27.06.2013 Views

Effects of Cocktail Enzyme Supplemented in the Diets on on Starter ...

Effects of Cocktail Enzyme Supplemented in the Diets on on Starter ...

Effects of Cocktail Enzyme Supplemented in the Diets on on Starter ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ผลของการเสริมเอนไซม์ชนิดรวม ในสุกรเล็กและรุ่น<br />

<str<strong>on</strong>g>Effects</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Cocktail</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Enzyme</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Supplemented</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Diets</str<strong>on</strong>g> <strong>on</strong> <strong>on</strong> <strong>Starter</strong>-Grower Pigs<br />

ค าน า<br />

อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ของประเทศไทยสร้างมูลค่าทางการค้ามหาศาล ในแต่ละปี ซึ่งต้นทุน<br />

ส่วนใหญ่ในการผลิตสัตว์เหล่านี้คือ<br />

อาหาร การน าสารอาหารไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท าให้สัตว์มี<br />

อัตราการแลกเนื้อต่าจะสามารถลดต้นทุนการเลี้ยงได้<br />

หากสัตว์ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนะอย่าง<br />

เหมาะสม สัตว์จะสามารถย่อยสายอาหารได้ในอัตราที่สูง<br />

(ชาติชายและคณะ , 2545) จึงได้มีการน า<br />

เอนไซม์ชนิดรวมประกอบด้วยเอนไซม์หลายชนิดรวมกันในสัดส่วนที่สมดุลต่อการย่อยอาหารของสุกร<br />

ไก่<br />

เป็ด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยอาหารของสัตว์โดยเฉพาะพวกธัญพืชที่สัตว์ไม่มีเอนไซม์ที่จะย่อยได้<br />

อย่างเพียงพอซึ่งเป็นตัวเร่งที่ท<br />

าหน้าที่เร่งปฎิกิริยาที่เกิดในสิ่งมีชีวิต<br />

(biocatalylic) เพื่อหวังเพิ่มคุณค่าทาง<br />

โภชนะของอาหารสัตว์ และเพิ่มกิจกรรมการย่อยสลายอาหารภายในตัวสัตว์<br />

เพื่อที่สัตว์จะได้สามารถดูด<br />

ซึมสารอาหารที่ได้จากการย่อยสลายมากขึ้น<br />

และน าไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่<br />

ท าให้สัตว์เลี้ยงโตเร็ว<br />

แข็งแรง อัตราการแลกเนื้อดีขึ้น<br />

ลดต้นทุนค่าอาหาร และประหยัดเวลาในการเลี้ยง<br />

การใช้เอนไซม์ชนิดรวม<br />

ในลูกสุกรจะช่วยลดปัญหาท้องเสียที่เกิดจากการหมักของอาหารที่ไม่ย่อยในล<br />

าไส้ ลูกสุกรไม่ทรุดหลังการ<br />

เปลี่ยนอาหารหรืออย่านม<br />

การเสริมเอนไซม์จึงเป็นการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายขององค์ประกอบ<br />

อาหารสัตว์ อย่างไรก็ตามการใช้เอนไซม์ที่เติมในอาหารสัตว์<br />

ยังต้องมีการเลือกใช้ให้เหมาะสม เพราะ<br />

บางตัวอาจท าให้เกิดอันตรายได้ การศึกษาในครั้งนี้จึงได้เอนไซม์ชนิดรวม<br />

ผสมในอาหารสัตว์แต่ละรุ่นใน<br />

อัตราส่วนที่แตกต่างกันเพื่อที่เหมาะสมแก่การย่อยในระบบทางเดินอาหารในสุ<br />

กรมาศึกษาทดลอง และ<br />

วิเคราะห์หาส่วนประกอบทางเคมีในอาหารสัตว์เพื่อเปรียบเทียบคุณค่าทางโภชนะในอาหารและสามารถ<br />

น าไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์ต่อไป<br />

วัตถุประสงค์<br />

1. เปรียบเทียบการ เสริมเอนไซม์ชนิดรวม ที่เป็นประโยชน์จากระบบทางเดินอาหารของ<br />

สุกรต่อ<br />

คุณค่าทางโภชนะของอาหาร<br />

2. ท าให้ทราบถึงการใช้สารเสริมเอนไซม์ชนิดรวม ที่เหมาะสมในสุกรแต่ละช่วงอายุ<br />

5


ตรวจเอกสาร<br />

ประวัติและความเป็นมา<br />

ในปัจจุบันประเทศไทยมีการเลี้ยงสุกรเพื่อทางการค้ามากยิ่งขึ้น<br />

เนื่องจากความต้องการบริโภคมี<br />

มากขึ้น<br />

ผู้ผลิตจึงมีการเร่งการผลิตให้เพีย<br />

งพอต่อความต้องการ ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกสินค้า<br />

เกษตรรายใหญ่ของโลก ซึ่งเกือบทั้งหมดมาจากเนื้อสัตว์และเช่นกันก็ได้มีการน<br />

าเข้าสินค้าที่เกี่ยวข้องกับ<br />

การปศุสัตว์ อันประกอบด้วยอาหาร เอนไซม์ สารเคมีในฟาร์ม ยาปฏิชีวนะ ถั่วเหลือง<br />

เป็นต้น และเมื่อ<br />

พิจารณาถึ งการน าเข้าและส่งออกของเนื้อสัตว์ของไทยมีแนวโน้มที่ว่าจะสูงขึ้น<br />

โดยในการผลิตสัตว์มี<br />

ต้นทุนที่ส<br />

าคัญคือ ค่าอาหารสัตว์นั้นเอง<br />

ดังนั้นการหวังที่จะใช้เอนไซม์ย่อยสลายผสมลงในอาหารสัตว์<br />

ท า<br />

ให้สัตว์สามารถใช้ประโยชน์จากอาหารสัตว์ได้สูง ย่อมเป็นการลดต้นทุนการผลิตข องเกษตรกร แต่<br />

เนื่องจากเอนไซม์นั้นมีให้เลือกใช้อยู่หลากหลาย<br />

จึงได้มีการคิดที่จะใช้ประโยชน์เอนไซม์ที่ได้<br />

เพื่อไป<br />

ประยุกต์ใช้ในอาหารสัตว์และหวังเพิ่มคุณค่าทางโภชนะในอาหารสัตว์<br />

โดยการคัดเลือกเอนไซม์ย่อยสลาย<br />

ที่มีคุณลักษณะที่เหมาะสม<br />

Sim<strong>on</strong> et al. (1990) และ Schner et al. (1992) อ้างโดยบุญล้อมและสุชน<br />

(2540) ได้ท าการทดลองเติมเอนไซม์ไฟเตสลงอาหารเลี้ยงไก่<br />

พบว่าสามารถเพิ่มปริมาณฟอสฟอรัสที่<br />

น าไปใช้ประโยชน์ได้ (available phosphorus) ซึ่งช่วยลดการเสริมแร่ธาตุฟอสฟอรัสให้กับไก่<br />

Limchare<strong>on</strong>porn et al. (1997) ได้ศึกษาการใช้เอนไซม์ไฟเตสต่อการเจริญของไก่เนื้อ<br />

โดยใช้<br />

เอนไซม์ที่ผลิตออกมาขายภายใต้ชื่อทางการค้าว่า<br />

Natuphos ท าการผสมเอนไซม์ตามคู่มือการใช้เพื่อให้ได้<br />

เอนไซม์ปริมาณ 120 กรัม/ตัน (600FTU/กก.อาหาร) พบว่าการเสริมเอนไซม์ไฟเตสช่วยเพิ่มอัตราการ<br />

เจริญเติบโต และช่วยเสริมสร้างการเติบโตของกลุ่มไก่ที่ได้รับฟอสฟอรัสที่น<br />

าไปใช้ประโยชน์ได้<br />

(phosphorus availability, aP) ในระดับ 60% ให้เติบโตได้เท่ากับกลุ่มที่ได้รับ<br />

aP ในระดับ 100%<br />

นอกจากนี้ยังพบว่าไม่มีผลเสียหายต่อการเจริญเติบโต<br />

ในระบบการเลี้ยงสุกรเป็นก<br />

ารค้าในปัจจุบันได้มีการน าเอนไซม์รวม (<str<strong>on</strong>g>Cocktail</str<strong>on</strong>g> enzyme) ที่เป็น<br />

