารที่ท<br />

าให้เกิดการยับยั ้งแบบไม่แข่งขันได้ ได้แก่ เซลโลไบโอส และ<br />

กลูโคส สารที่ท<br />

าให้เกิดการยับยั ้งแบบแข่งขัน โดยจะยับยั ้งการสร้างเอนไซม์บีต้า-1,4-กลูโคซิเดส<br />

ได้แก่ กลูโคส ทั ้งนี ้ พบการยับยั ้งได้แม้แต่ในอาหารที ่มีการเติมตัวเหนี ่ยวน า (Fan and Lee, 1983<br />

อ้างโดย อมรรัตน์ , 2547; Moo-Yong et al. 1983)<br />

Duff et al. (1996) สรุปว่าเอนไซม์เซลลูเลสแต่ละตัวจะถูกยับยั ้งโดยผลิตภัณฑ์สุดท้ายที ่เกิด<br />

จากการย่อยสลาย กล่าวคือ กิจกรรมของเอนไซม์เอกโซกลูคาเนสจะถูกยับยั ้งโดยเซลโลไบโอส<br />

เช่นเดียวกับกิจกรรมของเอนไซม์บีต้า-กลูโคซิเดสที ่ถูกยับยั ้งโดยกลูโคสซึ ่งเป็ นสารที่มีฤทธิ<br />

์ ยับยั ้ง<br />

ไม่รุนแรง ส่วนลักษณะการยับยั ้งจะเป็ นการยับยั ้งแบบแข่งขัน (completitive inhibition)<br />

นอกจากนี ้ ยังพบว่าสารประกอบพอลลาเดียม (palladium) ก็เป็ นสารที่มีฤทธิ<br />

์ ยับยั ้งปฏิกิริยาของ<br />

เอนไซม์อย่างรุนแรง โดยมีรายงานว่าสารพอลลาเดียมนี ้ยับยั ้งกิจกรรมของเอนไซม์เอกโซกลูคาเนส<br />

และเอนโดกลูคาเนสที ่ผลิตจากเชื ้อรา Trichoderma reesei และลักษณะการยับบั ้งจะเป็ นแบบที่<br />

เรียกว่า irreversible inhibition อย่างไรก็ตามสามารถป้ องกันการยับยั ้งปฏิกิริยาของเอนไซม์วิธีนี ้ได้<br />

โดยการเติมกรดอะมิโนชนิดฮิสทิดีน ซิสเทอีน หรือซิสทีนลงไปในสารละลายผสมได้ (reaction<br />

mixture) (พิจิตรา, 2548)<br />

2.4 สมบัติของเอนไซม์เซลลูเลส (พรเทพ, 2538)<br />

จากการศึกษาถึงโครงสร้างของเอนไซม์เซลลูเลสพบว่า เซลลูเลสเป็ น glycoprotein<br />

ประกอบด้วยโปรตีน และคาร์โบไฮเครตในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 มีน ้าหนักโมเลกุลประมาณ 30,000<br />

ถึง 60,000 ดาลตัน มีสมบัติละลายน ้าได้ดี ไม่ต้องการ co-factor หรือโลหะอื ่นๆในการท าปฏิกิริยา<br />

โดยทั่วไปเอนไซม์เซลลูเลสที่ได้จากจุลินทรีย์<br />

จะมีอุณหภูมิที่เหมาะสมในการท<br />

างานประมาณ 50<br />

องศาเซลเซียส ยกเว้นจุลินทรีย์ทนร้อนบางชนิด นอกจากนี ้ เอนไซม์เซลลูเลสยังมีความทนต่อ<br />

อุณหภูมิสูง ทนต่อความเป็ นกรดเป็ นด่าง (pH) ในช่วงกว้างประมาณ 4.8 ถึง 8.0 และคงทนต่อ<br />

สารเคมีได้ดี สามารถเก็บที่อุณหภูมิที่ต<br />

่ากว่า 0 และ 4.0 องศาเซลเซียส ได้เป็ นเวลาหลายปี หรือเก็บ<br />

โดยวิธี freeze dry หรือตกตะกอน ด้วยอะซิโตน หรือเอทธานอล โดยไม่สูญเสียคุณสมบัติ อย่างไรก็<br />

ตามเอนไซม์ที่ได้จากจุลินทรีย์ต่างชนิดกัน<br />

ย่อมมีสมบัตแตกต่างกัน<br />

7


3. การผลิตเอนไซม์เซลลูเลส<br />

3.1 จุลินทรีย์ที่สร้างเอนไซม์เซลลูเลส<br />

เนื่องจากเซลลูโลสมีลักษณะโครงสร้างทางเคมีสายยาว<br />

จุลินทรีย์ไม่สามารถเข้าสู ่เซลล์ได้<br />

โดยตรง ดังนั ้นจุลินทรีย์ต้องสร้าง extracellular enzyme ออกมาย่อยเซลลูโลสให้เป็ นสารประกอบ<br />

อินทรีย์ที ่ละลายน ้าได้ และสามารถผ่านเข้าไปในเซลล์ได้ เอนไซม์ที่ย่อยสลายเซลลูโลสได้เรียกว่า<br />

เอนไซม์เซลลูเลส มีสิ่งมีชีวิตหลายชนิดสร้างเอนไซม์นี<br />

้ได้ (พรเทพ, 2528)<br />

จุลินทรีย์นับว่ามีความส าคัญในการย่อยสลายเซลลูโลสมาก จุลินทรีย์หลายชนิดที ่สร้าง<br />

เอนไซม์เซลลูเลสเพื ่อย่อยสลายเซลลูโลสมักอยู ่ในกลุ่มเชื ้อรา แบคทีเรีย และแอคติโนมัยสิท ดัง<br />

ตารางที่<br />

1 (พรเทพ, 2538)<br />

่ ตารางที 1 จุลินทรีย์ที ่สามารถผลิตเอนไซม์เซลลูเลสได้<br />

เชื ้อรา เชื ้อแบคทีเรีย เชื ้อแอคติโนมัยสิท<br />

Alternaria sp.<br />

Bacillus sp.<br />

Micrormonospora sp.<br />

Aspergillus sp.<br />

Cellulomonas sp.<br />

Nocardia sp.<br />

Chaetomium sp.<br />

Clostridium sp.<br />

Streptomyces sp.<br />

Corprinus sp.<br />

Corynebacterium sp.<br />

Streotosporangium sp.<br />

Foames sp.<br />

Cytophaga sp.<br />

Fusarium sp.<br />

Polyangium sp.<br />

Myrothecium sp.<br />

Pseudomonas sp.<br />

Penicillium sp.<br />

Sporocytophaga sp.<br />

Polyporus sp.<br />

Rhizoctonia sp.<br />

Sporotrichum sp.<br />

Thielavia sp.<br />

Trametes sp.<br />

Trichothecium sp.<br />

Trichoderma sp.<br />

Verticillium sp.<br />

Zygorhynchus sp.<br />

Vibrio sp.<br />

ที่มา<br />

: พรเทพ (2538)<br />

8


ในการผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากเชื ้อจุลินทรีย์ ปัจจัยส าคัญที่ควบคุมการผลิตเอนไซม์<br />

