27.06.2013 Views

ตารางผนวกที่1

ตารางผนวกที่1

ตารางผนวกที่1

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปัญหาพิเศษ<br />

ปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

ผลของการใช้กากกะทิในอาหารต่อคุณภาพซากของไก่เนื้อ<br />

Effect of Using Coconut Meal Residue Supplementation in Broiler Ration<br />

on Carcass Quality<br />

โดย<br />

นายธีรวัฒน์ ยกบุญญาธิการ<br />

นายจิรายุ ตันประเสริฐ<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

Curriculum of Animal Science<br />

Department of Animal Production Technology and Fisheries<br />

Faculty of Agricultural Technology<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า King Mongkut’s Institute of Technology<br />

เจ้าคุณทหารลาดกระบัง Chaokuntaharn Ladkrabang<br />

กรุงเทพฯ 10520 Bangkok 10520 Thailand


ใบรับรองปัญหาพิเศษปริญญาตรี<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง<br />

เรื่อง<br />

ผลของการใช้กากกะทิในอาหารต่อคุณภาพซากของไก่เนื ้อ<br />

Effect of Using Coconut Meal Residue Supplementation in Broiler Ration<br />

ได้พิจารณาเห็นชอบโดย<br />

on Carcass Quality<br />

โดย<br />

นายธีรวัฒน์ ยกบุญญาธิการ<br />

นายจิรายุ ตันประเสริฐ<br />

อาจารย์ที่ปรึกษา...................................................<br />

(รศ.ดร.กานต์ สุขสุแพทย์)<br />

หลักสูตรรับรองแล้ว<br />

……………………………..<br />

(รศ.ดร.กานต์ สุขสุแพทย์)<br />

ประธานหลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

วันที่<br />

........เดือน ......................พ.ศ. ................


ปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

ผลของการใช้กากกะทิในอาหารต่อคุณภาพซากของไก่เนื ้อ<br />

Effect of Using Coconut Meal Residue Supplementation in Broiler Ration<br />

on Carcass Quality<br />

โดย<br />

นายธีรวัฒน์ ยกบุญญาธิการ<br />

นายจิรายุ ตันประเสริฐ<br />

เสนอ<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และปะมง<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

พ.ศ. 2553


บทคัดย่อปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

ผลของการใช้กากกะทิในอาหารต่อคุณภาพซากของไก่เนื ้อ<br />

Effect of Using Coconut Meal Residue Supplementation in Broiler Ration<br />

on Carcass Quality<br />

การศึกษาผลการใช้กากกะทิในสูตรอาหารต่อคุณภาพซากของไก่เนื ้อ วางแผนการทดลอง<br />

แบบสุ่มอย่างสมบูรณ์<br />

(Completely Randomized Design: CRD) โดยแบ่งออกเป็ น 5 กลุ่มการ<br />

ทดลอง คือกลุ่มที่<br />

1 สูตรควบคุมไม่ใช้กากกะทิ กลุ่มที่<br />

2 เสริ มสารปฏิชีวนะ Avilamycin 2.5<br />

มิลลิกรัม/กิโลกรัมอาหาร กลุ่มที่<br />

3 4 และ 5 ในแต่ละสูตรเสริ มกากกะทิในระดับ 4, 8, 12<br />

เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ แต่ละกลุ่มการทดลองมีจํานวน<br />

4 ซํ ้า ใช้ลูกไก่เนื ้อคละเพศอายุ 1 วัน จํานวน<br />

32 ตัว/ซํ ้า รวมทั ้งสิ้น<br />

640 ตัว เมื่อเลี<br />

้ยงจนถึงอายุ 42 วัน สุ่มไก่แต่ละซํ<br />

้าๆละ 4 ตัว เป็ นตัวผู้และตัว<br />

เมียอย่างละ 2 ตัว เพื่อชําแหละซาก<br />

ผลการทดลองปรากฏว่า ระดับของกากกะทิมีผลต่อนํ ้าหนักไก่มีชีวิตก่อนฆ่า โดยกลุ่ม<br />

เสริ มกากกะทิ 8 เปอร์เซ็นต์ มีค่าเฉลี ่ยนํ ้ าหนักตัวสูงกว่าทุกกลุ ่มอย่างมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P0.05) ยกเว้น เปอร์เซ็นต์ของกึ ๋นเทียบกับนํ ้าหนักไก่มีชีวิตก่อนฆ่า<br />

กลุ่มเสริมกากกะทิ<br />

12 เปอร์เซ็นต์ มีค่าเฉลี่ยมากกว่าทุกกลุ่มอย่างมีนัยสําคัญยิ<br />

่งทางสถิติ (P


ค านิยม<br />

ในการทําปัญหาพิเศษศึกษาคุณภาพซากของไก่เนื ้อในครั ้ งนี ้ สําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความ<br />

ร่วมมือ และความช่วยเหลือของบุคคลหลายๆฝ่ าย ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ รศ.ดร.กานต์ สุขสุแพทย์<br />

อาจารย์จรรยา คงฤทธิ ์ และอาจารย์ณหทัย วิจิตโรทัย ที่คอยให้ความช่วยเหลือและคําแนะนํา<br />

คอย<br />

ตรวจสอบแก้ไข และได้เพิ่มข้อมูลต่างๆให้กับพวกข้าพเจ้าจนปัญหาพิเศษฉบับนี<br />

้ เสร็จสมบูรณ์<br />

ขอขอบคุณพี่ๆเจ้าหน้าที่ประจําห้องปฏิบัติการโภชนศาสตร์<br />

ซึ ่งได้คอยอํานวยความสะดวกในการ<br />

ทดลองวิจัยโดยการให้ใช้อุปกรณ์และสถานที ่ ขอบคุณเพื่อนร่<br />

วมวิจัยปัญหาพิเศษที่ได้ทําการ<br />

ทดลองร่วมกัน รวมทั ้งเพื่อนๆทุกคนที่คอยให้ความช่วยเหลือ<br />

และให้กําลังใจกันอย่างสมํ ่าเสมอ ซึ ่ง<br />

มีผลทําให้การทําปัญหา พิเศษในครั ้งนี ้สําเร็จลงได้ด้วยดี<br />

กราบขอบพระคุณบิดา มารดา ที่คอยให้ความสนับสนุนและให้กําลังใจเสมอมาอีกทั<br />

้งยังให้<br />

ทุนการศึกษากับข้าพเจ้าตลอดการศึกษา<br />

ธีรวัฒน์ ยกบุญญาธิการ<br />

จิรายุ ตันประเสริฐ


สารบัญ<br />

สารบัญ (I)<br />

สารบัญตาราง (II)<br />

สารบัญรูปภาพ (IV)<br />

คํานํา 1<br />

วัตถุประสงค์ 1<br />

การตรวจเอกสาร 2<br />

อุปกรณ์และวิธีการ 12<br />

วิธีการ 14<br />

ผลการทดลอง<br />

19<br />

วิจารณ์<br />

27<br />

สรุป<br />

28<br />

เอกสารอ้างอิง 29<br />

ภาคผนวก 31<br />

หน้า


สารบัญตาราง<br />

่ ตารางที<br />

หน้า<br />

1 องค์ประกอบทางเคมีและคุณค่าทางอาหารของเนื ้อไก่ 3<br />

2 อุณหภูมิที่เหมาะสมและสัมพันธ์กับอายุลูกไก่<br />

3<br />

3 แสดงเปอร์เซ็นต์ส่วนประกอบต่าง ๆ ของไก่กระทง คิดจากนํ<br />

้าหนักมีชีวิต 4<br />

4 ส่วนประกอบทางเคมีของกากกะทิ 8<br />

5 แสดงปริมาณส่วนประกอบทางเคมีในชิ้นส่วนต่างๆของเนื<br />

้อไก่ชําแหละ 10<br />

6<br />

7<br />

8<br />

ส่วนประกอบของสูตรอาหารที ่ใช้เลี ้ยงไก่เนื ้ออายุ 0-3 สัปดาห์<br />

ส่วนประกอบของสูตรอาหารที ่ใช้เลี ้ยงไก่เนื ้ออายุ 3-6 สัปดาห์<br />

เปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์ซากและส่วนประกอบของซากไก่เนื ้อที่ได้รับกากกะทิที่<br />

ระดับแตกต่างกันในสูตรอาหาร<br />

่<br />

ตารางผนวกที<br />

1 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของนํ ้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า 32<br />

2 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์นํ ้าหนักตัวไก่ถอนขนรวมทั ้งตัว<br />

(นํ ้าหนักซากอุ่น)<br />

32<br />

3 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์ซากไม่รวมเครื่องใน<br />

32<br />

4 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์โลหิตและขน 33<br />

5 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์แข้งและเท้า 33<br />

6<br />

7<br />

8<br />

9<br />

10<br />

11<br />

12<br />

13<br />

14<br />

การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์หัวและคอ<br />

การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์กึ ๋น<br />

การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์ตับ<br />

การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์หัวใจ<br />

การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์ไขมันของอวัยวะเครื่องใน<br />

การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์ปี กเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้อขาเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์กระดูกขาเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์กระดูกซี่โครงเทียบกับนํ<br />

้าหนักมีชีวิต<br />

(II)<br />

15<br />

16<br />

25<br />

33<br />

34<br />

34<br />

34<br />

35<br />

35<br />

35<br />

35<br />

36


สารบัญตาราง(ต่อ)<br />

ตารางผนวกที่<br />

หน้า<br />

15 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกรวมเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต 36<br />

16 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกนอกเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต 36<br />

17 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกในเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต 36<br />

18 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

37<br />

19 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์นํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

37<br />

20 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์ปี กเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

37<br />

21 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้อขาเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

38<br />

22 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์กระดูกขาเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

38<br />

23 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์กระดูกซี่โครงเทียบกับนํ<br />

้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

38<br />

24 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกรวมเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

39<br />

25 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกนอกเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

39<br />

26 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกในเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

39<br />

27 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์หนังเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

39<br />

28 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เศษเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

40<br />

29 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์ไขมันช่องท้องเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

40<br />

30 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของสีหนัง 40<br />

31 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของสีไขมัน 40<br />

(III)


สารบัญรูปภาพ<br />

รูปภาพที่<br />

หน้า<br />

1 แสดงลักษณะทางกายภาพของมะพร้าว 5<br />

2 แสดงลักษณะทางกายภาพของกากกะทิ 7<br />

(IV)


ผลของการใช้กากกะทิในอาหารต่อคุณภาพซากของไก่เนื ้อ<br />

Effect of Using Coconut Meal Residue Supplementation in Broiler Ration<br />

on Carcass Quality<br />

ค าน า<br />

ในสถานะการณ์ปัจจุบันที ่ผู้เลี ้ยงสัตว์โดยเฉพาะสุกรและสัตว์ปี กเช่น ไก่เนื ้อ ไก่ไข่ ประสบ<br />