เอนไซม์สังเคราะห์ผสมในสูตรอาหารเลี้ยงสุกรในระยะต่างๆ<br />

เช่น ระยะสุกรก่อนหย่านมและระยะหลังหย่า<br />

นม การเสริมเอนไซม์มีแนวโน้มท าให้อัตราการเจริญเติบโตต่อวันของสุกรสูงขึ้นกว่าสุกรที่ไม่ได้เสริม<br />

เอนไซม์ในอาหาร (อัมพร, 2539 และสมพร, 2540)<br />

เอนไซม์<br />

ปราณี (2543) เอนไซม์เป็นโปรตีนที่ช่วยเร่งและควบคุมปฏิกิริยาทางชีวเคมี<br />

(biocatalyst) ซึ่งมีอยู่<br />

ทั้งในพืชและสัตว์<br />

มีหน้าที่กระตุ้นการท<br />

างานของกระบวนการเคมีในร่างกายให้ท างานรวดเร็วขึ้น<br />

เอนไซม์<br />

มีความจ าเพาะกับสารที่จะท<br />

าปฏิกิริยาด้วยที่เรียกว่าซับสเตรทหรือสารที่มีความจ<br />

าเพาะเจาะจงในการจับคู่กับ<br />

เอนไซม์เฉพาะ (substratespecificity)โดยที่ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นนั้นไม่รุนแรง<br />

และสามารถควบคุมผลผลิต<br />

สุดท้ายที่เกิดขึ้น<br />

เอนไซม์จะเปลี่ยนสารตั้งต้นให้เป็นผลิตภัณฑ์ได้อย่างรวดเร็วขึ้นกว่า<br />

ที่จะเกิดเองตาม<br />

6


ธรรมชาติโดยปราศจากเอนไซม์ ท าให้สิ่งมีชีวิตสามารถใช้ประโยชน์จากปฏิกิริยาเคมีได้อย่างรวดเร็ว<br />

มี<br />

ประสิทธิภาพและท าให้สามารถด ารงชีวิตอยู่ได้<br />

เอนไซม์แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่<br />

คือ<br />

1. เอนไซม์ที่ช่วยในการเผาผลาญพลังงาน<br />

(metabolic enzyme) เป็นเอนไซม์ที่อยู่ในเลือด<br />

เนื้อเยื่อ<br />

อวัยวะต่างๆ เช่น ใน Kreb's cycle ซึ่งเป็นปฏิกิริยาเผาผลาญอาหารให้เป็นพลังงานในเซลล์ของมนุษย์<br />

ปฏิกิริยาเครปต้องอาศัยเอนไซม์หลายตัว กระตุ้นให้วงจรเคมีด<br />

าเนิน และเกิดเป็นพลังงานให้เซลล์ของ<br />

มนุษย์ ในเซลล์ร่างกายของมนุษย์ยังมีเอน ไซม์อีกบางจ าพวก ไว้สลายสารเสียที่เซลล์ไม่ต้องการ<br />

เช่น<br />

เอนไซม์ SOD ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ<br />

2. เอนไซม์ในอาหาร (food enzyme) เป็นเอนไซม์ที่มีอยู่ในอาหารสด<br />

ในเซลล์สัตว์และเซลล์พืช<br />

บรรจุอยู่ในไลโซโซม<br />

(lysosome) เมื่อถุงแตกออกก็จะย่อยสลายสารอาหารให้<br />

กลายเป็นโมเลกุลเล็กเพื่อดูด<br />

ซึมเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์และสัตว์ได้ง่ายขึ้น<br />

3. เอนไซม์ย่อยอาหาร (digestive enzyme) เป็นเอนไซม์ที่อยู่ในระบบทางเดินอาหารของคนและ<br />

สัตว์ หลั่งออกมาจากเยื่อเมือกบุกระเพาะล<br />

าไส้ ตับและตับอ่อน ท าหน้าที่ย่อยอาหารจากโมเลกุลใหญ่ให้<br />

เล็กลง ท าให้ถูกดูดซึมได้ เช่น เอนไซม์อะไมเลส มีหน้าที่ย่อยแป้งหรือคาร์โบไฮเดรตให้เป็นน้าตาล<br />

เป็น<br />

ต้นโดยที่การท<br />

างานของเอนไซม์จะขึ้นอยู่กับบริเวณ<br />

active site ว่ามีความจ าเพาะกับซับเสรทตัวใด<br />

ด้านโภชนาการเอนไซม์มีความส าคัญเกี่ยวกับกระบวนการย่อยอาหารซึ่ง<br />

เป็นปฏิกิริยาเคมี<br />

ต่อเนื่องกันอย่างเป็นล<br />

าดับ เพื่อสลายโมเลกุลของสารอาหารเป็นโมเลกุลเล็กและมีการสร้างและปล่อย<br />

พลังงานสารอาหารเหล่านั้นควบคู่ไปกับน<br />

าพลังงานที่ได้ไปสร้างสารพลังงานพร้อมกับสังเคราะห์<br />

องค์ประกอบต่างๆภายในเซลล์ เพื่อการเจริญเติบโตต่อไป<br />

(ปราณี, 2547)<br />

การผลิตเอนไซม์ราและแบคทีเรียหลายชนิดที่สังเคราะห์เอนไซม์และขับออกจากเซลล์มาอยู่ใน<br />

อาหาร ในทางอุตสาหกรรมสามารถเลี้ยงเชื้อราและแบคทีเรียให้สร้างเอนไซม์และท<br />

าให้เอนไซม์<br />

บริสุทธิ์ได้<br />

เช่น<br />

เอนไซม์อะไมเลส (amylase) ได้จาก Rhizopus delemar, Mucor rouxii, Aspergillus oryzae ใช้ย่อย<br />

แป้งให้เป็นเดกซ์ทรินและน้าตาล<br />

เพื่อการผลิตแอลกอฮอล์<br />

ใช้ในการท าให้ไวน์ เบียร์ และน้าผลไม้ใสขึ้น<br />

เอนไซม์เบต้า-กลูคาเนส (β-glucanase) ได้จาก Aspergillus niger, Bacilus amyloliquefaciens ใช้ใน<br />

การท าเบียร์และใช้ปรับปรุงข้าวมอลต์ที่ใช้ท<br />

าเบียร์ เบียร์ Hesselman และ Åman (1986) กล่าวว่า เอนไซม์<br />

เบต้า-กลูคาเนส เพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยผนังเซลล์<br />

ท าให้การดูดซึมแป้งและโปรตีนในล าไส้เล็กเป็นไป<br />

อย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้รายงานของ<br />

Campbell และ Bedford (1992) กล่าวว่าเบต้า-กลูคาเนสท าให้สามารถ<br />

ประสิทธิภาพการกินอาหารดีขึ้นทั้งยังลดปริมาณการกินน้าและมูลแห้ง<br />

เอนไซม์เซลลูเลส (cellulase) ได้จาก Aspergillus sp., Trichoderma reesei, T. viride, Penicillium sp.<br />

เป็นเอนไซม์ผสมประกอบด้วยเอนไซม์หลายชนิดรวมกัน ท าหน้าที่กระตุ้นหรือแตกสลายของเซลลูโลสซึ่ง<br />

เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ<br />

(ปราณี , 2547) ใช้ในกระบวนการผลิตผักและผลไม้ เพิ่ม<br />

ผลผลิตเนยแข็ง พัฒนาคุณภาพไอศกรีม<br />

7


เอนไซม์เฮมิเซลลูเลส (hemicellulase) ย่อยเฮมิเซลลูโลสที่เป็นส่วนประกอบในเซลล์พืช<br />

เอนไซม์เพกทิเนส (pect<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>ase) ได้จาก Aspergillus niger, Penicillium spp., Rhizopus spp. สามารถ<br />

ย่อยเพกทิน โปรโทเพกทิน กรดเพกติก กรดเพกทินิก (ปราณี, 2547)ใช้ในการท าให้น้าผลไม้ใส<br />

และย่อยเพ<br />

กทิน การแช่ต้นแฟลกซ์ เพื่อท<br />

าผ้าลินิน การท าน้ามันหรือการเพิ่มผลผลิตในการสักน้ามัน<br />

เอนไซม์โปรตีเอส (protease) เป็นเอนไซม์ที่ส<br />

าคัญชนิดหนึ่งในระบบย่อยอาหารสู่ร่างกาย<br />

ซึ่งมี<br />

หลายชนิด ได้จาก Bacillus subtilis และ A. oryzae ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องหนัง<br />