นอกจากจะขึ ้นอยู่กับสายพันธุ์ของจุลินทรีย์แล้ว<br />

ยังขึ ้นอยู่กับปัจจัยอื<br />

่นๆ อีก เช่น ชนิดความเข้มข้น<br />

ของแหล่งคาร์บอน แหล่งไนโตรเจน ธาตุอาหารหลัก และธาตุอาหารรอง รวมไปถึงสภาพแวดล้อม<br />

การผลิต ซึ ่ งได้แก่ อายุและปริมาณของเชื ้อเริ่มต้น<br />

ความเป็ นกรดเป็ นด่าง (pH) อุณหถูมิ การให้<br />

อากาศ และอัตราการเขย่า (พรเทพ, 2538)<br />

3.2 การผลิตเอนซม์เซลลูเลสโดยเชื้อรา<br />

เอนไซม์เซลลูเลสที่ผลิตเพื่อการค้ามักเป็<br />

นเอนไซม์เซลลูเลสผสมที่สกัดได้จากเชื<br />

้อราชนิดที่<br />

แตกต่างกันไป และให้ปริมาณเอนไซม์ที ่แตกต่างกันขึ ้นอยู่กับสายพันธุ์ของเชื<br />

้อราที่ใช้องค์ประกอบ<br />

ของอาหาร และสภาวะที่ใช้ในการผลิต<br />

การเลี ้ยงจุลินทรีย์เพื ่อผลิตเอนไซม์เซลลูเลสกระท าได้ทั ้งใน<br />

อาหารเหลวและอาหารแข็ง ขึ ้นอยู่กับความเหมะสม<br />

การที่จะให้ผลผลิตเอนไซม์สูงและให้คุณภาพ<br />

ดีนั ้นจะต้องมีการควบคุมสภาวะต่าง ๆ ให้เหมาะสม เช่น อุณหภูมิ ชนิดอาหารที่ใช้ต้องเหมาะสม<br />

พีเอช การปนปื ้ อน รวมทั ้งค านึงถึงราคาต้นทุนในการผลิตด้วย นอกจากนี ้การใส่สารเร่งการเจริญ<br />

แหล่งไนโตรเจน และแร่ธาตุที่จ<br />

าเป็ นต่อการเจริญของเซลล์ สารเหนี่ยวน<br />

าให้เชื ้อผลิตเอนไซม์ก็เป็ น<br />

สิ่งที่ต้องค<br />

านึงถึงด้วย สารเหนี่ยวน<br />

าการผลิตเอนไซม์เซลลูเลส ได้แก่ สารประกอบเซลลูโลส<br />

อนุพันธ์ของเซลลูโลส และสารที่พันธะบีต้า-1,4-ไกลโคซิดิก<br />

เช่น cellobiose, sepharose และ<br />

lactose เป็ นต้น (Tsao and Chaing, 1983)<br />

่ ตารางที 2 เชื ้อราที่สามารถสร้างเอนไซม์เซลลูเลส<br />

เชื ้อรา เอกสารอ้างอิง<br />

Agaricus bisporus Manning and Wood (1983)<br />

Ascobolus furfuraceus<br />

Wicklow et al. (1980)<br />

Aspergillus aculeatus<br />

Kanamoto et al. (1979)<br />

A. Fumigates Roger et al. (1972) and Jain et al. (1979)<br />

A. Niger<br />

Ikeda et al. (1973)<br />

A. phoenicis<br />

Stemberg et al. (1977)<br />

A. Terreu<br />

Sinha et al. (1981) and Garg and Neelakantan<br />

(1982)<br />

A. wentii Keilich et al. (1970)<br />

Btryodiplodia theobromac Umezurike (1979, 1981)<br />

Chaetomium globosum Keilich et al. (1970)<br />

9


่ ตารางที 2 (ต่อ)<br />

เชื ้อรา เอกสารอ้างอิง<br />

Chrysosporium lignorum Eriksson and Rzedowski (1969)<br />

Cladosporium Cladosporioides Lynch et al. (1981)<br />

Coriolus versicolor Highley (1975)<br />

Dichomistus sqalens Ouau and Poglietti (1985)<br />

Eupenicillium javanicum Tanaka et al. (1981)<br />

Fusarium moniliforme Matsumoto et al. (1974)<br />

Fusarium sp. Trivcdi and Rao (1980,1981)<br />

F. solani Wood and MC Crae (1971)<br />

Thraustotheca clavata Berner and Chapman (1977)<br />

Torula thermophile Fergus (1969) and Jain et al. (1979)<br />

Volvariella volvacea Chang and Steinkraus (1982)<br />

Verticillium albo-atrum Gupta and Heale (1971)<br />

ที่มา<br />

: ดัดแปลงมาจาก Eriksson et al. (1990)<br />

4. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้เอนไซม์เซลลูเลส และจุลินทรีย์ย่อยสลายเซลลูโลส (พิจิตรา, 2548)<br />

ปัจจุบันมีการใช้เอนไซม์เซลลูเลส หรื อจุลินทรี ย์ที่สามารถสร้างเอนไซม์ย่อยสลาย<br />

เซลลูโลสได้ในอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม เช่น การใช้ในการสลายพืชผัก และกากเหลือจาก<br />

เกษตรกรรม การย่อยขยะเป็ นปุ ๋ ยหมัก เป็ นต้น ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ได้แก่<br />

1. อุตสาหกรรมกระดาษ พบว่าเอนไซม์เซลลูเลสบางชนิดที ่เหมาะสมมีส่วนช่วยลดเวลาใน<br />

การตี (beating time) และช่วยต้านไข (grease resistancc) ท าให้กระดาษมีคุณภาพดี<br />

2. ในกระบวนการน ้าผักกระป๋ อง<br />

3. ใช้ในการสกัดน ้าผลไม้เปรี ้ ยว และท าให้ใส (extraction and clarification of juice) แล้ว<br />

ยังท าให้น ้าผลไม้ที่ได้เป็<br />

นเนื ้อเดียวกัน<br />

4. เอนไซม์เซลลูเลสน ามาใช้เป็ นส่วนประกอบในส้วมถังเกรอะ (septic tank)<br />

5. เอนไซม์เซลลูเลสจาก Trichoderma reesei ช่วยสลายผนังเซลล์พืช ท าให้มีการเชื่อม<br />