กับปัญหาราคาอาหารสัตว์ หรือวัตถุดิบอาหารสัตว์มีราคาแพง ในขณะเดียวกันผลผลิตที่ได้จากการ<br />

เลี ้ยงสัตว์กลับมีราคาไม่สมดุลย์กับต้นทุนค่าอาหารสัตว์ที ่สูงขึ ้น ดังนั ้นเกษตรกรผู้เลี ้ยงสัตว์ไม่ว่าจะ<br />

เป็ นฟาร์มขนาดเล็กหรือฟาร์มขนาดใหญ่จําเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้องหาวิธีการลดค่าใช้จ่ายหรือต้นทุน<br />

ในการเลี ้ยงสัตว์ เพื่อให้สามารถผ่านพ้นวิกฤตการณ์นี<br />

้ ให้ได้ สิ่งที่เกษตรกรจะสามารถลดต้นทุน<br />

ได้มากก็คือค่าอาหารที่ใช้เลี<br />

้ยงสัตว์ เนื่องจากต้นทุนส่วนใหญ่ในการเลี<br />

้ยงสัตว์จะเป็ นค่าอาหาร การ<br />

ลดต้นทุนค่าอาหารสัตว์โดยหลักการก็คือ การลดราคาของสูตรอาหารที ่ใช้เลี ้ยงสัตว์ให้ตํ ่าลงใน<br />

ขณะที่คุณค่าทางโภชนะของสูตรอาหารยังคงเดิม<br />

การเลือกใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ที ่มีราคาถูก<br />

ทดแทนวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มีราคาแพงในสูตรอาหาร<br />

จะช่วยให้ราคาอาหารสัตว์ตํ ่าลง ในสภาพ<br />

ปัจจุบันวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ใช้เป็<br />

นส่วนประกอบของสูตรอาหารสัตว์ที่ใช้กันอยู<br />

่โดยทั่วไปอาทิ<br />

ปลาป่ น กากถั่วเหลือง<br />

ปลายข้าว และข้าวโพดมีราคาแพงขึ ้นมาก ทําให้ต้นทุนค่าอาหารสัตว์เพิ ่มขึ ้น<br />

ตามไปด้วย หากเกษตรกรรู้จักเลือกใช้วัตถุดิบชนิดอื่น<br />

ๆ ที่มีราคาถูกโดยเฉพาะวัตถุดิบอาหารสัตว์<br />

ที่เป็<br />

นผลพลอย ได้ทางการเกษตรและอุตสาหกรรมมาทดแทนวัตถุดิบที่ใช้กันอยู<br />

่โดยทั่วไปดังกล่าว<br />

ก็จะช่วยให้ต้นทุนการเลี ้ยงสัตว์ในส่วนที ่เป็ นค่าอาหารสัตว์ลดตํ ่าลง ด้วยเหตุนี ้ เองกากกะทิจึงเป็ น<br />

อีกทางเลือกหนึ ่ง ที่จะมาช่วยลดต้นทุนการผลิต<br />

เพราะเป็ นแหล่งพลังงานที่สามารถทดแทนวัตถุดิบ<br />

แหล่งพลังงานที่มีราคาสูงขึ<br />

้นในปัจจุบันได้<br />

วัตถุประสงค์<br />

ศึกษาผลการใช้กากกะทิในสูตรอาหารไก่เนื ้อต่อคุณภาพซาก<br />

1


ไก่กระทง<br />

การตรวจเอกสาร<br />

สุวรรณ (2529) รายงานว่าไก่เป็ นสัตว์ที่ปราดเปรียวตื่นเต้นง่าย<br />

มีความตื่นเต้นตลอดเวลา<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับสัตว์อื่น<br />

มีระบบการย่อยอาหารและระบบการใช้ออกซิเจนที่รวดเร็วมาก<br />

ไก่ใช้<br />

อาหารเพื่อการเจริญเติบโต<br />

ดํารงชีพ ผลิตไข่ และเนื ้อ อาหารคุณภาพดีราคาย่อมสูงขึ ้น ผู้เลี ้ยง<br />

ต้องหาวิธีให้ไก่กินอาหารได้เต็มที่โดยประหยัดต้นทุนมากที<br />

่สุด ที่เราต้องเอาใจใส่เรื<br />

่องอาหารไก่<br />

มากกว่าสัตว์อื่นก็เพราะระบบย่อยอาหาร<br />

ระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตของไก่เป็ นไป<br />

อย่างรวดเร็ว ตามปกติไก่มีความร้องสูงกว่าสัตว์อื่น<br />

มีอุณหภูมิร่างกาย 105 – 109 ºฟ ไก่มีการ<br />

เคลื่อนไหวตลอดเวลา<br />

มีประสิทธิภาพการย่อยอาหารรวดเร็วและมีการให้ไข่เกือบทุกวัน ร่างการ<br />

จึงไวต่อการเปลี ่ยนแปลงอาหารและการเลี ้ยงดูง่ายเมื ่อเปรียบเทียบกับสัตว์ชนิดอื ่น ไก่สมัยนี ้ มี<br />

อัตราการเจริญเติบโตเร็วกว่าสัตว์อื่นมาก<br />

ในการเลี ้ยงไก่ค่าใช้จ่ายที ่สําคัญที่สุดคือ<br />

ค่าใช้จ่ายในการ<br />

ซื ้ออาหารคิดเป็ น 60 – 70% ของค่าใช้จ่ายทั ้งหมด<br />

การเลี ้ยงไก่กระทงได้มีการค้นคว้าและปรับปรุงพันธุ์จนได้พันธุ์ที ่ต้องการโดยลักษณะเด่น<br />

ต่างๆอันได้แก่ มีลักษณะการเจริญเติบโตเร็ว อัตราการแลกเนื ้อสูง กินอาหารน้อย การเลี ้ยงรอด<br />

สูง การต้านทานโรคดีและมีคุณภาพซากดีเมื่อชําแหละ<br />

ซึ ่งพันธุ์ไก่กระทงในปัจจุบันนี ้ เกิดจากการ<br />

ผสมข้ามระหว่างสายเลือดทั ้งสิ้นจนปัจจุบันนี<br />

้ การเลี ้ยงไก่เนื ้อได้กลายเป็ นอุตสาหกรรมอย่างหนึ ่ง<br />

ของประเทศไทย (ไชยา, 2547)<br />

สัตว์ปี กที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันของมนุษย์คือ<br />

ไก่ เป็ ด ห่าน นก นกกระทา ซึ ่งได้<br />

เนื ้อและไข่มาใช้ประโยชน์เป็ นอาหาร ในบรรดาสัตว์ต่างๆเหล่านี ้ ไก่เป็ นสัตว์ที่ได้รับความนิยม<br />

มากที่สุด<br />

2


ตารางที่<br />

1 องค์ประกอบทางเคมีและคุณค่าทางอาหารของเนื ้อไก่<br />

องค์ประกอบทางเคมี ปริมาณ<br />

นํ ้า (%) 74<br />

โปรตีน (%) 19<br />

ไขมัน (%) 5<br />

เถ้า (%) 0.8<br />

แคลเซียม (มก./100ก.) 12<br />

ฟอสฟอรัส (มก./100ก.) 200<br />

ไวตามินเอ (IU) 730<br />

ไนอะซีน (มก./100ก.)<br />

ที่มา<br />

: อาวุธ (2540)<br />

5.6<br />

ตารางที่<br />

2 อุณหภูมิที่เหมาะสมและสัมพันธ์กับอายุลูกไก่<br />

อายุลูกไก่ (วัน) องศาฟาเรนไฮด์ องศาเซลเซียส<br />

1 –7 95 35<br />

8 – 14 90 32.2<br />

15 - 21<br />

ที่มา<br />

: ไชยา (2547)<br />

85 29.4<br />

สวัสดิ ์ (2527) ได้ศึกษาถึงเปอร์เซ็นต์ซากไก่กระทงอายุต่าง ๆ กัน คืออายุ 35 ,45 ,50<br />

และ 55 วัน ปรากฏว่าระยะเวลาในการเลี ้ยงไก่กระทงไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นต์ซากส่วนต่าง ๆ ของ<br />

ไก่กระทง เนื่องจากมีเปอร์เซ็นต์ซากส่วนต่าง<br />

ๆ ใกล้เคียงกันเมื ่อคิดเปรียบเทียบกับนํ ้าหนักไก่มี<br />

ชีวิต แต่การเลี ้ยงไก่กระทงช่วงระยะ 45 วัน มีแนวโน้มที่จะให้เปอร์เซ็นต์ซากตํ<br />

่ากว่าการเลี ้ยงไก่<br />

กระทงในช่วงระยะเวลาอื่น<br />

ๆ ดังแสดงไว้ในตารางที่<br />

3<br />

3


ตารางที่<br />

3 แสดงเปอร์เซ็นต์ส่วนประกอบต่าง ๆ ของไก่กระทง คิดจากนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

์<br />

ส่วนของซาก<br />

35 40<br />

อายุ (วัน)<br />

45 50 55<br />

นํ ้าหนักมีชีวิต (กรัม) 1,330 1,500 1,740 2,050 2,476<br />

เลือดและขน (%) 8.26 8.76 9.05 9.51 11.21<br />

ซาก (%) 80.47 80.67 80.03 81.81 80.71<br />

ปี ก (%) 8.66 8.00 8.27 7.20 6.99<br />

ตับ (%) 3.195 2.500 2.729 2.439 2.222<br />

กึ ๋น (%) 1.691 1.666 1.580 1.585 1.444<br />

หัวใจ (%) 0.751 0.666 0.574 0.487 1.404<br />

เครื่องในกินได้<br />

(%)<br />

ที่มา<br />

: สวัสดิ (2527)<br />

5.633 4.833 4.517 4.517 4.404<br />

สุทธิพงศ์และธีรยุทธ (2542) ได้ทําการศึกษาเปอร์เซ็นต์ซากไก่กระทงที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหาร<br />

ผสมนํ<br />

้าตาลทรายในระดับต่าง ๆ ในฤดูหนาวพบว่าไก่เพศเมียมีปริมาณไขมันมากกว่า และมี<br />

ปริมาณโปรตีนในซากตํ ่ากว่าเพศผู้และมีแนวโน้มว่าไก่มีอายุมากขึ ้นโปรตีนและไขมันในซากจะ<br />

เพิ่มขึ<br />

้นในขณะที่ความชื<br />

้นลดลง<br />

ในกระบวนการฆ่าไก่มีปัจจัยที่ทําให้เกิดการสูญเสียทั<br />

้งนํ ้าหนักและคุณภาพ ซึ ่งสุวรรณ<br />

(2529) ระบุว่า ต้นเหตุที่ทําให้มีการสูญเสียนํ<br />

้าหนักและคุณภาพได้แก่ ไก่รอการเชือดนานเกินไป<br />

สาเหตุอื่น<br />

ๆ เช่น การจับไก่แขวนห่วงหนักมือหรือไก่ดิ ้นมากทําให้ไก่ชํ ้าขณะทําการเชือกหรือ<br />