การท า กาว การท าให้เนื้อ<br />

นุ่ม<br />

ให้เครื่องดื่มใส<br />

(ปราณี, 2547)<br />

เอนไซม์ย่อยสลายในอาหารสัตว์<br />

ในยุคแรกของเอนไซม์นั้นไม่ได้มีจุดประสงค์ที่จะเอนไซม์ในอาหารสัตว์<br />

แต่เป็นการศึกษาเพื่อ<br />

จุดประสงค์อื่นมากกว่าการใช้ในอาหารสัตว์<br />

(Chess<strong>on</strong>, 1987) แต่หลังจากนั้นมีผู้ทดลองน<br />

าไปใช้ ในอาหาร<br />

สัตว์ และพบว่ามีความชัดเจนต่อพฤติกรรมและคุณภาพซากของสัตว์ จึงท าให้มีการผลิตเอนไซม์จ านวน<br />

มากเพื่อใช้ในทางการค้า<br />

แต่ปัญหาที่มักเกิดขึ้นนั่นคือส่วนใหญ่เอนไซม์มักจะต้องถูกน<br />

ามาใช้เข้าเป็นส่วน<br />

หนึ่งของสูตรอาหารใหม่อีกครั้ง<br />

แม้ว่าแหล่งที่มาของเอนไซม์จะเป็นแหล่งเดียวกัน<br />

แต่เมื่อเปลี่ยนชนิดของ<br />

สัตว์ และสูตรอาหาร การใช้ประโยชน์ และประสิทธิภาพของเอนไซม์ก็จะแตกต่างกันออกไป ดังนั้นการ<br />

พัฒนาสูตรอาหารจึงต้องด าเนินการไปควบคู่กับการทดลองใช้เอนไซม์เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ชัดเจน<br />

น าไปสู่<br />

การใช้เอนไซม์ที่กว้างขวางในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ต่อไป<br />

(สุทธิพันธุ์และคณะ,<br />

2548)<br />

สุทธิพันธุ์และคณะ<br />

(2548) ได้มีการศึกษาการประยุกต์ใช้เอนไซม์ย่อยสลายจุลินทรีย์สายพันธุ์ไทย<br />

ที่มีประสิทธิภาพสูงในอาหารสัตว์<br />

โดยใช้เอนไซม์ย่อยสลายที่ผลิตจากจุลินทรีย์<br />

Bacillus subtilis และ<br />

Pleurotus ostreatus โดยน ามาทดสอบในพืชอาหารสัตว์คือ กากถั่วหลืองและข้าวโพดบด<br />

โดยการผสมใน<br />

อัตราส่วน 1:1 ท าการทดลองโดยการผสมเชื้อก่อนการให้อาหารในไก่สายพันธุ์<br />

Hubboard พบว่าเมื่อน<br />

า<br />

เอนไซม์ทั้งสองตัวมาผสมกับอาหารท<br />

าให้มีค่ากิจกรรมที่สูงขึ้นกว่าเดิม<br />

และเมื่อน<br />

าไปทดลองใช้เลี้<br />

ยงใน<br />

สัตว์พบว่าสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากพืชอาหารสัตว์ได้อย่างมีนัยส<br />

าคัญทางสถิติ<br />

สารปรุงแต่งอาหารสัตว์<br />

คณะกรรมกา รกลุ่มผลิตชุดวิชาหลักโภชนศาสต<br />

ร์และอาหารสัตว์ (2546) กล่าวว่า สารปรุงแต่ง<br />

หมายถึง สารที่เพิ่มกลิ่นและรสของอาหาร<br />

เพิ่มสีในผลิตภัณฑ์<br />

ช่วยในการอัดเม็ดและป้องกันการเป็นก้อน<br />

ของอาหาร สารปรุงแต่งที่ส<br />

าคัญ ได้แก่ สารแต่งรสและกลิ่น<br />

สารสี สารช่วยอัดเม็ดและสารป้องกันการเป็น<br />

ก้อนของอาหาร สารในกลุ่มนี้ถึงแม้จะไม่มีส่วนช่วยในการเจริญเติบโตของสัตว์โดยตรงแต่อาจมีผลโดย<br />

อ้อม เช่น สารแต่งรสและกลิ่นที่เติมในอาหารมีผลท<br />

าให้สัตว์กินอาหารได้มากขึ้นสารสีช่วยให้หนังไก่เนื้อ<br />

มีสีเหลืองหรือท าให้ไข่แดงมีสีแดงเข้มข้น ซึ่งให้ผลในเชิงพาณิชย์<br />

สารในกลุ่มนี้อาจแบ่งเป็นชนิดต่างๆ<br />

ได้<br />

ดังนี้คือ<br />

8


1.สารแต่งรสและกลิ่น<br />

สารแต่งรส (sweetners) นิยมเสริมในอาหารลูกสุกรแรกเกิดและ อาหารลูก<br />

โค เพื่อช่วยเพิ่มความหวานเนื่องจากลูกสัตว์ชอบอาหารที่มีรสหวาน<br />

ได้มีการผลิตสารที่ให้ความหวานสูงมา<br />

จ าหน่ายโดยเฉพาะในกลุ่มซอร์บิทาน<br />

(sorbitan) เช่น sorbitan m<strong>on</strong>ostearate sorbitan tristearate และ<br />

sorbitan m<strong>on</strong>olaurate เป็นต้น รวมทั้งสารเด็กซ์เทรนส์<br />

(dextrans) สารเหล่านี้จะช่วยกระตุ้นให้ลูกสัตว์กิน<br />

อาหารได้มากขึ้น<br />

ส าหรับสารแต่งกลิ่น<br />

(flavour<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>g agents) มักจะเป็นสารสังเคราะห์เพื่อเลียนแบบกลิ่นนม<br />

และกลิ่นผลไม้ต่างๆ<br />

ตามที่ลูกสัตว์แต่ละชนิดชอบกิน<br />

กลิ่นที่นิยมใช้มากที่สุดคือกลิ่นนม<br />

เนื่องจากที่ลูก<br />

สัตว์ยังอยู่ในระยะที่กลิ่นนมจึงมักชอบกลิ่นดังกล่าว<br />

ชนิดของสารแต่งกลิ่นที่ใช้ในอาหารสามารถแบ่งตาม<br />

แหล่งที่มาได้ดังนี้<br />

คือ<br />

1.1สารสกัดจากธรรมชาติ (natural substances) คือ สารที่สกัดจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติโดยวิธีทาง<br />

กายโดยเฉพาะสกัดจากพืชพันธุ์ต่างๆ<br />

เช่น ผลไม้ เมล็ดพืช ต้นไม้ น้ามันพืช<br />

เป็นต้น<br />

1.2 สารสังเคราะห์ที่เลียนกลิ่นธรรมชาติ<br />

(nature-identical substances) คือ สารที่ได้จาก<br />

กระบวนการสังเคราะห์หรือแยกจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติโดยวีธีการทางเคมีท าให้ได้กลิ่นตามที่ต้องการ<br />

เช่น<br />

วานิลลา (vanilla) และซิทรัล (citral) เป็นต้น<br />

1.3 สารสังเคราะห์กลิ่นขึ้นใหม่<br />

(artificial substances) คือ สารที่ยังไม่ปรากฏพบในธรรมชาติ<br />

ผลิต<br />

ขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์เท่านั้น<br />

เช่น เอธิลวานิลลิน (ethylvanill<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>) และเอธิลเมธิลเฟนิลไกลซิเดท<br />

(ethy methy phenylglycidate) เป็นต้น<br />

2. สารสี (color<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>g agents) นั้นไม่มีคุณค่าทางอาหารใดๆ<br />

โดยปกติใส่เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ผลผลิตเช่น<br />

ท าให้ไข่แดงมีสีแดงขึ้น<br />

หรือ ท าให้หนังไก่มีสีเหลืองขึ้น<br />

เพื่อผลทางกา<br />

รตลาดหรือสนองความต้องการของ<br />

ผู้บริโภค<br />

สินค้าสารเหล่านี้มักอยู่ในกลุ่มแซนโธฟีลล์<br />

(xanthopryll) หรือ แคโรทีนอยด์ (carotenoids) สารสีที่<br />

ใช้ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์แบ่งได้เป็น<br />

2 กลุ่มใหญ่ๆ<br />

คือ<br />

2.1 สารสีที่ได้จากธรรมชาติ<br />

(natural pigments) ชนิดของสารสีจากธรรมช าติซึ่งอยุ่ในกลุ่มแคโรที<br />

นอยด์โดยมากจะมีสีเหลือง ส้ม และแดง ส่วนสารสีจากธรรมชาติที่น<br />

ามาใช้เลี้ยงสัตว์คือ<br />

สารสีเหลืองจาก<br />

ข้าวโพดและถั่วอัลฟัลลา<br />

สารสีเหลืองที่สกัดจากดอกดาวเรือง<br />

และสารสีแดงสกัดจากพริก (paprika)<br />

2.2 สารสีที่ได้จากการสังเคราะห์<br />

(syn<str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g>tic xanthophylls) คือ สารที่สังเคราะห์โดยกระบวนการ<br />