โปรโตพลาสต์ (protoplast) ของเซลล์พืชสองชนิดซึ ่ งนับว่าเป็ นประโยชน์ที่มีค่าต่อวงการเกษตร<br />

แผนใหม่<br />

6. ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม<br />

7. ช่วยเพิ่มอัตราการย่อยในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์<br />

8. ใช้ในกระบวนการผลิตแอลกอฮอล์จากเมล็ดธัญพืช<br />

10


9. ใช้จุลินทรีย์ที ่สร้างเอนไซม์เซลลูเลสในอุตสาหกรรมการผลิตปุ ๋ ยหมัก<br />

10. นอกจากนี ้ ยังมีการน าเอนไซม์เซลลูเลสมาผลิตเป็ นยาอีกด้วย โดยใช้เอนไซม์<br />

เซลลูเลสร่ วมกับเอนไซม์ชนิดอื ่นช่วยเป็ นยาขับลมในกระเพาะ และช่วยลดอาการแน่นท้อง<br />

เนื่องจากเอนไซม์เซลลูเลสไปย่อยเส้นใยได้<br />

5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง<br />

เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการย่อยสลายสารประกอบในขยะและน<br />

้าเสียต่างๆ ได้แก่ เซลลูเลส<br />

จัดเป็ น extracellular, hydrolytic enzyme พบได้ในเชื ้อราหลายชนิด เช่น Aspergilus spp.,<br />

Chaetomium spp., Penicillium spp., Fusarium spp. ในแบคทีเรียหลายชนิด เช่น Cellulomonas<br />

spp., Bacillus spp., Pseudomonas spp. และ ในแอคติโนมัยสิท เช่น Streptomyces spp.,<br />

Thermonospora spp. (Bellamy, 1977) เอนไซม์ดังกล่าวประกอบด้วย endo 1,4-β-glucanases, exo<br />

1,4-β-glucanases และ 1,4-β-glucosidase ซึ ่ งเอนไซม์ทั ้ง 3 ชนิดนี ้ จะรวมกันย่อยเซลลูโลสได้<br />

กลูโคส (Bhat, S. 1997 ; Eriksson et al. 1990)<br />

Asha, and Prema (2007) ได้ศึกษาลักษณะของเอนไซม์เซลลูเลสที ่ผลิตขึ ้นโดยแบคทีเรีย<br />

สายพันธุ์ Bacillus pumilis โดยท าการทดลองเลื ้ยงในอาหารเลี ้ยงเชื ้อแบบแข็งโดยท าการศึกษา<br />

ความสามารถในการผลิตเอนไซม์เซลลูเลส โดยเลี ้ยงในอาหารเลี ้ยงเชื ้อที่มีสารประกอบจากแหล่ง<br />

วัตถุดิบเหลือทิ้งทางการเกษตรชนิดต่างๆ ดังนี ้ เปลือกข้าว, ฟางข้าว, ขี ้เลื่อย,<br />

ชานอ้อย, กากมะพร้าว<br />

และร าข้าวสาลี จากการศึกษาพบว่า ร าข้าวสาลี เป็ นแหล่งอาหารที่ท<br />

าให้แบคทีเรียมีความสามารถใน<br />

การผลิตเอนไซม์เซลลูเลสมากที ่สุด ทั ้งนี ้ เพราะในร าข้าวสาลีประกอบด้วยน ้าตาลที่ละลายน<br />

้าได้<br />

เช่น glucose 42.5 เปอร์เซนต์ของน ้าหนักแห้ง, xylose 15.4 เปอร์เซนต์ของน ้าหนักแห้ง. Arabinose<br />

3.1 เปอร์เซนต์ของน ้าหนักแห้ง และ galactose 2.7 เปอร์เซนต์ของน ้าหนักแห้ง ซึ ่งเป็ นสารอาหารที่<br />

จ าเป็ นส าหรับการเจริญของจุลินทรีย์ นอกจากนั ้นยังได้ท าการศึกษาผลของความชื ้น และ pH ที่<br />

เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์เซลลูเลสด้วย พบว่ามีความชื ้นมากกว่า 75 เปอร์เซนต์ เป็ นความชื ้นที่<br />

เหมาะสมมากที่สุด<br />

ส าหรับ pH 8-9 เป็ นสภาวะที่เหมาะสมที่สุดส<br />

าหรับการเจริญของจุลินทรีย์<br />

Juhasz et al. (2005) ได้ท าการสึกษาลักษณะของเอนไซม์เซลลูเลสที ่ผลิตได้จากเชื ้อ<br />

Trichoderma reesei RUT C30 โดยท าการหาแหล่งชนิดของคาร์บอน (carbon source) ที่เหมาะสม<br />

ที่สุดที่ท<br />

าให้เชื ้อ Trichoderma reesei RUT C30 มีความสามารถในการผลิตเอนไซม์เซลลูเลสมาก<br />

ที่สุด<br />

โดยแหล่งคาร์บอนที ่ใช้ได้แก่ ต้นสนใบสั ้น, ต้นหลิว, ซังข้าวโพด และ Solka Floc ซึ ่งเกิดน า<br />

วัตถุดิบเหล่านั ้นมาใช้เป็ นสับสเตรทนั ้นต้องน ามาผ่านการแปรรูปทางเคมีที ่เหมาะสมก่อน จาก<br />