ชําแหละมีไก่หนังฉีกขาดมาก และการเอาโลหิตออกจากตัวไก่ไม่หมด ลวกนํ<br />

้าร้อนนาน หรือใช้<br />

นํ ้าร้อนจัดเกินไป เครื่องถอนขนผิดขนาด<br />

เนื่องจากการเก็บไว้ในห้องเย็น<br />

ซากมีกลิ่นเหม็นหืน<br />

มี<br />

กลิ่นผิดปกติ<br />

หนังแห้งกระด้างและดํา นอกจากนี ้ สุทธิพงศ์และธีรยุทธ (2542) รายงานว่า การ<br />

สูญเสียนํ ้าหนักและคุณภาพของไก่ที ่โรงฆ่าไก่ โดยปกตินํ ้าหนักจะสูญไปเพราะการฆ่าไก่นั ้นจะ<br />

สูญเสียไปเพราะขนกับเลือดประมาณ 10-13 % ของนํ ้าหนักตัวไก่ขึ ้นอยู ่กับเพศพันธุ์และอายุของ<br />

ไก่แต่ละตัวด้วย<br />

4


ความส าคัญของมะพร้าว<br />

มะพร้าว Cocos nucifera Linn. Palmae<br />

ภาพที่<br />

1 แสดงลักษณะทางกายภาพของมะพร้าว<br />

1. ชื่อสามัญ<br />

COCONUT<br />

คนไทยคุ้นเคยกับมะพร้าวมาเป็ นเวลานาน และใช้ประโยชน์จากทุกส่วนของมะพร้าว เช่น<br />

ผลอ่อนใช้รับประทานสด (นํ ้าและเนื ้อ) เนื ้อมะพร้าวจากผลแก่นําไปปรุงอาหารและขนมหลายชนิด<br />

และใช้สกัดนํ ้ามัน กากที่เหลือใช้เลี<br />

้ยงสัตว์ นํ ้ามันมะพร้าวใช้ประกอบอาหาร เนยเทียม และสบู ่<br />

เปลือกมะพร้าวนําไปแยกเอาเส้นใยใช้ทําเชือก วัสดุทําเบาะและที ่นอน ขุยมะพร้าวใช้ทําวัสดุเพาะ<br />

ชําต้นไม้ กะลาใช้ทําภาชนะ ตักตวงของเหลว (กระจ่า กระบวย ฯลฯ) ทํากระดุม เครื่องประดับ<br />

เครื่องดนตรี<br />

(ซออู้) ทําเชื ้อเพลิง และถ่านกัมมันต์ (มีคุณสมบัติในการดูดซับสูง) ใบมะพร้าวทั ้งอ่อน<br />

และแก่ ตลอดจนก้านใบใช้มุงหลังคา เครื่องจักสาร<br />

ไม้กวาดทางมะพร้าว ใช้ทํารั ้ วและเชื ้อเพลิง ลํา<br />

ต้นแก่ใช้ในการก่อสร้างประดิษฐ์เครื ่องเรือน ยอดอ่อนใช้เป็ นอาหาร จั่น<br />

(ช่อดอก) มีนํ ้าหวานรอง<br />

มาดื่มเป็<br />

นนํ ้าผลไม้หรือทํานํ ้าตาล หมักทําเหล้าและนํ ้าส้น รากใช้ทํายา สีย้อมผ้า และเชื ้อเพลิง แต่<br />

อย่างไรก็ตามการปลูกมะพร้าวโดยทั่วไปก็เพื่อนําเอาเนื<br />

้อมะพร้าวไปประกอบอาหารและสกัดเอา<br />

นํ ้ามันเช่นเดียวกับปาล์ม<br />

2. ประโยชน์ทางยา<br />

ส่วนที่ใช้เป็<br />

นยา คือเปลือกต้น เนื ้อ นํ ้ามะพร้าว นํ ้ามัน กะลา ดอก ราก กาบ<br />

2.1 สรรพคุณในต ารายาไทย<br />

- เปลือกต้นสด แก้เจ็บปวดฟัน และใช้ทาแก้หิด<br />

- เนื ้อมะพร้าว รับประทานเป็ นยาบํารุงกําลัง ขับปัสสาวะ ขับพยาธิ แก้ไข้<br />

กระหายนํ ้า<br />

5


- นํ ้ามะพร้าว รสหวานเค็ม รับประทานเป็ นยาระบาย แก้ท้องเสียขับปัสสาวะ<br />

แก้พิษ แก้กระหายนํ ้า แก้นิ่ว<br />

แก้อาเจียนเป็ นโลหิตและบวมนํ ้า นอกจากนี ้ ยัง<br />

ทําเป็ นนํ ้าส้มสายชูใช้ประโยชน์อื่น<br />

ๆ อีกมาก<br />

- นํ ้ามันมะพร้าว รสหวานเค็ม รับประทานเป็ นยาบํารุงกําลัง หรือทาเป็ นยาแก้<br />

กลากเกลื ้อน บํารุ งหัวใจ แก้โรคผิวหนังต่างๆ ทาแผลนํ ้ าร้อนลวก<br />

ทาผิวหนังแตกแห้ง และใช้ทาผม<br />

- ดอก รสฝาดหวานหอม เป็ นยาแก้เจ็บปากเจ็บคอ แก้ท้องเสี ย แก้ไข้<br />

แก้ร้อนใน กระหายนํ ้า กล่อมเสมหะ บํารุงโลหิต แก้ปากเปื่<br />

อย<br />

- ราก รสฝาดหวานหอม เป็ นยาแก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ หรืออมบ้วนปากแก้<br />

เจ็บคอ<br />

2.2ขนาดและวิธีใช้<br />

- แก้ปวดฟัน ใช้เปลือกต้นสด เผาไหม้ให้เป็ นเถ้า นํามาสีฟัน<br />

- แก้ท้องอืด ท้องเฟ้ อ จุกเสียด ใช้กะลามะพร้าวสะอาดเผาไฟจนแดงเอาคีมคีบ<br />

เก็บไว้ในปี บสะอาด และปิ ดฝาจะได้ถ่านกะลาสีดํา เอามาบดเป็ นผงรับประทา<br />

ฯ ใช้คราวละ 1-2 ช้อนโต๊ะ<br />

- รักษาแผลเป็ น เอามะพร้าวก้นกะลาขูดออกมาแล้วบีบเอานํ ้ามันได้เท่าไร เอา<br />

ไปเคี่ยวจนสุกแล้วทิ<br />

้งไว้ให้เย็น เอายอกมะลิ กลั ้นใจเด็ด 7 ยอด โขลกให้<br />

ละเอียด ผสมนํ ้ามันมะพร้าวที ่เคี่ยวแล้ว<br />

ทาทุกวันแผลเป็ นจะหาย (นิรนาม<br />

ก., 2554)<br />

2.3 น ้ามะพร้าวช่วยให้ผิวพรรณสดใส<br />

นํ ้ามะพร้าวสามารถช่วยเสริมสร้างความสวยใสของผิวพรรณ ทําให้เปล่งปลั ่งและขาวนวล<br />

ขึ ้นจากภายในสู ่ภายนอก เพราะในนํ ้ามะพร้าวมีเอสโตรเจนอยู ่ ซึ ่งมีส่วนสําคัญต่อการสร้างคอลลา<br />

เจนและอีลาสติน ทําให้ผิวกระชับ ยืดหยุ่น<br />

และชะลอการเกิดริ ้วรอยก่อนวัยได้ และในนํ ้ามะพร้าว<br />

ยังสามารถกระตุ้นการเจริญเติบโตและแบ่งเซลล์ได้ดี แถมยังมีฤทธิ ์ ขับปัสสาวะ ขับของเสียหรือ<br />

สารพิษออกจากร่างกาย ( คล้ายๆ กับการทําดีท็อกซ์) จึงช่วยทําให้ผิวพรรณผ่องใส อีกทั ้งความเป็ น<br />

ด่างของนํ ้ ามะพร้าวยังช่วยปรับสมดุลของร่างกายในช่วงที ่มีความเป็ นกรดสูง ทําให้กลไกการ<br />

ทํางานของระบบภายในเป็ นปกติ ส่งผลให้มีสุขภาพดีจากภายในสู ่ภายนอก (นิรนาม ก, 2554)<br />

6


กากกะทิ<br />

ภาพที่<br />

2 แสดงลักษณะทางกายภาพของกากกะทิ<br />

คุณสมบัติ<br />

มีโปรตีนประมาณ 18-21 เปอร์เซ็นต์ แต่ถ้าเป็ นกากมะพร้าวจากการคั ้นกะทิจะมีโปรตีนตํ ่ามากแค่<br />

1.2 เปอร์เซ็นต์<br />

ข้อก าจัดการใช้และข้อแนะน าในการใช้กากกะทิ<br />

นิรนาม(2554, ข) รายงาน ข้อกําจัดการใช้และข้อแนะนําในการใช้กากกะทิ ดังนี ้<br />

1.มีเยื่อใยสูง<br />

ประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์ ทําให้ใช้ได้น้อยในสูตรอาหาร<br />

2.มีไขมันสูงทําให้หืนง่าย นอกจากนี ้ยังเป็ นไขมันประเภทอิ่มตัว<br />

ซึ ่งถ้าใช้ระดับสูงในสูตร<br />

อาหารจะทําให้ซากสัตว์ และ ฮิสติดีนตํ ่า<br />

3.ควรเสริมด้วยวัตถุดิบที่มีไลซีนสูง<br />

4.ไม่ควรเลือกใช้กากมะพร้าวเกิน 15% ในสูตรอาหารสัตว์ปี ก<br />

7


ตารางที่<br />

4 ส่วนประกอบทางเคมีของกากกะทิ<br />

ส่วนประกอบ %<br />

ความชื ้น 10<br />

โปรตีน 21<br />

ไขมัน 6<br />

เยื่อใย<br />

12<br />

เถ้า 7<br />

แคลเซียม 0.2<br />

ฟอสฟอรัสใช้ประโยชน์ได้ 0.2<br />

ไลซีน 0.59<br />

เมทไธโอนีน 0.37<br />

เมทไธโอนีน + ซีสตีน 0.5<br />

ทริปโตเฟน 0.16<br />

ทรีโอนีน 0.65<br />

ไอโซลูซีน 0.73<br />

อาร์จินีน 2.08<br />

ลูซีน 1.3<br />

เฟนิลอะลานีน+ไทโรซีน 1.4<br />

อิสติดีน 0.39<br />

เวลีน 1.14<br />

ไกลซีน 0.88<br />

ที่มา<br />

: นิรนาม (2554, ข)<br />

8


วิธีการฆ่าและช าแหละเนื้อไก่<br />

1.การจับไก่และการขนส่ง ฟาร์มและโรงชําแหละเนื ้อไก่ ควรห่างกันในรัศมี 50-100 กิดล<br />