ทางเคมี ซึ่งแบ่งเป็นสามกลุ่มใหญ่<br />

คือ<br />

2.2.1 สารสีเหลือง (carophyll yellow) ใช้เสริมในอาหารไก่เนื้อและไก่ไข่<br />

เพื่อให้หนังไก่หรือไข่<br />

แดงมีสีเหลืองขึ้น<br />

2.2.2 สารสีแดง (carophyll red) สารเสริมในอาหารสัตว์ร่วมกับสารสีเหลืองเพื่อให้ไข่แดงมีสีเข้ม<br />

2.2.3 สารสีส้มอมแดงแอสตาแซนธิน (astaxanth<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> หรือ carophyll orange) มักใช้ใส่ในอาหารสัตว์<br />

น้า<br />

เช่น อาหารกุ้ง<br />

ปลาแซมมอน เพื่อว่าเมื่อท<br />

าให้สุกจะได้เปลือกกุ้งที่มีสีแดงเข้มและเนื้อปลาแซมมอนมีสี<br />

ส้มอมแดง<br />

9


สารสีต่างๆ เหล่านี้จะมีผลต่อคุณภาพซากสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์หรือไม่นั้น<br />

ขึ้นอยู่กับปัจจัย<br />

การใส่สารสีเพิ่มเติมในอาหารสัตว์จึงควรพิจารณาถึงปัจจัยต่อไปนี้<br />

1.ความต้องการของผู้บริโภค<br />

เช่น สีของหนังไก่กระทง ความเข้มของสีไข่แดง<br />

2.ตัวสัตว์ เช่น ชนิดของสัตว์ อายุของสัตว์ เพศของสัตว์ สุขภาพของสัตว์ ประสิทธิภาพในการ<br />

ดูดซึมสารสีของสัตว์<br />

3.สารสี เช่น ชนิดของสารสี รูปแบบของสารสี ระดับที่ใส่ในอาหาร<br />

ประสิทธิภาพของสารสี และ<br />

ความคงทนของสารสี<br />

4.ปัจจัยอื่นๆ<br />

เช่น ระยะเวลาการเลี้ยงสัตว์<br />

วัตถุประสงค์ของการใช้สารสี คุณภาพของอาหารสัตว์<br />

และปริมาณสารสีตามธรรมชาติในวัตถุดิบอาหารสัตว์<br />

3.สารช่วยอัดเม็ดและป้องกันการเป็นก้อนของอาหาร สารช่วยอัดเม็ด (b<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>der) คือ สารที่ใช้เสริมใน<br />

การผลิตอาหารเม็ด เพื่อช่วยในการอัดเม็ดได้ดีขึ้น<br />

และมีความคงทนของเม็ดอาหาร ตัวอย่างของสารอัดเม็ด<br />

ที่มักใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์คือ<br />

3.1 โซเดียมเบนโทไนท์ (sodium bemt<strong>on</strong>ite)<br />

3.2 เซลลูโลสที่ได้จากอุตสาหกรรมการผลิตเยื่อกระดาษ<br />

3.3 สารอนุพันธ์ของลิกนิน เช่น โซเดียมลิกโนซัลโพเนท (sodium lignosulf<strong>on</strong>ate)<br />

3.4 เศษเหลือจากกระบวนการอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร เช่น โปรตีนถั่วเขียว<br />

(mung bean gluten)<br />

3.5 โปรตีนข้าวสาลี (wheat gluten) และแป้งข้าวสาลี (wheat flour) และแป้งมันส าปะหลังดัดแปลง<br />

3.6 สารสังเคราะห์อื่นๆ<br />

เช่น สารอนุพันธ์ของฟอร์มาลดีไฮด์<br />

ปริมาณการใช้สารช่วยอัดเม็ดนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ใช้ในสูตร<br />

และความ<br />

ต้องการความคงทนของเม็ดอาหารว่าอยู่ที่ระดับใด<br />

โดยปกติสารช่วยอัดเม็ดเหล่านี้ไม่มีคุณค่าอาหาร<br />

ยกเว้น<br />

ในกรณีของโปรตีน ข้าวสาลี แป้งข้าวสาลี และโปรตีนถั่วเขียว<br />

ซึ่งโปรตีนข้าวขาวสาลีแป้งข้าวขาวสาบีมัก<br />

ใช้เติมในอาหารกุ้ง<br />

เนื่องด้วยมีคุณสมบัติพิเศษคือ<br />

มีความยืดหยุนเมื่อถูกน้าเหมือนฟองน้าท<br />

า ให้กุ้งสามารถ<br />

กินอาหารได้ง่ายและมากขึ้น<br />

อัตราการใช้สารเสริมเหล่านี้ในอาหารสัตว์ร้อยละ<br />

0.5 – 5<br />

สารป้องกันการเป็นก้อนของอาหาร ใช้เพื่อป้องกันการจับตัวของวัตถุดิบอาหารสัตว์และ<br />

/หรือเพื่อ<br />

ช่วยให้การไหลของวัตถุดิบ สารผสมล่วงหน้า และอาหารสัตว์ในรูปของอาหารผงได้ดี ขึ้น<br />

(free flow<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>g<br />

agents) ในบางครั้งใช้เพื่อเป็นสื่อในการท<br />

าหัววิตามิน และยาต่างๆ ด้วยตัวอย่างของสารในกลุ่มนี้มีทั้งสารที่<br />

ได้จากธรรมชาติ เช่น ชอล์ก (chalk) เคโอลิน (kaol<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>) ซีโอไลท์ (seolite) และซิลิกา (silica)<br />

อวัยวะในระบบย่อยอาหารของสัตว์<br />

คณะกรรม การกลุ่<br />

มผลิตชุดวิชาหลักโภชนศาสต ร์และอาหารสัตว์ (2546) กล่าวว่า ในระบบย่อย<br />

อาหารของสัตว์เลี้ยงชนิดต่างๆ<br />

จะแตกต่างกันออกไป ซึงมีผลต่อการย่อยและการดูดซึมอาหารและท าให้<br />

ธรรมชาติการกินอาหารของสัตว์แตกต่างกันออกไป สัตว์บางชนิดเป็นสัตว์กินเนื้อ<br />

(carnivores) สัตว์บาง<br />

10


ชนิดเป็นสัตว์กินพืช (herbivores) ขณะที่สัตว์บางชนิดกินทั้งเนื้อและพืช<br />

(omnivores) ทั้งนี้หากพิจารณาจาก<br />

กายวิภาคของระบบย่อยอาหารจะสามารถจ าแนกสัตว์เลี้ยงในฟาร์มออกได้<br />

สัตว์กระเพาะเดี่ยวส่วนใหญ่จะใช้ประโยชน์จากอาหารที่มีเยื่อใยสูงได้น้อยมาก<br />

อย่างไรก็ตามสัตว์<br />

กระเพาะเดี่ยวบางชนิด<br />

เช่น กระต่าย และม้าซึ่งเป็นสัตว์ที่มีกระบวนการหมักอาหารเยื่อใยสูง<br />

โดยจุลินทรีย์<br />

ในไส้ติ่งและล<br />

าไส้ใหญ่นั้นสามารถใช้ประโยชน์จากอาหารที่มีเยื่อใยสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

ดั้งนั้นจึงมัก<br />

ใช้อาหารเยื่อใยสูงส<br />

าหรับเลี้ยงม้าและกระต่าย<br />

แต่จะต้องใช้อาหา รที่มีเยื่อใยต่าเลี้ยงสุกรและสัตว์ปีก<br />

ตาม<br />

ลักษณะของทางเดินอาหาร คือ<br />

1.สัตว์กระเพาะเดี่ยวที่ไส้ติ่งไม่ท<br />

างาน (n<strong>on</strong>functi<strong>on</strong>al ceca) เช่น สุกร ปลา สุนัข<br />