การศึกษาพบว่า ซังข้าวโพดเป็ นแหล่งคาร์บอนที่เหมาะสมท่สุดที<br />

่ท าให้ Trichoderma reesei RUT<br />

C30 มีความสามารถในการผลิตเอนไซม์เซลลูเลสมากที่สุด<br />

ส่วน Solka Floc, ต้นหลิว และต้นสนใบ<br />

สั ้นให้กิจกรรมเอนไซม์รองลงมาตามล าดับ<br />

11


อุปกรณ์และวิธีการทดลอง<br />

1. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง<br />

1.1 ตู้ปลอดเชื ้อ<br />

1.2 เครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง<br />

(Spectrometer)<br />

1.3 เครื่องหมุนเหวี่ยง<br />

(Centrifuge)<br />

1.4 เครื่องชั่งน<br />

้าหนักละเอียด<br />

1.5 กล้องจุลทรรรศน์ (Microscope)<br />

1.6 เครื่องนึ<br />

่งฆ่าเชื ้อ (Autoclave)<br />

1.7 ตู้อบ<br />

1.8 ไมโครเวฟ<br />

1.9 ตู้บ่มเชื ้อ<br />

1.10 Vortex mixer<br />

1.11 ขวดวัดปริมาตร<br />

1.12 ปิ เปต<br />

1.13 ตะแกรงวางหลอดทดลอง<br />

1.14 หลอดทดลองขนาด 10 มิลลิลิตร<br />

1.15 บีกเกอร์<br />

1.16 กระบอกตวง<br />

1.17 ลูปเขี่ยเชื<br />

้อ<br />

1.18 แท่งแก้ว<br />

1.19 ช้อนตักสาร<br />

1.20 ตะเกียงแอลกอฮอล์<br />

1.21 กระดาษทิชชู<br />

1.22 ส าลี<br />

1.23 ถุงพลาสติก<br />

2. สารเคมี<br />

2.1 อาหารเลี ้ยงเชื ้อ<br />

2.1.1 อาหารเพาะเลี ้ยงเชื ้อ Nutrient agar (NA)<br />

2.1.2 อาหารเพาะเลี ้ยงเชื ้อ Nutrient broth (NB)<br />

2.1.3 อาหารเพาะเลี ้ยงเชื ้อ CMC (ภาคผนวก ก)<br />

12


2.2 สารเคมี<br />

2.2.1 Peptone<br />

2.2.2 Congo red<br />

2.2.3 Sodium chloride<br />

2.2.4 Crystal violet<br />

2.2.5 Safranin<br />

2.2.6 Alcohol<br />

2.2.7 Iodine<br />

2.2.8 น ้ากลั่น<br />

3. วิธีการทดลอง<br />

3.1 วิธีการแยกและการจ าแนกเชื ้อจุลินทรีย์จากมูลสุกรสด และบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

โดยน ามูลสุกรสด และมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ เก็บในภาชนะที ่รักษาอุณหภูมิของ<br />

ตัวอย่างไม่ให้มีการเปลี ่ยนแปลงมาท าการเจือจางตัวอย่างให้ได้ความเข้มข้น 10 -1 -10 -7 (<strong>ภาพที่</strong><br />

5)<br />

จากนั ้นน าตัวอย่างที่เจือจางมาเลี<br />

้ยงบนอาหาร Nutrient agar (NA) โดยใช้เทคนิค Spread plate (ภาพ<br />

ที่<br />

6) น าไปบ่มที่อุณหภูมิ<br />

37 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 48 ชั่วโมง<br />

candle jar (กล่องสุญญากาศที ่มีการ<br />

จุดเทียนไล่ออกซิเจน) ชั่วโมง<br />

เพื่อตรวจนับจ<br />

านวนโคโลนีที่เจริญบนผิวหน้าอาหาร<br />

แล้วท าการ<br />

คัดเลือกความเข้มข้นที่มีจ<br />

านวนโคโลนี 30-300 โคโลนี เพื่อท<br />

าการศึกษาต่อไป<br />

3.2 ขั ้นตอนการคัดเลือกเชื ้อและท าเชื ้อให้บริสุทธิ ์<br />

น าสารละลายที่มีความเข้มข้นที<br />

่เก็บได้จากข้อ 3.1 มาท าให้บริสุทธิ ์ โดยน าลูปเขี่ยเชื<br />

้อที่ท<br />

า<br />

การฆ่าเชื ้อแล้วจุ่มลงในสารละลาย น ามาท าการ Cross streak (<strong>ภาพที่</strong><br />

7) ลงบนอาหาร NA บ่มที่<br />

อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 48 ชั่วโมง<br />

เมื่อได้โคโลนีเดี<br />

่ยว ๆ น าไปย้อมแกรม (<strong>ภาพที่</strong><br />

8)<br />

เพื่อแยกแบคทีเรี<br />

ยแกรมลบ หรื อแกรมบวก และศึกษาลักษณะรู ปร่ างของเชื ้ อ ภายใต้กล้อง<br />

จุลทรรศน์ เพื่อจัดจ<br />

าแนกกลุ่มเชื ้อแบคทีเรีย จากนั ้นน าเชื ้อที่ได้<br />

streak ลงบนหลอดอาหารเอียง NA<br />

และบ่มที่อุณหภูมิ<br />

37 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 48 ชั่วโมง<br />

หลังจากนั ้นน ามาเก็บไว้ที่อุณหภูมิ<br />

4 องศา<br />

เซลเซียส ใช้การศึกษาขั ้นต่อไป<br />

13


<strong>ภาพที่</strong><br />

5 แสดงการท าเจือจางล าดับส่วน (กนกวรรณ และคณะ, 2547)<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

6 วิธีการ spread plate (กนกวรรณ และคณะ, 2547)<br />

<strong>ภาพที่</strong>7<br />

วิธีการ streak plate (กนกวรรณ และคณะ, 2547)<br />

14


<strong>ภาพที่</strong><br />

8 เทคนิคการย้อมสีแบคทีเรีย (กนกวรรณ และคณะ, 2547)<br />

15


3.3 การคัดเลือกเชื ้อจุลินทรีย์ที ่สามารถสร้างเอนไซม์เซลลูเลส<br />

การศึกษาความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลส โดยน าตัวอย่างที่เก็บได้จากข้อ<br />

3.2<br />

มาเพาะเลี ้ยงเชื ้อในอาหารเหลว Nutrient broth (NB) บ่มที่อุณหภูมิ<br />

33 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 24<br />

ชั่วโมง<br />

แล้วน าไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที ่ความยาวคลื่น<br />

600 นาโนเมตร เจือจางเชื ้อให้ได้ปริมาณ<br />

เชื ้อเริ่มต้นเท่ากัน<br />

จากนั ้นปิ เปตสารละลายที่เจือจางแล้วปริมาตร<br />

10 ไมโครลิตร โดยใช้วิธี agar spot<br />

(พิรุฬห์พร, 2552) จ านวน 4 จุด ลงบนอาหาร CMC บ่มในสภาพไร้อากาศที ่อุณหภูมิ 37 องศา<br />

เซลเซียส เป็ นเวลา 72 ชั่วโมง<br />

โดยวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนี วัดขนาดของโซนใส<br />

(Clear zone) ด้วยการย้อมสี Congo red 0.1 % (Hendricks and Doyle, 1995) 15 นาที จากนั ้นจึงเท<br />

ออกและเทสารละลาย Sodium chloride ความเข้มขข้น 1 N จนท้วมจานอาหาร ทิ้งไว้ 15 นาที เท<br />

ออกและสังเกตบริเวณโซนใส หาอัตราส่วนของบริเวณโซนใสต่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโคโลนี<br />

(HC) (Lu, 2005) คัดเลือกเชื ้อที่เกิดโซนใสมาวิเคราะห์กิจกรรมของเอนไซม์เซลลูเลส<br />