เมตร เวลาในการขนส่งในช่วง 1-2 ชั่วโมงและทําการขนส่งไนช่วงอากาศเย็นเพื<br />

่อลดการสูญเสีย<br />

นํ<br />

้าหนัก<br />

2.การชั<br />

่งนํ<br />

้าหนักไก่ การชั<br />

่งนํ<br />

้าหนักไก่จะชั<br />

่งทั<br />

้งนํ<br />

้าหนักไก่รวมกับนํ<br />

้าหนักรถบรรทุกหลัง<br />

จากนั ้นจึงทําการคัดไก่แขวนขึ ้นราวซึ ่งช่วงนี ้จะทําการดูสภาพทั่วไปของไก่มีชีวิต<br />

เช่น นํ ้าหนัก<br />

สุขภาพ การตาย การป่ วย แล้วนํารถบรรทุกมาชั ่งนํ ้าหนักอีกทีเพื่อหาผลต่างเป็<br />

นนํ ้าหนักของไก่<br />

3.การฆ่าไก่ ควรทําการอดอาหารก่อนอย่างน้อย 12 ชั่วโมง<br />

ก่อนทําการฆ่าเพื่อลดการ<br />

ตกค้างของอาหารที่กึ<br />

๋นและกระเพาะอาหารและช่วยให้ทําความสะอาดง่าย ลดปริมาณการติดเชื ้อ<br />

ของจุลินทรีย์ ก่อนฆ่าจะต้องทําให้ไก่สลบก่อนโดยการใช้ไฟฟ้ าช๊อตขนาด 110โวลต์ นานไม่เกิน<br />

10 วินาที เมื่อไก่สลบทําการฆ่าโดยตัดเส้นเลือดดํา<br />

ทําการแขวนไก่ให้ห้อยหัวลงนานประมาณ 1-2<br />

นาที เพื่อให้เลือดไหลออกมาให้มากที่สุดป้<br />

องกันการเกิดจุดคลํ ้าที่ผิวหนัง<br />

4.การลวกนํ ้าร้อน ใช้อุณหภูมิประมาณ 82.2-87.8 องศาเซลเซียส นาน 2-3 วินาทีเพื่อให้รู<br />

ขุมขนคลายตัวทําให้สะดวกต่อการถอนขน<br />

5.การถอนขน ถอนขนเสร็จทําความสะอาดผ่านนํ ้าร้อนอีกครั ้งเพื่อลอกหนังขา<br />

จากนั ้นจึง<br />

ผ่านนํ<br />

้าเย็นให้ความร้อนในตัวไก่ลดลงทําการตัดหัวและเอาหลอกลมออก<br />

6.การผ่าเอาเครื่องในออก<br />

ปาดตามขวางเหนือทวารประมาณ 1-2 นิ้ว<br />

เพื่อเปิ<br />

ดหน้าท้องล้วง<br />

เครื่องในออก<br />

ซึ ่งมี หัวใจ ตับ ม้ามและกึ ๋น และให้รีบแยกดีกับตับออก ตัดแข้งและล้างสิ ่งตกค้าง<br />

ออกให้หมด<br />

7.การล้างไก่ ล้างด้วยนํ<br />

้าเย็นชําระเศษเลือดและลดอุณหภูมิภายในตัวไก่<br />

8.การแช่เย็น ป้ องกันเชื ้อจุลินทรีย์และรักษาคุณภาพซากไก่ โดยปลดไก่ลงถังที่<br />

1 ผสมกับ<br />

นํ ้าแข็งและไปถังที่2<br />

อุณหภูมิจะลดลงเหลือประมาณ 0-4 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง<br />

9.ตัดเป็ นชิ<br />

้นส่วน แบ่งออกเป็ นขา อก น่อง สะโพก ปี ก คอ และนําไปชั<br />

่งนํ<br />

้าหนัก บรรจุลง<br />

ถุงสุญญากาศ (เอกปทุม, 2547)<br />

9


ซากและการประเมินคุณภาพไก่<br />

คุณลักษณะของคุณภาพเนื ้อ (Meat quality characteristics)<br />

1. คุณลักษณะด้านโภชนะ (nutritional factor)<br />

คุณค่าทางโภชนะของเนื ้อขึ ้นอยู ่กับปริมาณ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรท ไวตามิน เกลือ<br />

แร่โดยทั่วไปเนื<br />

้อสัตว์มีความชื ้น โปรตีน ไขมัน เกลือแร่โดยประมาณเท่ากับ 74, 20 ,4 และ1<br />

เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับที่เหลืออีก<br />

1 เปอร์เซ็นต์จะประกอบด้วยไกลโคเจน ไวตามินและกรดแลคติค<br />

ส่วนปรกอบทางเคมีในชิ้นส่วนต่างๆของไก่เนื<br />

้อจะประกอบด้วย โปรตีน ไขมัน และพลังงานดัง<br />

แสดงในตารางที่<br />

5<br />

่ ตารางที 5 แสดงปริมาณส่วนประกอบทางเคมีในชิ้นส่วนต่างๆของเนื<br />

้อไก่ชําแหละ(Trimmed cuts)<br />

ชิ้นส่วน<br />

โปรตีน(%) ไขมัน(%) ความชื ้น(%)<br />

สันใน(filet or sasami) 22.0 0.5 76.1<br />

อก(boneless breast) 18.2 14.0 67.4<br />

อกลอก(skinless boneless breast) 21.5 1.2 75.8<br />

ขา(boneless leg) 15.9 15.0 67.7<br />

หนัง(skin) 7.6 42.8 49.4<br />

เศษอก(breast trimming) 17.4 15.3 66.6<br />

เศษขา(leg trimming) 15.9 13.7 69.2<br />

เนื ้อโครง(mechanically deboned poultry meat)<br />

ที่มา:<br />

จุฑารัตน์ (2547)<br />

13.8 12.6 72.0<br />

2. คุณลักษณะด้านการบริโภค(sensory factors)<br />

- สีของเนื ้อ (color) ขึ ้นกับ ชนิดสัตว์ อายุ ลักษณะการทํางานของกล้ามเนื ้อ ปริมาณ<br />

เม็ดสี การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีหลังฆ่า<br />

พิเศษเฉพาะตัว<br />

- ไขมันที่แทรกอยู<br />

่ระหว่างเส้นใยของกล้ามเนื ้อ (marbling)<br />

- ความนุ่มของเนื<br />

้อ (tenderness)<br />

- กลิ่นและรสชาติ<br />

(flavor) เนื ้อสัตว์แต่ละชนิดจะมีกลิ่นและรสชาติที่เป็<br />

นลักษณะ<br />

- ความชุ่มฉํ<br />

่าของเนื ้อ (juiceness)<br />

- ขนาดของเส้นใยกล้ามเนื ้อ (texture)<br />

10


3. คุณลักษณะทางสุขศาสตร์ (Hygienic factors)<br />

- การปนเปื ้ อนเชื ้อจุลินทรีย์<br />

- การปนเปื ้ อนจากปาราสิต<br />

- การปนเปื ้ อนจากมลพิษสิ่งแวดล้อม<br />

โลหะหนัก ยาฆ่าวัชพืช<br />

- สารตกค้าง ยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมน สารเร่งการเจริญเติบโต<br />

11


อุปกรณ์และวิธีการทดลอง<br />

อุปกรณ์<br />

1. สัตว์ทดลอง ลูกไก่เนื ้อสายพันธุ์การค้า (Arbor Acer) คละเพศอายุ 1 วัน จํานวน 640 ตัว<br />

2. อุปกรณ์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ<br />

2.1 ตู้อบแห้ง (Hot air oven)<br />

2.2 เตาเผาอุณหภูมิสูง (Muffle furnace)<br />

2.3 เครื่องวิเคราะห์โปรตีน<br />

(Gerhardt)<br />

2.4 เครื่องมือวิเคราะห์ไขมันแบบ<br />

Labconco goldfisch<br />

2.5 เครื่องมือวิเคราะห์เยื่อใย<br />

2.6 เครื่องมือวิเคราะห์แคลเซียม<br />

2.7 เครื่องมือวิเคราะห์ฟอสฟอรัส<br />

3. อุปกรณ์ในการผสมอาหารเลี ้ยงสัตว์<br />

3.1 เครื่องบดอาหารสัตว์<br />

(Hammer mill)<br />

3.2 เครื่องผสมอาหารสัตว์แนวตั<br />

้ง (Twin screw vertical mixers)<br />

3.3 เครื่องผสมอาหารสัตว์แนวนอน<br />

( Horizontal mixers)<br />

3.4 เครื่องชั่งวัตถุดิบอาหารสัตว์<br />

3.5 ขวดเก็บตัวอย่างอาหารสัตว์<br />

3.6 กะละมังผสมพรีมิกส์ และผสมนํ ้ามัน<br />

4. อุปกรณ์ภายในโรงเรือนไก่เนื ้อ<br />

4.1 คอกไก่ จํานวน 20 คอก<br />

4.2 กระติกนํ ้าอัตโนมัติ ถาดอาหาร<br />

4.3 เครื่องกกแบบหลอดไฟเกลียวขนาด<br />

100 แรงเทียน 22 หลอด<br />

4.4 วัสดุรองพื ้นคือ แกลบ<br />

4.5 ฟองนํ ้าล้างอุปกรณ์<br />

4.6 เครื่องชั่งนํ<br />

้าหนักแบบดิจิตอลและเครื ่องชั่งหยาบ<br />

4.7 เทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิ เทอร์โมมิเตอร์วัดความชื ้น<br />