2.สัตว์กระเพาะเดี่ยวที่ไส้ติ่งท<br />

างาน (functi<strong>on</strong>al ceca) เช่น ม้า กระต่าย<br />

3.สัตว์ปีก เช่น ไก่<br />

เหล่านี้ทุกชนิดมีโครงสร้างที่สมบูรณ์<br />

ทางเดินอาหารของสัตว์เหล่านี้จะมีจุลินทรีย์อยู่ไม่มากและ<br />

ย่อยอาหารที่เยื่อใยสูงไม่มาก<br />

ดังนั้นการเลี้ยงสัตว์เหล่านี้จึงต้องให้อาหารข้นที่ประกอบด้วยเมล็ดธัญพืช<br />

ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์<br />

ฯลฯ ซึ่งมีเยื่อใยต่าแทนที่จะเลี้ยงด้วยอาหารหยาบซึ่งมีเยื่อใยสูง<br />

ระบบทางเดินอาหารสุกร<br />

สุกรเป็นสัตว์กระเพาะเดี่ยว<br />

(simple n<strong>on</strong>rum<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>ant หรือ m<strong>on</strong>ogastrics) หมายถึงกระเพาะลักษณะ<br />

เป็นถุง ไม่มีการแบ่งพื้นที่กระเพาะเป็นห้องๆ<br />

และไม่ขึ้นอยู่กับจุลินทรีย์ในทุกๆส่วนของทางเดินอาหาร<br />

มี<br />

การย่อยโดยสัตว์เองจากการท าหน้าที่ของเอน<br />

ไซม์ที่หลั่งเข้าสู้ระบบทางเดินอาหาร<br />

ลักษณะของทางเดิน<br />

อาหารดังแสดงในภาพที่<br />

1<br />

ภาพที่<br />

1 แสดงระบบทางเดินอาหารสุกร (Herren R., 1998)<br />

11


ปากและต่อมน้าลาย<br />

สุกรมีช่องปากที่ยาวแตกต่างกันไปตามพันธุ์<br />

ริมฝีปากด้านบนสั้นและหนาม้วนโค้งไปจรดจมูก<br />

ส่วนริมฝีปากล่ างเล็กและชี้ตรง<br />

ลิ้นลักษณะยาวและแคบโดยช่องปากจะบุด้วยเนื้อเยื่อที่เรียกว่า<br />

เยื่อบุ<br />

ลักษณะเป็นเกล็ดที่เรียงเป็นชั้นๆ<br />

(stratified squamous epi<str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g>lium) น้าลายถูกหลั่งออกมาจากต่อมน้าลาย<br />

หลักๆ 3 ต่อม ได้แก่ ต่อมพาโรติด (parotid gland) ต่อมแมนดิบูลาร์ (mandibular gland หรือ submaxillary)<br />

และ ต่อมสับลิงกัวล์ (subl<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>gual gland)<br />

ฟันถาวรของสุกรประกอบด้วยฟันซี่หน้า<br />

(<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>cisor) จ านวน 3 คู่<br />

เขี้ยว<br />

(can<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>e) จ านวน 1 คู่<br />

ฟันหน้า<br />

ฟันกราม (premolar) จ านวน 4 คู่<br />

และฟันกราม (molar) จ านน 3 คู่<br />

ทั้งด้านบนและด้านล่างรวมกันเป็น<br />

ทั้งหมด<br />

44 ซี่<br />

สุกรแรกเกิดมีฟันครบทั้ง<br />

44 ซี่อยู่แล้ว<br />

แต่การพัฒนายังไม่สมบูรณ์ที่เห็นเด่นชัดเมื่อแรกเกิดคือ<br />

ฟันไม่ถาวร 8 ซี่<br />

รวมถึงเขี้ยว<br />

2 เขี้ยว<br />

ฟันจะพัฒนาสมบูรณ์เมื่ออายุอย่างต่า<br />

1½ ปี<br />

คอหอยและหลอดอาหาร<br />

หลอดอาหารมีลักษณะยาวแคบต่อเนื่องไปจนถึงกระดูกสันหลั<br />

งช่วงคอชิ้นที่สอง<br />

ส่วนคอหอยมี<br />

ลักษณะสั้นและตรงมีจุดก<br />

าเนิดมาจากกล้ามเนื้อหลอดคอส่วนท้าย<br />

ลักษณะเยื่อบุของหลอดอาหารเป็นเกร็ดที่<br />

เรียงเป็นชั้นๆ<br />

(stratified squamous epi<str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g>lium) ประกอบด้วยต่อมคัดหลั่งเมือกต่างๆ<br />

ซึ่งอยู่หนาแน่นมาก<br />

ในช่วงต่างๆ ขอคอหอยจนถึงระยะครึ่งหนึ่งของหลอดอาหาร<br />

ส่วนปลายจ านวนต่อมจะมีจ านวนลดลง จาก<br />

ส่วนของหลอดอาหารจนกระทั่งถึงทวารหนัก<br />

(rectum) การเปลี่ยนแปลงของอาหารที่กินเข้าไปเกิดขึ้นนอก<br />

หารควบคุมของจิตใจโดยสิ้นเชิง<br />

การหลั่งน้าลาย<br />

น้าลายมีหน้าที่ในการท<br />

าให้อาหารชื้น<br />

หล่อลื่นคอหอย<br />

และการเริ่มต้นของย่<br />

อยแป้ง โดยน้าลาย<br />

ประกอบด้วย น้า<br />

สารหล่อลื่น<br />

(mucus) และ อัลฟา อไมเลส (α-amylase)นอกจากนี้ยังมีไลโซไซม์<br />

(lysozyme) และ อิมมิวโนกอล์บบิวลิน เอ (Immunoglobul<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> A) ช่วยในการป้องกันโรคด้วยการควบคุมการ<br />

หลั่งน้าลายคงบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ<br />

ในส่วนอัลฟาอไมเลสที่หลั่งจากส่วนของน้าลายมีปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับอัลฟา<br />

อไมเลสที่หลั่งจาก<br />

ตับอ่อน จึงไม่มีบทบาทส าคัญมากนักในการย่อยแป้ง<br />

กระเพาะอาหาร<br />

แบ่งเป็น 5 ส่วนหลักๆคือ คาร์เดีย (cardia) ฟันดัส (fundus) บอดี้<br />

(body) แอนทรัม (antrum)<br />

และพัยลอรัส (pylorus) ต่อมที่ส<br />

าคัญในส่วนกระเพาะอาหารได้แก่ ต่อมแกสตริค (gastric gland) ซึ่งอยู่ใน<br />

ส่วนฟันดัส<br />

12


ล าไส้เล็ก<br />

ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ ล าไส้เล็กส่วนต้น (duodedum) ล าไส้เล็กส่วนกลาง (jejunum) และล าไส้<br />

เล็กส่วนปลาย (ileum) เมื่อสุกรโตเต็มที่แล้วล<br />

าไส้เล็กยาวประมาณ 16-21 เมตร แบ่งออกเป็น ล า ไส้เล็กส่วน<br />

ต้น 4-5 % ล าไส้เล็กส่วนกลาง 88-91% และล าไส้เล็กส่วนปลาย 4-5% โดยขนาดของล าไส้เล็กสุกรเกิดใหม่<br />

เพียงแค่ 2-4 เมตรเท่านั้น<br />

ตับอ่อน<br />

ตับอ่อนมีขนาดเล็ก มีลักษณะเป็นต่อมสีเทาชมพูประกอบด้วยท่อหยาบๆ เชื่อมต่อกับล<br />

าไส้เล็กส่วน<br />

ต้น และกระเพาะ ประกอบด้วย เซลล์เป็นพวง เรียกว่าเซล์อาซินาร์ (ac<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>ar cell) ท าหน้าที่หลั่งซัยโมเจนและ<br />

เอนไซม์หลายชนิดส่งเข้าสู่ท่อตับอ่อนในรูปของเหลวที่มีปริมาณเพียงเล็กน้อย<br />

ล าไส้ใหญ่<br />

สุกรมีลักษณะของซีคัม (caecum) ที่มีลักษณะสั้น<br />

ขณะที่มีโคลอน<br />

(col<strong>on</strong>) ที่ยาว<br />

โคลอน<br />

ประกอบด้วย 3 ส่วนจากส่ วนล าไส้เล็กส่วนปลายจนกระทั่งถึงล<br />

าไส้ตรง ได้แก่ ล าไส้ใหญ่ส่วนขึ้น<br />

(ascend<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>g col<strong>on</strong>) ล าไส้ใหญ่ส่วนขวาง (transverse col<strong>on</strong>) ล าไส้ใหญ่ส่วนลง (descend<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>g col<strong>on</strong>) ส าหรับ<br />