แล้วน าเชื ้อที่<br />

เกิดโซนใสมาเก็บ stock โดย Streak เชื ้อลงบนอาหาร NA น าไปบ่มที่อุณหภูมิ<br />

37 องศาเซลเซียส<br />

เป็ นเวลา 48 ชั่วโมง<br />

แล้วเลี ้ยงเชื ้อลงในอาหาร NB จนเชื ้อขุ ่น เติม glycerol 30 % ต่อเชื ้อ 1 มิลลิลิตร<br />

น ามา vortex ให้เข้ากันหลังจากนั ้นน ามาเก็บไว้ที่อุณหภูมิ<br />

-20 องศาเซลเซียส เพื่อศึกษาขั<br />

้นต่อไป<br />

ค่า HC (Lu, 2005) = เส้นผ่านศูนย์กลางโซนใสรอบโคโลนี (cm)<br />

เส้นผ่านศูนย์กลางโคโลนี (cm)<br />

16


ผลการทดลอง<br />

ผลการจัดจ าแนกกลุ ่มเชื้อจุลินทรีย์ และคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์ที ่มีประสิธิภาพสูงในการสร้างเอนไซม์<br />

เซลลูเลสของแต่ละกลุ ่ม<br />

จากการเลี ้ยงเชื ้อแบคทีเรียที ่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลสบนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ CMC น าไปบ่มที่<br />

อุณหภูมิห้อง เป็ นเวลา 72 ชั่วโมง<br />

จากนั ้นวัดขนานเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณโซนใสรอบ<br />

โคโลนี และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนี แล้วน ามาหาอัตราส่วนของบริ เวณโซนใสต่อ<br />

ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโคโลนี และท าการเลี ้ยงเชี ้อแบคทีที่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลส<br />

บนอาหารเลี ้ยง<br />

เชื ้อ NA น าไปบ่มที่อุณหภูมิห้อง<br />

เป็ นเวลา 48 ชั่วโมง<br />

ได้โคโลนีเดี ่ยวๆ จากนั ้นย้อมแกรมศึกษา<br />

ลักษณะ รูปร่าง ของเชื ้อแบคทีเรีย เพื่อจัดจ<br />

าแนกกลุ่มเชื ้อแบคทีเรีย พบว่ามีเชื ้อที่แสดงกิจกรรมของ<br />

เอนไซม์เซลลูเลส จากมูลสุกรสดทั ้งหมด 20 ตัวอย่าง จากการศึกษาลักษณะการเรียงตัวและการติด<br />

สีแกรมของเชื ้อแบคทีเรี ยจากมูลสุกรสด ที่สามารถสร้างเอนไซม์เซลลูเลสได้<br />

สามารถจัดกลุ่ม<br />

แบคทีเรียได้ 8 กลุ่ม ดังนี ้ กลุ่มเชื ้อที่<br />

1 พบว่า เชื ้อแบคทีเรี ยหมายเลข SD6R1C1, SD6R1C8,<br />

SD6R1C44, SD6R1C77, SD7R1C1, SD7R1C4 และ SD7R1C8 เป็ นเชื ้อติดสีแกรมลบ รูปร่างกลม<br />

ลักษณะการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ (ตารางที่<br />

3, <strong>ภาพที่</strong><br />

10) กลุ่มเชื ้อที่<br />

2 พบว่า เชื ้อแบคทีเรีย<br />

หมายเลข SD6R1C75 และ SD7R1C7 เชื ้อติดสีแกรมลบ รูปร่างกลมหรือรี มีการเรียงตัวอยู ่เป็ นคู่<br />

(ตารางที่<br />

3, <strong>ภาพที่</strong><br />

11) กลุ่มเชื ้อที่<br />

3 พบว่า เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข SD6R1C29, SD6R1C79,<br />

SD7R1C16 และ SD7R1C18 เป็ นเชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม มักมีการจัดเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

และ<br />

เป็ นคู่ๆ (ตารางที่<br />

3, <strong>ภาพที่</strong><br />

12) กลุ่มเชื ้อที่<br />

4 พบว่า เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข SD6R1C53 เชื ้อติดสี<br />

แกรมบวก รูปร่างกลมหรือรี เรียงตัวจับกันเป็ นคู่ (ตารางที่<br />

3, <strong>ภาพที่</strong><br />

13) กลุ่มเชื ้อที่<br />

5 พบว่า เชื ้อ<br />

แบคทีเรียหมายเลข SD6R1C19 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม ลักษณะการเรียงตัวเป็ นคู่สอง และ<br />

คู่สี่<br />

ตารางที่<br />

3, <strong>ภาพที่</strong><br />

14) กลุ่มเชื ้อที่<br />

6 พบว่า เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข SD6R1C59 และ SD6R1C69<br />

เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม ลักษณะการเรียงตัวอยู ่เป็ นคู่สี่<br />

(ตารางที่<br />

3, <strong>ภาพที่</strong><br />

15) กลุ่มเชื ้อที่<br />

7<br />

พบว่า เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข SD6R1C30 เป็ นเชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้น มีการเรียงตัวอยู ่<br />

เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ (ตารางที่<br />

3, <strong>ภาพที่</strong><br />

16) กลุ่มเชื ้อที่<br />

8 พบว่า เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข SD6R1C12<br />

เป็ นเชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้น มีการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ (ตารางที่<br />

3, <strong>ภาพที่</strong><br />

17)<br />

จากการทดสอบความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสของเชื ้อแบคทีเรียกลุ่มเชื ้อแต่<br />

ละกลุ่ม ดังแสดงในตารางที ่ 3 พบว่าเชื ้อ SD7R1C1, SD6R1C75, SD6R1C79, SD6R1C53,<br />

SD6R1C19, SD6R1C69, SD6R1C30 และ SD6R1C12 ตามล าดับ สามารถสร้างเอนไซม์เซลูเลสได้<br />

เป็ นอย่างดี เมื่อเปรียบเทียบกับเชื<br />

้อแบคทีเรียตัวอย่างอื ่น โดยดูจากผลของอัตราส่วนระหว่างบริเวณ<br />

โซนใสของโคโลนีกับขนาดของโคโลนีแสดงค่า HC เท่ากับ 3.43, 2.09, 3.88, 1.36, 1.64, 2.10, 1.50<br />

และ 2.45 เซนติเมตร ตามล าดับ<br />

17


่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่ ่<br />

่ ่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ตารางที 3 ผลการจัดกลุ่มจากการศึกษาลักษณะ รูปร่าง ของเชื ้อแบคทีเรีย และการทดสอบ<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสที่คัดเลือกได้จากมูลสุกรสด<br />