4.8 อุปกรณ์จดบันทึกข้อมูลภายในคอก<br />

4.9 ที่ตักอาหารจํานวน<br />

2 อัน<br />

4.10 ถังอาหารความจุ 15 กิโลกรัม จํานวน 20 ถัง<br />

4.11 กรงพลาสติกใส่ไก่<br />

5. อุปกรณ์ชําแหละซาก<br />

5.1 มีดผ่าตัด<br />

12


5.2 เครื่องชั่งหยาบ<br />

เครื่องชั่งละเอียด<br />

5.3 ถาด ถังแช่นํ ้าแข็ง ถุงพลาสติกเก็บเครื่องในและตะกร้าบรรจุซาก<br />

6. อุปกรณ์ในการเจาะเลือด<br />

7.1 เข็มฉีดยา (Disposuble needle) เบอร์ 23<br />

7.2 หลอดฉีดยา 3 ซีซี<br />

7.3 หลอดเก็บตัวอย่างเลือด<br />

7.4 ขาตั ้ง (rack)<br />

7.5 สําลี<br />

7.6 แอลกอฮอล์<br />

13


วิธีการ<br />

1. วิธีการทดลองเลี้ยงไก่เนื้อ<br />

วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์<br />

(Completely Randomized Design) ในการทดลองจะ<br />

ใช้กากกะทิในระดับที่แตกต่างกันแทนที่รําละเอียดในสูตรอาหารไก่เนื<br />

้อ ตั ้งแต่ระยะ 1 วันถึง 42 วัน<br />

โดยแบ่งออกเป็ น 5 กลุ่มการทดลอง<br />

แต่ละกลุ่มการทดลองมีจํานวน<br />

4 ซํ ้า ใช้ลูกไก่เนื ้อคละเพศอายุ<br />

1 วัน จํานวน 32 ตัวต่อซํ ้า รวมทั ้งสิ้น<br />

640 ตัว ดังนี ้<br />

กลุ่มทดลองที่<br />

1 กลุ่มควบคุมไม่เสริมกากกะทิและยาปฏิชีวนะ<br />

กลุ่มทดลองที่<br />

2 เสริมยาปฏิชีวนะ (Avilamycin 2.5 มก./กก. ของอาหาร)<br />

กลุ่มทดลองที่<br />

3 ใส่กากกะทิในระดับ 4 เปอร์เซ็นต์ ในสูตรอาหาร<br />

กลุ่มทดลองที่<br />

4 ใส่กากกะทิในระดับ 8 เปอร์เซ็นต์ ในสูตรอาหาร<br />

กลุ่มทดลองที่<br />

5 ใส่กากกะทิในระดับ 12 เปอร์เซ็นต์ ในสูตรอาหาร<br />

นํากากกะทิตากแห้ง มาทําการวิเคราะห์หาส่ วนประกอบทางเคมีโดยวิธีประมาณ<br />

(Proximate analysis) ตามวิธีของ AOAC (1995) ก่อนที่จะนําไปปรับใช้ในสูตรอาหารทดลองซึ<br />

่งมี<br />

ระดับของโปรตีน และค่าพลังงานตามคําแนะนําของ NRC (1994) นําไปประกอบสูตรอาหาร<br />

ทดลองตามระยะการเจริญเติบโตของไก่ ซึ ่งแบ่งออกเป็ น 2 ระยะ คือ ระยะที่<br />

1 อายุ 0-3 สัปดาห์<br />

(ตารางที่<br />

6) และระยะที่<br />

2 อายุ 3-6 สัปดาห์ (ตารางที่<br />

7) การคํานวณสูตรอาหารจะใช้โปรแกรมช่วย<br />

คํานวณสูตรอาหารสัตว์ เอ เอฟ เอฟ 2000 (ศรีสกุล และนภาพันธ์ , 2544) ต่อจากนั ้นทําการสุ ่มไก่<br />

เนื ้อทดลองเข้าเลี ้ยงภายในโรงเรือนปิ ด แบบปล่อยพื ้น ตั ้งแต่อายุ 1 วันถึง 42 วัน โดยให้แสงสว่าง<br />

วันละ 24 ชั่วโมง<br />

และให้อาหารแบบเต็มที่<br />

(ad libitum)<br />

14


ตารางที่<br />

6 ส่วนประกอบของสูตรอาหารที ่ใช้เลี ้ยงไก่เนื ้ออายุ 0-3 สัปดาห์<br />

่ ่ ่ ่ ่<br />

ปริมาณในสูตรอาหารไก่เนื ้อ (กิโลกรัม)<br />

วัตถุดิบ<br />

กลุ่มที<br />

กลุ่มที<br />

กลุ่มที<br />

กลุ่มที<br />

กลุ่มที<br />

1 2 ก<br />

่<br />

3 4 5<br />

ข้าวโพด 48.54 48.54 47.55 45.96 45.07<br />

รําละเอียด 12 12 8 4 0<br />

กากถั่วเหลืองสกัด<br />

25.13 25.13 26.13 27.23 28.23<br />

ปลาป่ น 8 8 8 8 8<br />

เกลือแกง 0.35 0.35 0.35 0.35 0.35<br />

กากกะทิ 0 0 4 8 12<br />

นํ ้ามันถั ่วเหลือง 4.5 4.5 4.5 5 5<br />

หินฝุ น 0.8 0.8 0.8 0.8 0.7<br />

เมทไทโอนีน 0.18 0.18 0.17 0.16 0.15<br />

พรีมิกซ์ไก่กระทง 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5<br />

รวม 100 100 100 100 100<br />

ราคา (บาท/กก.)<br />

ปริมาณโภชนะโดยคํานวณ<br />

14.15 14.1528 14.06 14.06 13.98<br />

โปรตีน (%) 22 22 22 22 22<br />

พลังงานใช้ประโยชน์<br />

(กิโลแคลอรี/กิโลกรัม)<br />

3187.24 3187.24 3162.07 3172.23 3159.41<br />

ไขมัน (%) 10.10 10.10 10.37 11.11 11.38<br />

เยื่อใย<br />

(%) 4.06 4.06 5.60 7.14 8.69<br />

แคลเซียม (%) 1.20 1.20 1.20 1.20 1.17<br />

ฟอสฟอรัสใช้ได้ (%) 0.60 0.60 0.53 0.46 0.38<br />

ไลซีน (%) 1.28 1.28 1.30 1.33 1.35<br />

เมทไทโอนีน+ซีสตีน (%) 0.95 0.95 0.95 0.95 0.95<br />

ทริปโทแฟน (%) 0.29 0.29 0.30 0.31 0.31<br />

ก พรีมิกซ์รวม avilamycin 2.5 มิลลิกรัม/กิโลกรัมอาหาร<br />

15


ตารางที่<br />

7 ส่วนประกอบของสูตรอาหารที ่ใช้เลี ้ยงไก่เนื ้ออายุ 3-6 สัปดาห์<br />

่ ่ ่ ่ ่<br />

ปริมาณในสูตรอาหารไก่เนื ้อ (กิโลกรัม)<br />

วัตถุดิบ<br />

กลุ่มที<br />

กลุ่มที<br />

กลุ่มที<br />

กลุ่มที<br />

กลุ่มที<br />

1 2 ก<br />

่<br />

3 4 5<br />

ข้าวโพด 52.90 52.90 51.31 49.95 48.72<br />

รําละเอียด 12 12 8 4 0<br />

กากถั่วเหลืองสกัด<br />

24.02 24.02 25.12 26.19 27.23<br />

ปลาป่ น 5 5 5 5 5<br />

เกลือแกง 0.35 0.35 0.35 0.35 0.35<br />

กากกะทิ 0 0 4 8 12<br />

ไดแคลเซียมฟอสเฟต 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5<br />

นํ ้ามันถั ่วเหลือง 4 4 4.5 4.8 5<br />

หินฝุ น 0.7 0.7 0.7 0.7 0.7<br />

เมทไทโอนีน 0.025 0.025 0.02 0.01 0<br />

พรีมิกซ์ไก่กระทง 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5<br />

รวม 100 100 100 100 100<br />

ราคา (บาท/กก.)<br />

ปริมาณโภชนะโดยคํานวณ<br />

13.18 13.1828 13.19 13.16 13.11<br />

โปรตีน (%) 20 20 20 20 20<br />

พลังงานใช้ประโยชน์<br />

(กิโลแคลอรี/กิโลกรัม)<br />

3182.03 3182.03 3192.19 3191.72 3186.09<br />

ไขมัน (%) 9.54 9.54 10.29 10.84 11.30<br />

เยื่อใย<br />

(%) 4.08 4.08 5.62 7.15 8.69<br />

แคลเซียม (%) 1.05 1.05 1.05 1.05 1.06<br />

ฟอสฟอรัสใช้ได้ (%) 0.55 0.55 0.48 0.41 0.33<br />

ไลซีน (%) 1.11 1.11 1.13 1.16 1.18<br />

เมทไทโอนีน+ซีสตีน (%) 0.72 0.72 0.72 0.72 0.72<br />

ทริปโทแฟน (%) 0.26 0.26 0.27 0.28 0.28<br />

ก พรีมิกซ์รวม avilamycin 2.5 มิลลิกรัม/กิโลกรัมอาหาร<br />

16


2. การศึกษาคุณภาพซากของไก่เนื้อ<br />

เมื่อไก่อายุครบ<br />

42 วัน ทําการสุ่มไก่เนื<br />

้อจํานวนกลุ ่มการทดลองละ 16 ตัว เป็ นตัวผู้และตัว<br />

เมียอย่างละ 8 ตัว รวมทั ้งสิ้น<br />

80 ตัว แล้วทําการฆ่าและชําแหละซากเพื่อ<br />

1. ตรวจความผิดปกติของอวัยวะที่สําคัญด้วยตาเปล่า<br />

(Gross lesion)<br />

2. ชั่งนํ<br />

้าหนักอวัยวะที ่สําคัญ<br />

3. ตรวจวัดความแตกต่างของสีผิวหนังและสีไขมัน<br />

4. วัดเปอร์เซ็นต์ซากและชิ้นส่วนของซาก<br />

ทําการบันทึกข้อมูลซากไก่ชําแหละ ได้แก่ นํ ้าหนักตัวมีชีวิต (Live weight) นํ ้าหนักซาก<br />

หลังถอนขน (De-feather weight) นํ ้าหนักซากไม่รวมเครื่องใน<br />

(Eviscerated weight) นํ ้าหนัก<br />

เครื่องใน<br />

ไขมันช่องท้อง นํ ้าหนักเนื ้อ กระดูกและหนังของซาก นํ ้าหนักปี ก คํานวณหาเปอร์เซ็นต์<br />

ซาก (Dressed percentage) และเปอร์เซ็นต์ชิ้นส่วนต่าง<br />

ๆ ของซาก (Yield of cuts percentage) นํา<br />

ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาความแปรปรวนทางสถิติและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม<br />

ทดลองด้วยวิธี DMRT<br />

วิธีการการช าแหละซากไก่เพื่อศึกษาคุณภาพซาก<br />

1. อดอาหารก่อนฆ่าประมาณ 3 ชั่วโมง<br />

2. ชั่งนํ<br />

้าหนักไก่มีชีวิตทําการบันทึกข้อมูลรายตัว และสุ่มไก่ติดเบอร์ที่ข้อขา<br />

3. ขนส่งไก่ฆ่า ถอนขนที่โรงเชือด<br />

4. ทําความสะอาดและชั่งนํ<br />

้าหนัก บันทึกข้อมูลตามเบอร์ที่ข้อขา<br />

5. ปาดท้องควักเครื ่องในออกจากตัวไก่ ทําความสะอาดไก่กึ ๋น เศษอาหารตกค้าง<br />

6. ชั่งนํ<br />

้าหนักเครื ่องใน (กึ ๋น หัวใจ ตับ และไขมันช่องท้อง)<br />

7. ชั่งนํ<br />

้าหนักไก่ที่เอาเครื่องในออกแล้วอีกครั<br />

้ง (นํ ้าหนักซากอุ่น<br />

(Hotdressed))<br />

8. การตัดแต่งเริ ่มจากตัดหัว ตัดขา ทําตําแหน่งที ่หลังไก่ลักษณะเป็ นเครื่องหมาย<br />