ส่วนช่องทวารหนัก (anus) ไม่มีเซลล์ส าหรับสร้างสารเยื่อเมือก<br />

ส่วนประกอบของอาหารส าหรับสุกร<br />

ไชยา (2533) และภาสกร (2527) กล่าวว่าการที่สุกรจะเจริญเติบโตได้ดี<br />

มีความแข็งแรงจ าเป็น<br />

จะต้องได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อความต้องการ<br />

โดยทั่วไปแล้วอาหารที่ใช้เลี้ยงสุกรจะต้องประกอบด้วย<br />

สารอาหารทั้ง<br />

6 ประเภท ดังนี้<br />

1. โปรตีน เป็นสารประกอบที่ส<br />

าคัญต่อการเลี้ยงสัตว์ทุกชนิด<br />

ประกอบด้วยกรดอะมิโนชนิดต่างๆ<br />

เป็นสารอาหารที่ช่วยในการสร้างเนื้อเยื่อที่จ<br />

าเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย และช่วยในการสร้างและ<br />

ซ่อมแซมรักษาส่วนต่างๆของร่างกาย โปรตีนเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่ซับซ้อน<br />

ที่มีธาตุไนโตรเจนเป็น<br />

องค์ประกอบส าคัญ นอกเหนือจากธาตุคาร์บอน ออกซิเจน และไฮโดรเจน ไก่ต้องการโปรตีนส าหรับไป<br />

สร้างส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น เนื้อ<br />

หนัง ไข่ อวัยวะต่างๆ และฮอร์โมน เมื่อไก่กินโปรตีนเข้าไปก็จะ<br />

ถูกย่อยเป็นกรดอะมิโนต่างๆ ซึ่งกรดอะมิโนเหล่านี้จะรวมเป็นโปรตีนในร่างกาย<br />

ซึ่งมีทั้งกรดอะมิ<br />

โนที่<br />

จ าเป็นและกรดอะมิโนที่ไม่จ<br />

าเป็น แต่กรดอะมิโนหลายชนิดร่างกายก็ไม่สามารถสร้างขึ้นได้<br />

จึงจ าเป็นต้อง<br />

มีการได้รับอยู่เสมอ<br />

ถ้าได้รับในปริมาณที่ไม่เพียงพอ<br />

จะท าให้ไก่โตช้า ร่างกายอ่อนแอและเป็นโรคได้ง่าย<br />

2. คาร์โบไฮเดรต เป็นสารอาหารจ าเป็นพวกแป้งและน้าตาล<br />

มีหน้าที่ให้พลังงาน<br />

ให้ความอบอุ่น<br />

และช่วยให้ไก่อ้วน คาร์โบไฮเดรตเป็นแหล่งในการให้พลังงานแก่ร่างกาย เพื่อน<br />

าไปใช้ในการท างานต่างๆ<br />

13


ของอวัยวะ เพื่อการด<br />

ารงชีพ การเจริญเติบโต และการให้ผลผลิต แหล่งคาร์โบไฮเดรตส่วนใหญ่ได้มาจาก<br />

พืช<br />

3. น้า<br />

เป็นส่วนประกอบที่ส<br />

าคัญของร่างกาย ร่างกายไก่มีน้าเป็นส่วนประกอบประมาณ<br />

60 – 70%<br />

น้ามีหน้าที่ส<br />

าคัญต่อร่างกาย เช่น ช่วยในการย่อย การดูดซึม การรักษาระดับความร้อนปกติในร่างกาย<br />

และช่วยในการขับถ่ายของเสียออกนอกร่างกาย<br />

4. ไขมัน เป็นแหล่งให้พลังงานแก่ร่างกายเช่นเดียวกัน กับคาร์โบไฮเดรต แต่ให้พลังงานมากกว่า<br />

2.5 เท่า และยังให้กรดไขมันบางชนิดที่จ<br />

าเป็นต่อร่างกาย ให้ความอบอุ่น<br />

ท าให้อ้วนและช่วยเพิ่มความน่า<br />

กินของอาหาร ส่วนมากจะได้จากไขมันสัตว์และน้ามันพืช<br />

5. วิตามิน จ าเป็นต่อการเจริญเติบโตและการด ารงชีวิตของไก่ ช่วยสร้า งความแข็งแรงและความ<br />

กระปรี้กระเปร่าแก่ร่างกาย<br />

สร้างความต้านทานโรค และบ ารุงประสาทแต่ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย<br />

แต่ขาดไม่ได้เพื่อให้ปฎิกิริยาต่างๆด<br />

าเนินไปได้ด้วยดี<br />

6. แร่ธาตุ ช่วยในการสร้างโครงกระดูก สร้างความเจริญเติบโต สร้างเลือด สร้างเปลือกไข่และ<br />

อื่นๆ<br />

ร่างกายสัตว์มีแร่ธาตุเป็นส่วนประกอบอยู่ประมาณ<br />

3% ของน้าหนักตัว<br />

แร่ธาตุที่ส<br />

าคัญได้แก่ แค<br />

ลเซี่ยมและฟอสฟอรัส<br />

แมกนีเซียม โซเดียม คลอรีน เหล็ก ก ามะถัน ไอโอดีน ทองแดง โดบอลต์<br />

แมงกานีส และสังกะสี<br />

ในการผลิตสุกรเล็กและรุ่น<br />

โดยอาหารที่ใช้เลี้ยงนั้น<br />

ประกอบด้วยวัตถุดิบอาหารสัตว์ หลายอย่าง<br />

ทั้งได้จากวัตถุดิบแหล่งพลังงานจากพืช<br />

วัตถุดิบอาหารสัตว์แหล่งพลังงานจากน้ามันพืชและไขมันที่ได้จาก<br />

สัตว์ วัตถุดิบอาหารสัตว์แหล่งโปรตีนจากพืช วัตถุดิบอาหารสัตว์แหล่งโปรตีนจากกรดอะมิโนสังเคราะห์<br />

และวัตถุดิบอาหารสัตว์แหล่งแร่ธาตุ ซึ่งสูตรอาหารที่ใช้เลี้ยงสุกรแต่ระยะจะแตกต่างกัน<br />

วัตถุดิบแหล่งพลังงานจากธัญพืช (จรัส, 2548)<br />

ปลายข้าว เป็นวัตถุดิบอาหารพลังงานที่ดี<br />

หาได้ง่าย ประกอบด้วยแป้งที่ย่อยง่ายมีโปรตีนเฉลี่ย<br />

8<br />

เปอร์เซ็นต์ มีโภชนะที่ย่อยได้ทั้งหมด<br />

(TDN) ประมาณ 92.4 เปอร์เซ็นต์ หรือมีพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้<br />

(ME) ประมาณ 3,500 – 3,700 กิโลแคลอรี/กิโลกรัม<br />

ข้าวโพด มีโปรตีนเฉลี่ย<br />

8.9 เปอร์เซ็นต์ ประกอบด้วยโปรตีนคุณภาพค่อนข้างต่าที่เรียกว่า<br />

เซอีน<br />

(Ze<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>) ซึ่งมีกรดอะมิโนเมทไธโอนีนสูง<br />

(ท าให้ข้าวโพดเป็นวัตถุดิบแหล่งพลัง งานที่มีเมทไธโอนีนสูง<br />

) แต่<br />

ขาดกรดอะมิโนไลซีนและทริปโตเฟน (ได้มีการใช้ข้าวโพดสายพันธุ์ที่มีไลซีนสูงขึ้น<br />

โดยประกอบด้วย<br />

เซอีนน้อยลง เช่น สายพันธุ์<br />

Opaque – 2 และ Floury – 2 เป็นต้น) เป็นแหล่งที่ดีจองกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว<br />

กรดไขมันลิโนเลอิค มีโภชนะที่ย่อยได้ทั้งหม<br />

ด (TDN) ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ หรือมีพลังงานที่ใช้<br />

ประโยชน์ได้ (ME) ประมาณ 3,300 กิโลแคลอรี/กรัม ข้างโพดเหลือง (Yellow corn) เป็นแหล้งของเม็ดสีแค<br />

โรมีน (Carotene) และแซนโทฟิลล์ (Xanthophyll) อย่างไรก็ตามข้าวโพดเมล็ดที่มีความชื้น<br />