กลุ่มเชื<br />

้อ โคโลนี ลักษณะสัญฐานวิทยา HC หมายเหตุ<br />

แกรม รูปร่าง การจัดเรียงตัว<br />

1 SD6R1C1 ลบ กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 2.47 ภาพที 10<br />

SD6R1C8 ลบ กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 2.44<br />

SD6R1C44 ลบ กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 2.19<br />

SD6R1C77 ลบ กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 1.78<br />

SD7R1C1 ลบ กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 3.43<br />

SD7R1C4 ลบ กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 2.45<br />

SD7R1C8 ลบ กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 2.57<br />

2 SD6R1C75 ลบ กลม (รี) เดี่ยว,<br />

คู่ 2.09 ภาพที 11<br />

SD7R1C7 ลบ กลม (รี) เดี่ยว,<br />

คู่ 1.97<br />

3 SD6R1C29 บวก กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 2.82 ภาพที 12<br />

SD6R1C79 บวก กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 3.88<br />

SD7R1C16 บวก กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 1.89<br />

SD7R1C18 บวก กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 1.22<br />

4 SD6R1C53 บวก กลม (รี) คู่ 1.36 ภาพที 13<br />

5 SD6R1C19 บวก กลม คู่, สี<br />

1.64 ภาพที 14<br />

6 SD6R1C59 บวก กลม สี<br />

2.08 ภาพที 15<br />

SD6R1C69 บวก กลม สี<br />

2.10<br />

7 SD6R1C30 บวก ท่อนสั ้น เดี่ยว,<br />

คู่ 1.50 ภาพที 16<br />

8 SD6R1C12 บวก ท่อนสั ้น คู่ 2.45 ภาพที 17<br />

18


ก ข<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

9 ลักษณะการเกิดโซนใสรอบโคโลนีของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่สร้างเอนไซม์เซลลูเลส<br />

ก. มูลสุกรสด<br />

ข. มูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

10 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มที่<br />

1 เชื ้อติดสีแกรมลบ รูปร่างกลม ลักษณะการ<br />

เรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ<br />

19


<strong>ภาพที่</strong><br />

11 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที่<br />

2 เชื ้อติดสีแกรมลบ รูปร่างกลมหรือรี มี<br />

การเรียงตัวอยู ่เป็ นคู่<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

12 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที่<br />

3 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม มีการ<br />

จัดเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

และเป็ นคู่ๆ<br />

20


<strong>ภาพที่</strong><br />

13 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที่<br />

4 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลมหรือรี<br />

เรียงตัวจับกันเป็ นคู่<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

14 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที่<br />

5 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม<br />

ลักษณะการเรียงตัวเป็ นคู่สอง และคู่สี่<br />

21


<strong>ภาพที่</strong><br />

15 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที่<br />

6 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม<br />

ลักษณะการเรียงตัวอยู ่เป็ นคู่สี่<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

16 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที่<br />

7 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้น มี<br />

การเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ<br />

22


<strong>ภาพที่</strong><br />

17 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดกลุ่มเชื ้อที่<br />

8 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้น มี<br />

การเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ<br />

จากการศึกษาสักษณะรูปร่างของเชื ้อแบคทีเรียจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ ที่สามารถ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสได้พบว่ามีเชื ้อที่แสดงกิจกรรมของเอนไซม์เซลลูเลส<br />

ทั ้งหมด 9 ตัวอย่าง ดัง<br />

แสดงในตารางที่<br />

4 สามารถจัดกลุ่มแบคทีเรียได้ 8 กลุ่ม ดังนี ้ กลุ่มเชื ้อที่<br />

1 พบว่า เป็ นเชื ้อแบคทีเรีย<br />

หมายเลข LD3R1C13 เป็ นเชื ้อติดสีแกรมลบ รูปร่างกลมหรือรี ลักษณะการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

และ<br />

เป็ นคู่ๆ (ตารางที่<br />

4, <strong>ภาพที่</strong><br />

18) กลุ่มเชื ้อที่<br />

2 พบว่า เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข LD3R1C31 เชื ้อติดสีแก<br />

รมบวก รูปร่างกลม มักมีการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

และเป็ นคู่ๆ (ตารางที่<br />

4, <strong>ภาพที่</strong><br />

19) กลุ่มเชื ้อที่<br />

3<br />

พบว่า เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข L(A) เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม การจัดเรียงตัวจับกันเป็ นคู่สอง<br />

และคู่สี่<br />

(ตารางที่<br />

4, <strong>ภาพที่</strong><br />

20) กลุ่มเชื ้อที่<br />

4 พบว่า เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข LD5R1C1 เชื ้อติดสีแกรม<br />

บวก รูปร่างกลม ลักษณะการเรียงตัวเป็ นคู่สี่<br />

(ตารางที่<br />

4, <strong>ภาพที่</strong><br />

21) กลุ่มเชื ้อที่<br />

5 พบว่า เชื ้อ<br />

แบคทีเรียหมายเลข LD3R1C97 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม เรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

เป็ นคู่ และเป็ น<br />

สาย (ตารางที่<br />

4, <strong>ภาพที่</strong><br />

22) กลุ่มเชื ้อที่<br />

6 พบว่า เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข LD3R1C10 เชื ้อติดสีแกรม<br />

บวก รูปร่างท่อนสั ้ น มีการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

(ตารางที่<br />

4, <strong>ภาพที่</strong><br />

23) กลุ่มเชื ้อที่<br />

7 พบว่า เชื ้อ<br />

แบคทีเรียหมายเลข L3R1C17/1 เป็ นเชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้ น ลักษณะการเรียงตัวอยู ่<br />

เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ (ตารางที่<br />

4, <strong>ภาพที่</strong><br />

24) กลุ่มเชื ้อที่<br />

8 พบว่า เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข LD3R1C16<br />

และ LD5R1C5 เป็ นเชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้น ลักษณะการรียงตัวจับกันอยู ่เป็ นคู่ (ตารางที่<br />

4, <strong>ภาพที่</strong><br />

25)<br />

จากการทดสอบความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสของเชื ้อแบคทีเรียกลุ่มเชื ้อที่<br />

1-<br />

8 ดังแสดงในตารางที ่ 4 พบว่าเชื ้อ LD3R1C13, LD3R1C31, L(A), LD5R1C1, LD3R1C97,<br />

LD3R1C10, LD3R1C17/1 และ LD3R1C16 ตามล าดับ สามารถสร้างเอนไซม์เซลูเลสได้เป็ นอย่างดี<br />

23


เมื่อเปรียบเทียบกับเชื<br />

้อแบคทีเรียตัวอย่างอื ่น โดยดูจากผลของอัตราส่วนระหว่างบริเวณโซนใสของ<br />

โคโลนีกับขนาดของโคโลนีแสดงค่า HC เท่ากับ 1.51, 1.54, 3.09, 1.19, 2.82, 1.85, 2.46 และ 2.91<br />