”+” ปาด<br />

ที่ซอกขาแล้วแบะขาให้เห็นกระดูกสะโพกทั<br />

้ง 2 ข้างตัดเอ็นที ่เหนือกระดูกจากนั ้นดึงขาช่องน่อง<br />

ออก จากนั ้นเละปี กออกจากช่องไหล่ ใช้มีดกรีดที่ช่วงอกโดยให้ใกล้กับกระดูกซี่โครงมากที่สุดทั<br />

้ง<br />

2 ข้างแล้วดึงออกได้เป็ น เนื ้อสันนอกและเนื ้อสันใน<br />

9. เลาะกระดูกส่วนสะโพกออก แยกหนังและเศษชิ้นส่วนแล้วนําไปชั<br />

่งแต่ละส่วน จด<br />

บันทึกข้อมูล (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544)<br />

17


3. การบันทึกข้อมูล<br />

- บันทึกนํ ้าหนักไก่มีชีวิตก่อนฆ่า<br />

- บันทึกนํ ้าหนักซากอุ่น<br />

และเครื่องในที่กินได้<br />

(ตับ กึ ๋น และหัวใจ)<br />

- บันทึกนํ ้าหนักชิ้นส่วนต่างๆหลังทําการชําแหละและคํานวณเป็<br />

นเปอร์เซ็นต์ดังนี ้<br />

เปอร์เซ็นต์ซาก = นํ ้าหนักซากอุ่น<br />

x 100<br />

นํ ้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า<br />

เปอร์เซ็นต์ชิ้นส่วนต่างๆ<br />

= นํ ้าหนักซากอุ่น<br />

x 100<br />

นํ ้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า<br />

เปอร์เซ็นต์ซากตัดแต่ง = นํ ้าหนักซากอุ่น<br />

x 100<br />

นํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

เปอร์เซ็นต์ชิ้นส่วนตัดแต่ง<br />

= นํ ้าหนักชิ้นส่วนตัดแต่ง<br />

x 100<br />

นํ ้าหนักชิ้นส่วนตัดแต่ง<br />

4. การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

นําข้อมูลที่ได้มาหาความแปรปรวนทางสถิติโดยวิธี<br />

Analysis of Variance เปรียบเทียบ<br />

ความแตกต่างระหว่างกลุ่มทดลองโดยวิธี<br />

Dancan’s New Multiple Range Test for Variable<br />

(DMRT) โดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูป SAS (1988)<br />

5. สถานที่ท<br />

าการทดลอง<br />

5.1 โรงเรื อนเลี ้ ยงสัตว์ปี ก ฟาร์มหลักสูตรสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร<br />

5.2 โรงผสมอาหารสัตว์ ฟาร์ มหลักสูตรสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร<br />

5.3 ห้องปฏิบัติการอาหารสัตว์ หลักสูตรสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร<br />

5.4 ห้องปฏิบัติการตัดแต่งเนื ้อสัตว์ หลักสูตรสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร<br />

6. ระยะเวลาท าการทดลอง<br />

ใช้เวลาทดลองเลี ้ยงไก่เนื ้อ 42 วัน<br />

18


ผลการทดลอง<br />

ผลของการเสริมกากกะทิต่อคุณภาพซาก<br />

จากการทดลองการเลี ้ยงไก่เนื ้อด้วยอาหารที ่ผสมกากกะทิในระดับที ่แตกต่างกันในสูตร<br />

อาหารในช่วง 1 วันถึง 42 วันแบ่งออกเป็ น 5 กลุ่มทดลอง<br />

คือ<br />

กลุ่มทดลองที่<br />

1 กลุ่มควบคุมไม่เสริมกากกะทิและยาปฏิชีวนะ<br />

กลุ่มทดลองที่<br />

2 เสริมยาปฏิชีวนะ (Avilamycin 2.5 มก./กก. ของอาหาร)<br />

กลุ่มทดลองที่<br />

3 ใส่กากกะทิในระดับ 4 เปอร์เซ็นต์ ในสูตรอาหาร<br />

กลุ่มทดลองที่<br />

4 ใส่กากกะทิในระดับ 8 เปอร์เซ็นต์ ในสูตรอาหาร<br />

กลุ่มทดลองที่<br />

5 ใส่กากกะทิในระดับ 12 เปอร์เซ็นต์ ในสูตรอาหาร<br />

ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติในด้านของนํ ้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่าของไก่เนื ้อที่<br />

เลี ้ยงด้วยอาหารทั ้ง 5 กลุ่มการทดลอง<br />

ปรากฏว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P


ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของซากไม่รวมเครื่องในเทียบกับนํ<br />

้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่าไม่<br />

มีความแตกต่างทางสถิติ(P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ของซากไม่รวมเครื่องในของไก่ที<br />

่ได้รับ<br />

อาหารสูตรควบคุม เสริ มยาปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 84.17, 81.21,<br />

81.96, 81.38 และ 80.94 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริมใน<br />

สูตรอาหารไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นต์ซากไม่รวมเครื่องใน<br />

( P0.05 ) ดังตารางผนวกที่<br />

3<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของแข้งและเท้าเทียบกับนํ<br />

้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างทางสถิติ(P>0.05) โดยค่าเฉลี ่ยเปอร์เซ็นต์ของแข้งและเท้าของไก่ที ่ได้รับอาหารสูตร<br />

ควบคุม เสริมยาปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4, 8 และ 12 เปอร์เซ็นต์ คือ 3.93, 3.98, 3.82, 3.68 และ<br />

3.88 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่<br />

8 แสดงว่ากากกะทิที่เสริมในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์แข้งและเท้า(P0.05 ) ดังตารางผนวกที่<br />

5<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของหัวและคอเทียบกับนํ<br />

้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ของหัวและคอของไก่ที่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริมยาปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 5.74, 5.51, 5.02, 5.57 และ 5.66<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของหัวและคอ (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

6<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของกึ<br />

๋นเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่ามีความแตกต่าง<br />

อย่างมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ของหัวใจของไก่ที<br />

่ได้รับอาหารสูตรควบคุม เสริ มยา<br />

ปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 0.45, 0.45, 0.44, 0.46 และ 0.45 เปอร์เซ็นต์<br />

ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่<br />

8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริมในสูตรอาหารไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นต์ของ<br />

หัวใจ (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

9<br />

20


ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของไขมันอวัยวะเครื่องในเทียบกับนํ<br />

้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่าไม่<br />

มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ของไขมันอวัยวะเครื่องในของไก่ที่ได้รับ<br />

อาหารสูตรควบคุม เสริมยาปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 0.86, 0.93, 0.94,<br />

0.88 และ 0.91 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่<br />

8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริมในสูตรอาหาร<br />

ไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นต์ของไขมันอวัยวะเครื่องใน<br />

(P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

10<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของปี<br />

กเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่าไม่มีความแตกต่าง<br />

ทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ปี<br />

กของไก่ที่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริมยาปฎิชีวนะ<br />

เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 8.16, 8.29, 7.83, 8.19 และ 8.27 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ<br />

ดังแสดงในตารางที่<br />

8 แสดงว่ากากกะทิที่เสริมในสูตรอาหารไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นต์ของปี<br />

ก (P>0.05)<br />

ดังตารางผนวกที่<br />

11<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของเนื<br />

้อขาเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่าไม่มีความแตกต่าง<br />

ทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี ่ยเปอร์เซ็นต์เนื ้ อขาของไก่ที ่ได้รับอาหารสูตรควบคุม เสริ มยา<br />

ปฎิชีวนะ เสริ มกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 15.38, 14.86, 15.02, 15.09 และ 14.27<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของเนื ้อขา (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

12<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของกระดูกขาเทียบกับนํ<br />

้ าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี ่ยเปอร์เซ็นต์กระดูกขาของไก่ที ่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริ มยาปฎิชีวนะ เสริ มกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 5.19, 5.42, 5.09, 5.03 และ 5.35<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของกระดูกขา (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

13<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของกระดูกซี่โครงเทียบกับนํ<br />

้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์กระดูกซี่โครงของไก่ที่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริมยาปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 18.01, 17.79, 17.68, 17.29 และ 17.68<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของกระดูกซี่โครง<br />

(P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

14<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของเนื<br />

้ออกรวมเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื<br />

้ออกรวมของไก่ที ่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริมยาปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 18.07, 17.33, 18.37, 17.22 และ 17.15<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของเนื ้ออกรวม (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

15<br />

21


ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของเนื<br />

้ออกนอกเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื<br />

้ออกนอกของไก่ที ่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริมยาปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 14.57, 13.92, 14.91, 13.91 และ 13.88<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของเนื ้ออกนอก (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

16<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี ่ยของเนื ้ออกในเทียบกับนํ ้ าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า ปรากฏว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี ่ยเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกในของไก่ที ่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริ มยาปฎิชีวนะ เสริ มกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 3.50, 3.41, 3.46, 3.31 และ 3.27<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของเนื ้ออกใน (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

17<br />

ด้านของนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่งของไก่เนื<br />

้อที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารทั ้ง 5 กลุ่มการทดลอง<br />

ปรากฏ<br />

ว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ(P0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

20<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี ่ยของเนื ้อขาเทียบกับนํ ้ าหนักซากอุ ่นตัดแต่ง ปรากฏว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื<br />

้อขาของไก่ที ่ได้รับอาหารสูตรควบคุม เสริม<br />

ยาปฎิชีวนะ เสริ มกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 20.71, 20.81, 20.62, 20.96 และ 20.05<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของเนื ้อขา (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

21<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี ่ยของกระดูกขาเทียบกับนํ ้ าหนักซากอุ ่นตัดแต่ง ปรากฏว่ามีความ<br />

แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P


กะทิ 4, 8 เปอร์เซ็นต์ แสดงว่ากากกะทิที่เสริม<br />

12 เปอร์เซ็นต์ในสูตรอาหารมีผลต่อเปอร์เซ็นต์ของ<br />

กระดูกขา (P0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์กระดูกซี่โครงของไก่ที<br />

่ได้รับอาหารสูตร<br />

ควบคุม เสริมยาปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 24.20, 24.84, 24.22, 24.00<br />