จะเกิดเชื้อรา<br />

Aspergillus spp. ได้ง่าย เช่น Aspergillus flavus จะผลิตสารพิษอะฟลาทอกซินท าลายเนื้อเยื่อตับ<br />

การคลุก<br />

14


เมล็ดข้าวโพดด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) หรือ ฟอร์มาลดีไฮด์ (Foemaldehyde) หรือ โซเดียมไฮดร<br />

อกไซด์ (Sodium Hydroxide) ที่<br />

pH 9.5 อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที จะท าลายสารพิษอะฟ<br />

ลาทอกซินได้<br />

ร าละเอียด มีโปรตีนประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์ มีไขมัน 12 – 13 เปอร์เซ็นต์ มีโภชนะที่ย่อยได้ทั้งหมด<br />

ประมาณ 86 เปอร์เซ็นต์ หรือมีพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้<br />

(ME) ประมาณ 2,000 – 3,000 กิโลแคลอรี/กรัม<br />

ร าสกัดน้ามัน<br />

ได้จากการน าเอาร าละเอียดไปสกัดเอาไขมันออกโดยวิธีการทางเคมี ร าสกัดน้ามันจึง<br />

มีไขมันน้อยมากประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ ท าให้สามารถเก็บได้นานขึ้นอีกทั้งตัดปัญหาเรื่องสารพิษจากยาฆ่า<br />

แมลงด้วย มีโปรตีนไม่ต่ากว่า<br />

14.5 เปอร์เซ็นต์ จึงสามารถใช้ทดแทนร าละเอียดได้เป็นอย่างดี แต่จะต้องระวัง<br />

เรื่องระดับพลั<br />

งงานของอาหารที่ผสมด้วยร<br />

าสกัดน้ามันมีโภชนะที่ย่อยได้ทั้งหมด<br />

(TDN) ประมาณ 61<br />

เปอร์เซ็นต์ หรือมีพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้<br />

(ME) ประมาณ 2,200 กิโลแคลอรี /กรัม มีเยื่อใยเป็น<br />

ส่วนประกอบสูงถึง 13 - 15 เปอร์เซ็นต์จึงมีลักษณะฟ่ามมีผลท าให้อาหารมีลักษณะฟ่ามตามไปด้วย ร าเ ป็น<br />

แหล่งที่ดีของแร่ธาตุฟอสฟอรัส<br />

เป็นแหล่งที่ดีของวิตามินรวม<br />

เช่น ไทอะมีน , ไนอะซีน และโคลีน<br />

นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติเป็นยาระบายอ่อนๆ<br />

(Laxative) เนื่องจากมีเยื่อใยสูง<br />

วัตถุดิบอาหารสัตว์แหล่งพลังงานจากน้ามันพืชและไขมันที่ได้จากสัตว์<br />

น้ามันหมู<br />

เป็นน้ามันที่ได้<br />

จากไขมันสุกร (Lard) และไขมันที่แทรกปะปนอยู่ในอวัยวะต่าง<br />

ๆ มี<br />

โคเลสเตอรอล (Cholesterol) และกรดไขมันส่วนใหญ่เป็นกรดไขมันอิ่มตัว<br />

ลักษณะทางโภชนาการของน้ามันและไขมันสัตว์<br />

1.เป็นวัตถุดิบที่มีพลังงานสูงกว่าวัตถุดิบคาร์โบไฮเดรต<br />

2. เป็นวัตถุดิบที่ช่วยท<br />

าให้ระดับพลังงานที่ใช้ประโยชน์<br />

(ME) ของสูตรอาหารนั้นสูงขึ้นจนเพียงพอ<br />

แก่ความต้องการของสัตว์ และยังช่วยลดการเป็นฝุ่นของอาหารให้น้อยลง<br />

สัตว์จะกินได้มากขึ้น<br />

3. ท าให้การอัดเม็ดง่ายขึ้น<br />

และมีกลิ่นหอมชวนกินและยังมีกรดไขมันที่จ<br />

าเป็นอีกด้วย<br />

4. สุกรที่กินอาหารที่มีไขมันระดับสูง<br />

จะมีไขมันในซากสูงและเป็นไขมันชนิดเดียวกับไขมันใน<br />

อาหาร อาจเป็นพวกที่ท<br />

าให้เกิดมันแข็ง (Hard fat) ในซากสัตว์<br />

วัตถุดิบอาหารสัตว์แหล่งโปรตีนจากพืช<br />

ถั่วเหลืองอบไขมันเต็ม<br />

(Full Fat Soybean) หรือเมล็ดถั่วเหลืองเอ็กซ์ทรูด<br />

(extruded soybean) ได้<br />

จากการท าถั่วเหลืองดิบให้สุกด้วยเครื่องเอ็กซ์ทรูดเดอร์<br />

โดยไม่มีการสกัดเอาไขมันออก ถั่วเหลืองชนิดนี้จะมี<br />

คุณค่าทางอาหารสัตว์สูงเป็นทั้งแหล่งโปรตีนและพลังงานโดยมีโปรตีนประมาณ<br />

39.1 เปอร์เซ็นต์ และมี<br />

ไขมันสูงถึง 20.1 เปอร์เซ็นต์ มีสาร tryps<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>hibitor และเอนไซม์ยูรีเอสเหลืออยู่น้อยมาก<br />

กากถั่วเหลือง<br />

จะมีเปอร์เซ็นต์โปรตีนมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับขบวนการเอาน้ามันออกมา<br />

เช่น ถ้าใช้<br />

การบีบหรืออัด (Hydraulic press หรือ Expeller) จะได้กากถั่วเหลืองอัดน้ามันมีโปรตีนประมาณ<br />

42<br />

15


เปอร์เซ็นต์ มีไขมัน 4 – 5 เปอร์เซ็นต์ ถ้าใช้การกสัดน้ามันด้วยสารเคมี<br />

(Solvent extracti<strong>on</strong>) จะได้กากถั่ว<br />

เหลืองสกัดน้ามันมีโปรตีนประมาณ<br />

45 เปอร์เซ็นต์ มีไขมัน 1 - 2 เปอร์เซ็นต์ มีแคลเซียม ฟอสฟอรัสต่า<br />

เป็นวัตถุดิบแหล่งอาหารเสริมโปรตีนจากพืชที่ดีที่สุด<br />

มีกรดอะมิโนเกือบทุกตัว แต่มีกรดอะมิโน<br />

เมทไธโอนีนต่า<br />

(เมื่อเปรียบเทียบกับปริม<br />

าณกรดออะมิโนชนิดอื่นๆ<br />

) จึงควรประกอบสูตรอาหารร่วมกับ<br />

ข้าวโพด กากถั่วเหลืองมีสารที่เรียกว่า<br />

จีนิสเตอีน หรือ เอสโตรเจนของพืช (Geniste<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> หรือ Estrogen) ช่วย<br />

ในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของสัตว์<br />

วัตถุดิบอาหารสัตว์แหล่งโปรตีนจากกรดอะมิโนสังเคราะห์<br />

กรดอะมิโนแอล -ไลซีน เป็น First-limit<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>g am<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>o acid ในอาหารสุกรท าให้สัตว์ได้รับ limit<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>g<br />

am<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>o acids ครบตามความต้องการ ทั้งยังเป็นการลดปริมาณโปรตีนรวมในสูตรอาหาร<br />

เพื่อไม่ให้เกิด<br />

ปริมาณมากเกินพอ (Excess) ของกรดอะมิโนบางตัว และหลีกเลี่ยงการเกิดผิดปกติในทางเดินอาหาร<br />

โดยเฉพาะลูก สุกรที่ได้รับโปรตีนรวมมากเกินพอ<br />

นอกจากนี้การใช้ประโยชน์ของพลังงานดีขึ้น<br />

และลด<br />

ปัญหาการขับถ่ายไนโตรเจนที่เกินพอ<br />

ลดปัญหาที่กระทบต่อสภาพแวดล้อม<br />

วัตถุดิบอาหารสัตว์แหล่งแร่ธาตุ<br />

โมโนไดแคลเซียมฟอสเฟต (M<strong>on</strong>odicalciumphosphate : MDCP) เป็นแหล่งเสริมฟอสฟอรัสที่นิยม<br />

ใช้กันมากในอาหารสัตว์โดยโมโนไดแคลเซียมฟอสเฟตผลิตจากการท าปฏิกิริยาเคมีระหว่างกรดฟอสฟอริค<br />