เซนติเมตร ตามล าดับ<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่ ่<br />

่ ่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ตารางที 4 ผลการจัดกลุ่มจากการศึกษาลักษณะ รูปร่าง ของเชื ้อแบคทีเรีย และการทดสอบ<br />

ความสามารถในการสร้างเอนไซม์เซลลูเลสที่คัดเลือกได้จากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

กลุ่มเชื<br />

้อ โคโลนี ลักษณะสัญฐานวิทยา HC หมายเหตุ<br />

แกรม รูปร่าง การจัดเรียงตัว<br />

1 LD3R1C13 ลบ กลม (รี) เดี่ยว,<br />

คู่ 1.51 ภาพที 18<br />

2 LD3R1C31 บวก กลม เดี่ยว,<br />

คู่ 1.54 ภาพที 19<br />

3 L(A) บวก กลม คู่, สี<br />

3.09 ภาพที 20<br />

4 LD5R1C1 บวก กลม สี<br />

1.19 ภาพที 21<br />

5 LD3R1C97 บวก กลม เดี่ยว,<br />

คู่, สาย 2.82 ภาพที 22<br />

6 LD3R1C10 บวก ท่อนสั ้น เดี่ยว<br />

1.85 ภาพที 23<br />

7 LD3R1C17/1 บวก ท่อนสั ้น เดี่ยว,<br />

คู่ 2.46 ภาพที 24<br />

8 LD3R1C16 บวก ท่อนสั ้น คู่ 2.91 ภาพที 25<br />

LD5R1C5 บวก ท่อนสั ้น คู่ 2.58<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

18 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพกลุ่มเชื ้อที่<br />

1 เชื ้อติดสีแกรมลบ<br />

รูปร่างกลมหรือรี ลักษณะการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

และเป็ นคู่ๆ<br />

24


<strong>ภาพที่</strong><br />

19 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพกลุ่มเชื ้อที่<br />

2 เชื ้อติดสีแกรมบวก<br />

รูปร่างกลม มีการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

และเป็ นคู่ๆ<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

20 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพกลุ่มเชื ้อที่<br />

3 เชื ้อติดสีแกรมบวก<br />

รูปร่างกลม การจัดเรียงตัวจับกันเป็ นคู่สอง และคู่สี่<br />

25


<strong>ภาพที่</strong><br />

21 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพกลุ่มเชื ้อที่<br />

4 เชื ้อติดสีแกรมบวก<br />

รูปร่างกลม ลักษณะการเรียงตัวเป็ นคู่สี่<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

22 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพกลุ่มเชื ้อที่<br />

5 เชื ้อติดสีแกรมบวก<br />

รูปร่างกลม เรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

เป็ นคู่ และเป็ นสาย<br />

26


<strong>ภาพที่</strong><br />

23 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพกลุ่มเชื ้อที่<br />

6 เชื ้อติดสีแกรมบวก<br />

รูปร่างท่อนสั ้น มีการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

<strong>ภาพที่</strong><br />

24 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพกลุ่มเชื ้อที่<br />

7 เชื ้อติดสีแกรมบวก<br />

รูปร่างท่อนสั ้น ลักษณะการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ<br />

27


<strong>ภาพที่</strong><br />

25 แสดงลักษณะแกรม รูปร่าง และการจัดเรียงตัวของเชื ้อจุลินทรีย์ที ่มีความสามารถในการ<br />

สร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ กลุ่มเชื ้อที่<br />

8 เชื ้อติดสีแกรมบวก<br />

รูปร่างท่อนสั ้น ลักษณะการรียงตัวจับกันอยู ่เป็ นคู่<br />

28


สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

ในการคัดแยกเชื ้อแบคทีเรียที ่สามารถสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรสดทั ้งหมด 20<br />

ตัวอย่าง เมื่อน<br />

ามาวิเคราะห์กิจกรรมเอนไซม์โดยใช้อาหาร CMC พบว่า เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข<br />

SD6R1C79 สามารถผลิตเอนไซม์เซลลูเลสได้ดีที่สุด<br />

โดยมีค่า HC เท่ากับ 3.88 เซนติเมตร รองลงมา<br />

คือ เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข SD7R1C11, SD6R1C29, SD7C1R8 และ SD7R1C4 โดยมีค่า HC<br />

เท่ากับ 3.44, 2.82, 2.57 และ 2.45 เซนติเมตร ตามล าดับ ซึ ่งเชื ้อแบคทีเรียหมายเลข SD6R1C79 และ<br />

SD6R1C29 เป็ นเชื ้อกลุ่มที่<br />

3 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม มีลักษณะการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

และ<br />

เป็ นคู่ๆ ส่วนเชื ้อแบคทีเรียหมายเลข SD7R1C11 SD7C1R8 และ SD7R1C4 เป็ นเชื ้อกลุ่มที่<br />

1 เชื ้อติด<br />

สีแกรมลบ รูปร่างกลม มีการเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่ๆ<br />

การคัดแยกเชื ้อแบคทีเรียที ่สามารถสร้างเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลสุกรจากบ่อแก๊ซชีวภาพ<br />

พบ 9 ตัวอย่าง เมื่อน<br />

ามาวิเคราะห์กิจกรรมเอนไซม์โดยใช้อาหาร CMC พบว่า เชื ้อแบคทีเรีย<br />

หมายเลข L(A) สามารถผลิตเอนไซม์เซลลูเลสได้ดีที ่สุด โดยมีค่า HC เท่ากับ 3.09 เซนติเมตร<br />

รองลงมาคือ เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข LD3R1C16, LD3R1C97, LD3R1C17/1 และ LD5R1C5 โดยมี<br />

ค่า HC เท่ากับ 2.91, 2.82, 2.46 และ 2.54 เซนติเมตร ตามล าดับ ซึ ่งเชื ้อแบคทีเรียหมายเลข L(A)<br />

เป็ นเชื ้อกลุ่มที ่ 3 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างกลม มีการเรียงตัวเป็ นคู่สอง และคู่สี่<br />

เชื ้อแบคทีเรีย<br />

หมายเลข LD3R1C16 และ LD5R1C5 เป็ นเชื ้อกลุ่มที่<br />

8 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้ น มีการ<br />

เรียงตัวจับกันอยู ่เป็ นคู่ เชื ้อแบคทีเรียหมายเลข LD3R1C97 เป็ นเชื ้อกลุ่มที ่ 5 เชื ้อติดสีแกรมบวก<br />