และ 24.87 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่<br />

8 แสดงว่ากากกะทิที่เสริมในสูตรอาหารไม่มี<br />

ผลต่อเปอร์เซ็นต์ของกระดูกซี่โครง<br />

(P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

23<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของเนื<br />

้ออกรวมเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

ปรากฏว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื<br />

้ออกรวมของไก่ที ่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริมยาปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 24.27, 24.23, 25.19, 23.95 และ 24.04<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของเนื ้ออกรวม (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

24<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของเนื<br />

้ออกนอกเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

ปรากฏว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เนื<br />

้ออกนอกของไก่ที ่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริมยาปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 19.57, 19.46, 20.44, 19.34 และ 19.46<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของเนื ้ออกนอก (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

25<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของเนื<br />

้ออกในเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

ปรากฏว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี ่ยเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกในของไก่ที ่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริ มยาปฎิชีวนะ เสริ มกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 4.70, 4.77, 4.74, 4.61 และ 4.59<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของเนื ้ออกใน (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

26<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของหนังเทียบกับนํ<br />

้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

ปรากฏว่าไม่มีความแตกต่าง<br />

ทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์หนังของไก่ที่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริมยาปฎิชีวนะ<br />

เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 7.58, 7.73, 7.52, 7.05 และ 7.58 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดัง<br />

แสดงในตารางที่<br />

8 แสดงว่ากากกะทิที่เสริมในสูตรอาหารไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นต์ของหนัง<br />

(P>0.05)<br />

ดังตารางผนวกที่<br />

27<br />

ด้านเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของเศษ<br />

(เนื ้อ กระดูก หนัง) เทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

ปรากฏว่า<br />

ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เศษของไก่ที่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริ มยาปฎิชีวนะ เสริ มกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์ คือ 0.08, 0.18, 0.31, 0.37 และ 0.09<br />

เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที ่ 8 แสดงว่ากากกะทิที ่เสริ มในสูตรอาหารไม่มีผลต่อ<br />

เปอร์เซ็นต์ของเศษ (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

28<br />

23


สีหนัง เทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

ปรากฏว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดย<br />

ค่าสีหนังของไก่ที่ได้รับอาหารสูตรควบคุม<br />

เสริมยาปฎิชีวนะ เสริมกากกะทิ 4 , 8 และ12 เปอร์เซ็นต์<br />

คือ 2.81, 3.50, 2.88, 3.13 และ 2.88 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่<br />

8 แสดงว่ากากกะทิที ่<br />

เสริมในสูตรอาหารไม่มีผลต่อสีหนัง (P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

30<br />

สีไขมัน เทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

ปรากฏว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

โดยค่าสีไขมันของไก่ที ่ได้รับอาหารสูตรควบคุม เสริมยาปฎิชีวนะ เสริ มกากกะทิ 4 , 8 และ12<br />

เปอร์เซ็นต์ คือ 2.75, 2.75, 2.13, 2.69 และ 2.31 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่<br />

8 แสดงว่า<br />

กากกะทิที่เสริมในสูตรอาหารไม่มีผลต่อสีไขมัน<br />

(P>0.05) ดังตารางผนวกที่<br />

31<br />

24


ตารางที่<br />

8 เปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์ซากและส่วนประกอบของซากไก่เนื ้อที่ได้รับกากกะทิที่ระดับต่างกันในสูตรอาหาร<br />

รายการ สูตรควบคุม<br />

นํ ้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า (กิโลกรัม) 1/<br />

นํ ้าหนักถอนขนรวมเครื ่องใน(%) 3/<br />

โลหิตและขน(%) 3/<br />

ซากไม่รวมเครื่องใน(%)<br />

3/<br />

แข้งและเท้า (%) 3/<br />

หัวและคอ (%) 3/<br />

กึ ๋น (%) 1/3/<br />

ตับ (%) 3/<br />

หัวใจ (%) 3/<br />

ไขมันของอวัยวะเครื่องใน<br />

(%) 3/<br />

นํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

(กิโลกรัม) 1/<br />

นํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

(%) 3/<br />

ปี ก (%) 3/<br />

2.32±0.06 A<br />

สูตรเสริม<br />

Avilamycin<br />

2.29±0.03 A<br />

ระดับของกากกะทิในสูตรอาหาร ระดับนัยสําคัญ<br />

4% 8% 12% ทางสถิติ (P)<br />

2.29±0.04 A<br />

2.34±0.02 A<br />

2.19±0.08 B<br />

0.0084 **<br />

91.97±0.72 91.43±0.39 91.73±0.99 91.01±1.42 91.29±1.20 0.7051 ns<br />

8.03±0.72 8.57±0.39 8.27±0.99 8.99±1.42 8.71±1.20 0.7051 ns<br />

84.17±1.77 81.21±1.07 81.96±20.3 81.38±2.02 80.94±2.14 0.1457 ns<br />

3.93±0.28 3.98±0.23 3.82±0.05 3.68±0.08 3.88±0.09 0.1840 ns<br />

5.74±0.26 5.51±0.22 5.02±0.49 5.57±0.69 5.66±0.47 0.2486 ns<br />

1.03±0.10 D<br />

1.13±0.04 CD<br />

1.15±0.08 BC 1.27±0.08 AB<br />

1.34±0.05 A<br />

0.0004 **<br />

1.72±0.09 1.82±0.14 1.78±0.13 1.63±0.20 1.76±0.05 0.3488 ns<br />

0.45±0.03 0.45±0.03 0.44±0.02 0.46±0.03 0.45±0.05 0.9201 ns<br />

0.86±0.14 0.93±0.23 0.94±0.31 0.88±0.24 0.91±0.26 0.9930 ns<br />

1.73±0.03 A<br />

1.64±0.02 A<br />

1.67±0.03 A<br />

1.69±0.03 A<br />

1.56±0.09 B<br />

0.0045 **<br />

74.49±1.23 71.73±1.01 73.14±2.17 72.10±1.59 71.43±1.73 0.0910 ns<br />

8.16±0.42 8.29±0.17 7.83±0.50 8.19±0.26 8.27±0.30 0.3694 ns<br />

เนื ้อขา (%) 3/ 15.38±0.25 14.86±0.49 15.02±0.25 15.09±0.50 14.27±0.76 0.0620 ns<br />

กระดูกขา (%) 3/ 5.19±0.14 5.42±0.09 5.09±0.35 5.03±0.15 5.35±0.29 0.1186 ns<br />

กระดูกซี่โครง<br />

(%) 3/<br />

18.01±1.28 17.79±1.06 17.68±0.29 17.29±1.11 17.68±1.23 0.9060 ns<br />

25


ตารางที่<br />

8 (ต่อ)<br />

1/ ค่าเฉลี<br />

2/ ค่าเฉลี<br />

รายการ สูตรควบคุม<br />

สูตรเสริม<br />

Avilamycin<br />

ระดับของกากกะทิในสูตรอาหาร ระดับนัยสําคัญ<br />

4% 8% 12% ทางสถิติ (P)<br />

เนื ้ออกรวม (%) 3/ 18.07±1.12 17.33±0.78 18.37±1.03 17.22±0.64 17.15±0.86 0.2484 ns<br />

เนื ้ออกนอก (%) 3/ 14.57±0.95 13.92±0.76 14.91±0.64 13.91±0.55 13.88±0.71 0.2096 ns<br />

เนื ้ออกใน (%) 3/ 3.50±0.21 3.41±0.09 3.46±0.42 3.31±0.09 3.27±0.19 0.6310 ns<br />

ปี ก (%) 4/ 10.96±0.35 11.60±0.37 10.72±0.69 11.40±0.59 11.59±0.44 0.0920 ns<br />

เนื ้อขา (%) 4/ 20.71±0.73 20.81±0.78 20.62±0.71 20.96±1.04 20.05±1.09 0.6523 ns<br />

กระดูกขา (%) 2/4/ 6.97±0.18 B<br />

7.57±0.13 A<br />

6.96±0.39 B<br />

7.00±0.32 B<br />

7.51±0.51 AB<br />

0.0363 *<br />

กระดูกซี่โครง<br />

(%) 4/ 24.20±1.69 24.84±1.49 24.22±1.04 24.00±1.25 24.87±2.24 0.9040 ns<br />

เนื ้ออกรวม (%) 4/<br />

24.27±1.65 24.23±1.43 25.19±1.67 23.95±1.35 24.04±0.71 0.7413 ns<br />

เนื ้ออกนอก (%) 4/<br />

19.57±1.36 19.46±1.32 20.44±1.19 19.34±1.33 19.46±0.67 0.6682 ns<br />

เนื ้ออกใน (%) 4/<br />

4.70±0.34 4.77±0.18 4.74±0.57 4.61±0.22 4.59±0.14 0.9159 ns<br />

หนัง (%) 4/ 7.58±1.52 7.73±0.78 7.52±1.02 7.05±1.14 7.58±1.14 0.9333 ns<br />

เศษ (เนื ้อ กระดูก หนัง) (%) 4/ 0.08±1.15 0.18±0.18 0.31±0.14 0.37±0.38 0.09±0.11 0.2587 ns<br />

ไขมันช่องท้อง (%) 4/<br />

1.62±0.22 1.85±0.52 1.50±0.33 1.91±0.30 1.75±0.36 0.5044 ns<br />

สีของหนัง 2.81±0.63 3.50±1.08 2.88±0.48 3.13±1.05 2.88±1.16 0.8175 ns<br />

สีของไขมัน 2.75±0.94 2.75±0.35 2.13±0.48 2.69±0.83 2.31±0.90 0.6604 ns<br />

่ยในแถวเดียวกันที่กํากับด้วยตัวอักษรที่แตกต่างกันแสดงความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P


วิจารณ์<br />

การเสริมกากกะทิที ่ระดับต่างๆ กัน มีผลต่อนํ ้าหนักไก่มีชีวิตก่อนฆ่า อย่างมีนัยสําคัญยิ่ง<br />

ทางสถิติ (P0.05) ยกเว้น เปอร์เซ็นต์ของกึ ๋นเทียบกับนํ ้าหนักไก่มีชีวิตก่อนฆ่า โดยที่กลุ่ม<br />

เสริมกากกะทิ 12 เปอร์เซ็นต์ มีค่าเฉลี่ยมากกว่าทุกกลุ่มอย่างมีนัยสําคัญยิ<br />

่งทางสถิติ (P


สรุป<br />

จากการศึกษาผลของการใช้กากกะทิในอาหารต่อคุณภาพซากของไก่เนื ้อในปริมาณที ่<br />

แตกต่างกันที่ระดับ<br />

4 , 8 และ 12% พบว่า กลุ่มที่เสริมกากกะทิ<br />

8% มีค่าเฉลี่ยนํ<br />

้าหนักตัวสูงกว่าทุก<br />

กลุ่ม<br />

กลุ่มที่เสริมกากกะทิ<br />

12% มีนํ ้าหนักกึ ๋นที่มากกว่าทุกกลุ่มแต่มีนํ<br />

้าหนักซากอุ่นน้อยที่สุดเมื่อ<br />

เทียบกับกลุ่มอื่น<br />

28


เอกสารอ้างอิง<br />

จุฑารัตน์ เศรษฐกุล. 2547. การจัดการโรงฆ่าสัตว์. พิมพ์ครั ้งที่<br />

2 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า<br />

เจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพมหานคร.112น.<br />

ไชยา กิจพาณิชย์. 2547. การศึกษาหาวิธีการปรับปรุงการเลี ้ยงไก่พื ้นเมืองในชนบท. ในรายงาน<br />