รูปร่างกลม จัดเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

เป็ นคู่ และเป็ นสาย และเชื ้อแบคทีเรียหมายเลข LD3R1C17/1 เป็ น<br />

เชื ้อกลุ่มที่<br />

7 เชื ้อติดสีแกรมบวก รูปร่างท่อนสั ้น ลักษณะการจัดเรียงตัวอยู ่เดี่ยวๆ<br />

หรือเป็ นคู่<br />

จากการศึกษาในครั ้ งนี ้ สามารถคัดเลือกเชื ้อแบคทีเรี ยพบเชื ้อที่สามารถสร้างเอนไซม์<br />

เซลลูเลสได้ในจ านวนค่อนข้างมาก อาจเป็ นไปได้ว่าเพราะในมูลสุกรมีองค์ประกอบทางโภชนะที ่มี<br />

เยื่อใยค่อนข้างสูงคือประมาณ<br />

13.15-15.25 % วัตถุแห้ง (กองอาหารสัตว์, 2551) ซึ ่งเป็ นที่<br />

น่าสนใจในการศึกษาถึงชนิดของเชื ้อและสภาวะที ่เหมาะสมในการเจริญของเชื ้อ เพื่อน<br />

าไปใช้<br />

ประโยชน์จริงในอุตสาหกรรมต่างๆ รวมถึงการบ าบัดน ้าเสีย และการก าจัดขยะต่อไป<br />

29


เอกสารอ้างอิง<br />

กนกวรรณ ปวงก า จิณภัทร, ใจค า กิตติพร เปล่งเสริมทรัพย์, หัทยา อรุโณทยานันท์, และศรวิษณ์<br />

อินทพันธุ์ 2547. จุลชี ววิทยาทางอาหารทั ่วไป. ภาควิชาเทคโนโลยีชี วภาพ คณะ<br />

อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

พรเทพ ถนนแก้ว. 2538. ภาวะเหมาะสมของการผลิตเซลลูเลสจากเชื ้อราที่คัดแยกจากบริเวณปลูก<br />

ป่ าศรนารายณ์. วิทยานิพนธ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

พิรุฬห์พร ศรีมงคล. 2552. การคัดเลือกจุลินทรีย์ในการผลิตเซลลูเลสและไซแลนเนส. วิทยานิพนธ์<br />

วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร<br />

ลาดกระบัง<br />

พิจิตรา ตั ้งเขื่อนขันธ์,<br />

รสรินทร์ รุจนานนท์ และอัญชลี อ านาทสมบูรณ์. 2548. การคัดเลือกเชื ้อรา<br />

เพื่อผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากวุ้นมะพร้าวที<br />

่เป็ นเศษเหลือทิ้งจากโรงงาน. วิทยานิพนธ์<br />

วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร<br />

ลาดกระบัง<br />

อมรรัตน์ บุญมาศิริ. 2547. การท าเอนไซม์เอนโดกลูคาเนสจากเชื ้อรา Pseudeurotium sp. HT 14/1<br />

ให้บริสุทธิ ์ และสมบัติของเอนไซม์บริสุทธิ ์ , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพมหานคร.<br />

น. 6-14.<br />

กองอาหารสัตว์. 2551. การน าขี ้ หมูกับมาใช้ในอาหารสุกร. [Online] Available :<br />

http://www.rakbankerd.com/agriculture/print.php?id=685&s=tblanimal. 12/12/2551.<br />

Asha, C. and Prema, P. 2007. Production of cellulose-free endoxylanase from novel alkalophikic<br />

thermotolerent Bacillus pumilus by solid-state fermentation and its application in<br />

wastepaper recycling Bioresource Technology (485-490)<br />

Bhat, S. 1997. Cellulase degrading enzymes and their potential industrial application.<br />

Biotechol.Adv.15 : 538-620<br />

Duff, S. J. B. and Murray, W. D. 1996. Bioconvertion of forest products industry waste<br />

cellulosics to fuel ethanol : a review. Bioresour. Technol. 55, 1-33.<br />

Eriksson,K-E.L., Blanchette,R.A. and Ander,P. 1990. Microbial and enzymatic degradation of<br />

wood and wood components. Springer-Verlag Berlin heiberg, Newyork.<br />

Fan, L. T. and Lee, Y. H. 1983. Kinetc studies of enzymatic hydrolysis of insoluble cellulose :<br />

derivation of mechanistic uinetic model Biotech. Bioeng. 25 : 2707-2033<br />

30


Juhasz, T., Szengyel, Z., Reczey, K., Suka-Aho, M. and Viikari, L. 2005. Characterizayion of<br />

Cellulose and hemicellulases produced by Trichoderma reesei oon various carbon<br />

sources. Process Biochemistry (3519-3525)<br />

Lu , W.J., Hong-Tao, W., Shi-Jian, Y., Zhi-Chao, W. and Yong-Feng, N. 2005. “Isolation and<br />

characterization of mesophilic cellulose-degrading bacteria from flower stalks-vegetable<br />

waste co-composting system.” J. Gen. Appl. Microbiol. 5: 353-360.<br />

Moo-Young, M., Moreira, A.R. and Tenger. R. P. 1983. Priciples of solid substrate fermentation,<br />

pp. 117-144. In Smith, J. E., D. R. Berry and Kristiansen, B. (eds). The filamentous<br />

Fungi. Fungal Technology. New York : John wiley & Sons Inc.<br />

Norkrans, B. 1967. Cellulose and cellulolysis. Adv. Appl. Icrobail. 9 : 91-215<br />

Takasima, S., Nakamura, A., Masaki, H. and uosumi, T. 1996. Purification and characterization<br />

of cellulose from Humicola grisea. Biosci. Biotech. Biochem. 60(1) : 77-82<br />

Tsao, G. T. and Chiang, L. 1983. Cellulose and hemicellulos technology, pp. 296-326. In Smith,<br />

J. E., D. R. berry and Kristiansen, (eds). The filamentous Fungi : Fungal Technology.<br />

New York : John Wiley & Sons Ins<br />

31


ภาคผนวก<br />

32


ภาคผนวก<br />

อาหารเลื้ยงเชื้อที่ใช้ในการทดลอง<br />

1. CMC Agar<br />

(NH4)SO2 1 กรัม<br />

CMC (carboxymethy Cellulose) 5 กรัม<br />

Yeast extract 1 กรัม<br />

Agar 10 กรัม<br />

น ้ากลั่น<br />

2. Nutrent bort (NB)<br />

1 ลิตร<br />

Beef extract 3 กรัม<br />

Peptone 5 กรัม<br />

Sodium Chloride 8 กรัม<br />

น ้ากลั่น<br />

3. Nutrent Agar (NA)<br />

1 ลิตร<br />

Beef extract 3 กรัม<br />

Peptone 5 กรัม<br />

Potato starch (soluble starch) 10 กรัม<br />

Agar 15 กรัม<br />

น ้ากลั่น<br />

1 ลิตร<br />

33

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!