ประจําปี โครงการการวิจัยการปรับปรุง และส่งเสริมการเลี ้ยงไก่พื ้นเมืองในชนบทภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 275 น.<br />

ไทยเฮิร์บคลินิค. 2553. นํ ้ามะพร้าวมีประโยชน์มากกว่าที่คิด.<br />

[online] Available :<br />

http://thaiherbclinic.com/node/1467. 12/03/2011.<br />

นพวรรณ ชมชัย, เสาวคนธ์ โรจนสถิตย์, สมุน โพธิ ์ จันทร์ และอนันต์ ภู ่สิทธิกุล. 2535. ระดับ<br />

โภชนะที่เหมาะสมในอาหารในอาหารสัตว์ปี<br />

ก 2 ไก่พื ้นเมือง (ระยะเจริญเติบโต) วารสาร<br />

สัตว์เศรษฐกิจ. 210 น.<br />

นิรนาม. 2554ก. ประโยชน์ที่ได้รับจากมะพร้าว.<br />

[online] Available :<br />

http://www.angelfire.com/hero/t_coconut/page2x3.htm. 12/03/2011.<br />

นิรนาม. 2554ข. กากมะพร้าว. [online] Available :<br />

http://www.dld.go.th/nutrition/exhibision/feed_stuff/coconut_meal.htm. 12/03/2011<br />

บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2541. โภชนศาสตร์สัตว์ เล่ม1. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

พันทิพา พงษ์เพียจันทร์. 2539. หลักการอาหารสัตว์เล่ม 2 หลักโภชนศาสตร์และการประยุกต์.<br />

ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 576 น.<br />

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2544. ขั ้นตอนการชําแหละและตัดแต่งซากไก่ในประเทศไทย.<br />

[online] Available : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/lesson10_1.php.<br />

12/03/2011.<br />

ศรีสกุล วรจันทราและนภาพันธ์ ไชยวงค์. 2544. โปรแกรมช่วยคํานวณสูตรอาหารสัตว์; AFF<br />

2000. ในการประชุมเชิงวิชาการของวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ม. เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.<br />

224-231.<br />

สวัสดิ ์ ธรรมบุตร. 2527. การศึกษาอัตราการตาย และอัตราการเจริญเติบโตของไก่พื ้นเมือง.<br />

รายงานผลงานวิจัย สาขาสัตวศาสตร์ การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ครั ้งที่<br />

22 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน กรุงเทพฯ.<br />

29


สุทธิพงศ์ อุริยะพงศ์สรรค์ และธีรยุทธ จันทะนาม. 2542. บทปฏิบัติการเนื ้อสัตว์. ภาควิชา<br />

สัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 107 น.<br />

สุวรรณ เกษตรสุวรรณ. 2529. การเลี ้ยงไก่. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.<br />

373 น.<br />

อาวุธ ตันโช. 2540. การผลิตสัตว์ปี ก. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์. โอเดียนสโตร์,กรุงเทพฯ.<br />

502น.<br />

เอกปทุม เชาวะเจริญ. 2547. ผลของการเสริมใบบัวบกในสูตรอาหารต่อคุณภาพซากของไก่เนื ้อ.<br />

ปัญหาพิเศษภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบัน<br />

เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพมหานคร.<br />

A.O.A.C. 1995. Official Methods of Analysis of Association of Official.Analysis Chemist.16th<br />

ed. Washington, D.C. : Association Chemists<br />

NRC. 1994. Nutrient Requriments of Poultry. 9 th ed., National Academy Press, Washington<br />

D.C., USA.155 p. and clinical blood chemistry in rats. Thai J Pharm Sci<br />

2003;27(suppl):69.<br />

SAS. 1988. SAS/STAT Guide for personal computers, Version 6 Edition. North Carolina, USA:<br />

SAS Institute Inc.<br />

30


ภาคผนวก


ตารางผนวกที่<br />

1 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของนํ ้าหนักมีชีวิตก่อนฆ่า<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.0545 0.0136 5.11 0.0084 **<br />

Error 15 0.0400 0.0026<br />

Total 19 0.0945<br />

%C.V. = 2.25<br />

**<br />

= มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

3 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์ซากไม่รวมเครื่องใน<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 27.3157 6.8289 2.00 0.1457 NS<br />

Error 15 51.1300 3.4086<br />

Total 19 78.4457<br />

%C.V. = 2.25<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

32


ตารางผนวกที่<br />

4 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์โลหิตและขน<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 2.2298 0.5574 0.55 0.7051 NS<br />

Error 15 15.3306 1.0220<br />

Total 19 17.5604<br />

%C.V. = 11.87<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

5 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์แข้งและเท้า<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.2124 0.0531 1.79 0.1840 NS<br />

Error 15 0.4458 0.0297<br />

Total 19 0.6582<br />

%C.V. = 4.46<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

6 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์หัวและคอเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 1.2566 0.3141 1.51 0.2486 NS<br />

Error 15 3.1159 0.2077<br />

Total 19 4.3726<br />

%C.V. = 8.28<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

33


ตารางผนวกที่<br />

7 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซนต์กึ ๋นเทียบกับน ้ำหนักมีชีวิต<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.2345 0.0586 9.85 0.0004 **<br />

Error 15 0.0893 0.0059<br />

Total 19 0.3238<br />

%C.V. = 6.52<br />

**<br />

= มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

9 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์หัวใจเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.0010 0.0002 0.23 0.9201 NS<br />

Error 15 0.0178 0.0011<br />

Total 19 0.0188<br />

%C.V. = 7.66<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

34


ตารางผนวกที่<br />

10 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์ไขมันของอวัยวะเครื่องในเทียบกับนํ<br />

้าหนักมีชีวิต<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.0140 0.0035 0.06 0.9930 NS<br />

Error 15 0.9006 0.0600<br />

Total 19 0.9147<br />

%C.V. = 27.07<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

11 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์ปี กเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.5627 0.1406 1.15 0.3694 NS<br />

Error 15 1.8276 0.1218<br />

Total 19 2.3903<br />

%C.V. = 4.28<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

12 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้อขาเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 2.7025 0.6756 2.83 0.0620 NS<br />

Error 15 3.5756 0.2383<br />

Total 19 6.2781<br />

%C.V. = 3.27<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

13 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์กระดูกขาเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.4496 0.1124 2.20 0.1186 NS<br />

Error 15 0.7672 0.0511<br />

Total 19 1.2168<br />

%C.V. = 4.33<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

35


ตารางผนวกที่<br />

14 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์กระดูกซี่โครงเทียบกับนํ<br />

้าหนักมีชีวิต<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 1.1106 0.2776 0.25 0.9060 NS<br />

Error 15 16.7447 1.1163<br />

Total 19 17.8553<br />

%C.V. = 5.97<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

15 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกรวมเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 4.9329 1.2332 1.51 0.2484 NS<br />

Error 15 12.2263 0.8150<br />

Total 19 17.1592<br />

%C.V. = 5.12<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

16 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกนอกเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 3.5949 0.8987 1.67 0.2096 NS<br />

Error 15 8.0853 0.5390<br />

Total 19 11.6802<br />

%C.V. = 5.15<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

17 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกในเทียบกับนํ ้าหนักมีชีวิต<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.1427 0.0356 0.66 0.6310 NS<br />

Error 15 0.8148 0.0543<br />

Total 19 0.9575<br />

%C.V. = 6.87<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

36


ตารางผนวกที่<br />

18 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.0603 0.0150 5.96 0.0045 **<br />

Error 15 0.0379 0.0025<br />

Total 19 0.0982<br />

%C.V. = 3.03<br />

**<br />

= มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

20 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์ปี กเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 2.5031 0.6257 2.44 0.0920 NS<br />

Error 15 3.8431 0.2562<br />

Total 19 6.3463<br />

%C.V. = 4.49<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

37


ตารางผนวกที่<br />

21 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้อขาเทียบนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 1.9506 0.4876 0.62 0.6523 NS<br />

Error 15 11.7151 0.7810<br />

Total 19 13.6658<br />

%C.V. = 4.28<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

22 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซนต์กระดูกขาเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 1.5082 0.3770 3.39 0.0363 *<br />

Error 15 1.6661 0.1110<br />

Total 19 3.1743<br />

%C.V. = 4.62<br />

*<br />

= มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P0.05)<br />

38


ตารางผนวกที่<br />

24 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกรวมเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 3.8923 0.9730 0.49 0.7413 NS<br />

Error 15 29.6223 1.9748<br />

Total 19 33.5146<br />

%C.V. = 5.77<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

25 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกนอกเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 3.2247 0.8061 0.60 0.6682 NS<br />

Error 15 20.1475 1.3431<br />

Total 19 23.3722<br />

%C.V. = 5.89<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

26 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เนื ้ออกในเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.1006 0.0251 0.23 0.9159 NS<br />

Error 15 1.6254 0.1083<br />

Total 19 1.7260<br />

%C.V. = 7.03<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

27 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์หนังเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 1.0625 0.2656 0.20 0.9333 NS<br />

Error 15 19.7186 1.3145<br />

Total 19 20.7811<br />

%C.V. = 15.30<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

39


ตารางผนวกที่<br />

28 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์เศษเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.2737 0.0684 1.48 0.2587 NS<br />

Error 15 0.6954 0.0463<br />

Total 19 0.9691<br />

%C.V. = 103.76<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

29 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของเปอร์เซ็นต์ไขมันช่องท้องเทียบกับนํ ้าหนักซากอุ่นตัดแต่ง<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 0.4507 0.1126 0.87 0.5044 NS<br />

Error 15 1.9424 0.1294<br />

Total 19 2.3931<br />

%C.V. = 20.83<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

30 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของสีหนัง<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 1.3000 0.3250 0.38 0.8175 NS<br />

Error 15 12.7343 0.8489<br />

Total 19 14.0343<br />

%C.V. = 30.33<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

ตารางผนวกที่<br />

31 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของสีไขมัน<br />

Source DF Sum of Squares MeanSquare F Value Pr > F<br />

Treat 4 1.3312 0.3328 0.61 0.6604 NS<br />

Error 15 8.1562 0.5437<br />

Total 19 9.4875<br />

%C.V. = 29.20<br />

NS = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

40

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!