กับเกลือแคลเซียมชนิดต่างๆ เช่น เกลือออกไซด์ , เกลือไฮดรอกไซด์และเกลือคาร์บอเนต ผลผลิตที่ได้เป็น<br />

ฟอสเฟตที่ผสมกันระหว่างโมโนแคลเซียมฟอสเฟตและไดแคลเซียมฟอสเฟตในสัดส่วนประมาณ<br />

3:1 ซึ่งโม<br />

โนไดแคลเซียมฟอสเฟตมีปริมาณของฟอสฟอรัส 21 เปอร์เซ็นต์ แคลเซียม 17 เปอร์เซ็นต์ ในปัจจุบัน<br />

ประเทศไทยได้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตโมโนไดแคลเซียมฟอสเฟตโดยใช้แหล่งของเกลือแคลเซียมที่<br />

ต่างกัน(นฤมลและคณะ, 2546)<br />

เกลือ (salt , NaCl) เป็นวัตถุดิบอาหารที่ให้ธาตุโซเดียมและคลอรีน<br />

ซึ่งจ<br />

าเป็นต่อการด ารงชีพและ<br />

การเจริญเติบโต การเติมเกลือแกงลงในสูตรอาหารควรระวังถึงวัตถุดิบอาหารสัตว์บางชนิด เช่น ปลาป่น<br />

แกลบกุ้ง<br />

ซึ่งมักจะมีเกลือปนมาแล้วในระดับสูง<br />

จึงควรลดเกลือแกงให้น้อยลงในสูตรอาหาร สุกรสามารถ<br />

ใช้เกลือไม่เกิน 0.35 เปอร์เซ็นต์ของสูตรอาหาร สามารถใช้เกลือผสมไอโอดีนเลี้ยงสัตว์ได้(สีกุน,<br />

2547)<br />

พรีมิกซ์ (premix) หรือหัวไวตามินและแร่ธาตุ เนื่องจากสุกรมีความต้องการไวตามินและแร่ธาตุ<br />

ชนิดต่าง ๆ ในจ านวนเพียงเล็กน้อย แต่มีความส าคัญต่อการเจริญเติบโตจึงไม่สะดวกในการที่จะน<br />

ามา ผสม<br />

กับอาหารผสม แต่ปัจจุบันได้มีผู้ผลิตและจ<br />

าหน่ายตามท้องตลาด ซึ่งมีทั้งไวตามินและแร่ธาตุ<br />

เรียกรวมกัน<br />

ว่า พรีมิกซ์ (premix) แต่จากการที่น<br />

าแร่ธาตุและไวตามินมาผสมรวมกัน ท าให้ไวตามินบางชนิดมี การ<br />

เสื่อมสลายไปบางส่วน<br />

ฉะนั้นพรีมิกซ์จึงไม่สามารถเก็บไว้ได้นาน<br />

นอกจากนี้<br />

พรีมิกซ์จะถูกท าลายได้ง่าย<br />

16


ด้วยความร้อน ความชื้นและแสงสว่าง<br />

การอัดเม็ดอาหารก็เป็นอีกขบวนการหนึ่งที่ท<br />

าให้พรีมิกซ์เสื่อมสลาย<br />

ฉะนั้นควรเติมพรีมิกซ์ให้สูงขึ้นอีก<br />

10-15 เปอร์เซ็นต์ในสูตรอาหาร(สีกุน, 2547)<br />

การวิเคราะห์ส่วนประกอบทางเคมีในอาหารสัตว์<br />

พานิช (2535) กล่าวว่า อาหารสัตว์โดยทั่วไปจะประกอบด้วยน้าและวัตถุแห้ง<br />

ในส่วนของวัตถุ<br />

แห้งนั้นก็อาจจะประกอบด้วยอินทรีย์สารและอนินทรีย์สาร<br />

ซึ่งอินทรีย์สารยังแยกออกเป็นพวก<br />

คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน และวิตามิน ดังนั้นการวิเคราะห์หาส่วนประกอบทางเคมีของอา<br />

หารก็เพื่อ<br />

จะทราบว่าอาหารนั้นประกอบด้วยส่วนของโภชนะ<br />

หรือสารอาหารชนิดใดบ้าง เป็นจ านวนมากน้อยเท่าใด<br />

ดังนั้นการประเมินคุณค่าทางอาหารสัตว์จึงหมายถึง<br />

การตรวจสอบหรือวัดคุณค่าของโภชนะที่มีอยู่ใน<br />

อาหาร ซึ่งสัตว์นั้นสามารถน<br />

าไปใช้ประโยชน์ ซึ่งการวิเคราะห์หาส่<br />

วนประกอบทางเคมีในอาหารนั้น<br />

สามารถตรวจสอบได้หลายวิธี วิธีหนึ่งคือการวิเคราะห์ทางเคมีซึ่งเป็นวิธีที่นิยมกันโดยทั่วไป<br />

คือวิธีที่<br />

เรียกว่า การวิเคราะห์ได้โดยประมาณ (proximate analysis)<br />

วิธีวิเคราะห์แบบ Proximate analysis นิยมท ากันทั่วไปในห้องปฏิบัติการอาหารสัตว์ทุกแห่ง<br />

คิดค้นในประเทศเยอรมันนีโดยเฮนเนแบร็กและซโตมันน์ ในปี คศ .1862 โดยเรียกชื่อวิธีวิเคราะห์นี้ว่า<br />

Weende analysis ต่อมาสหรัฐอเมริกาได้น ามาปรับปรุง และท าให้เป็นที่รู้จัก<br />

กันอย่างแพร่หลายในชื่อว่า<br />

Proximate analysis ซึ่งหมายถึงค่าที่วิเคราะห์ได้โดยประมาณ<br />

การวิเคราะห์วิธีนี้แบ่งโภชนะออกเป็นกลุ่ม<br />

ใหญ่ๆ 6 กลุ่ม<br />

คือ ความชื้น<br />

(moisture), เถ้า (ash), โปรตีนรวม (crude prote<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> or CP), ไขมัน (e<str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g>r extract<br />

or EE), เยื่อใย<br />

(crude fiber or CF) และคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยได้ง่าย<br />

(Nitrogen free extract or NFE) โดยมี<br />

หลักการและวิธีการปฎิบัติดังนี้<br />

1. การวิเคราะห์ความชื้น<br />

(moisture) ท าโดยน าตัวอย่างอาหารใส่ในถ้วยอบที่ทราบน้าหนักแล้ว<br />

บันทึกน้าหนักถ้วยและตัวอย่างอาหารแล้วน<br />

าไปอบในตู้อบที่อุณหภูมิประมาณ<br />

102-105 องศาเซลเซียส จน<br />

น้าหนักคงที่<br />

ชั่งน้าหนักอีกครั้ง<br />

น ามาหักลบกับน้าหนักเมื่อเริ่มต้น<br />

น้าหนักที่หายไปคือ<br />

น้าหนักน้าหรือ<br />

ความชื้น<br />

ซึ่งสามารถน<br />

ามาค านวณหาปริมาณวัตถุแห้งได้โดยใช้สูตร<br />

% วัตถุแห้ง (DM) = 100 - % ความชื้น<br />

% ความชื้น<br />

= 100 - % วัตถุแห้ง (DM)<br />

ในการวิเคราะห์ดังกล่าว น้าหนักที่หายไปอาจไม่ใช่ความชื้นทั้งหมด<br />

แต่อาจมีสารที่ระเหยได้ง่าย<br />

เช่น กรด<br />

ไขมันระเหยได้ หรือแอมโมเนียปนอยู่ด้วย<br />

อย่างไรก็ดีพบว่าอาหารโดยทั่วไปมีสารเหล่านี้อยู่น้อย<br />

ยกเว้นบาง<br />

ชนิด เช่น พืชหมัก ฟางหมักด้วยยูเรีย หรือของเหลวจากกระเพาะหมัก เป็นต้น นอกจากนี้ตัวอย่างบางชนิดที่<br />

มีน้าตาลสูงอาจเกิดปฏิกิริยาระหว่างน้าตาลกับโปรตีนได้สารสีน้าตาล<br />

ซึ่งท<br />

าให้คุณค่าทางอาหารลดลง<br />

เพราะสัตว์ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ ในกรณีเช่นนี้ควรเลี่ยงไปหาความชื้นโดยวิธีอื่น<br />

เช่น<br />

1.1 อบในตู้อบสุญญากาศ<br />

(vacuum oven) น้าจะกลายเป็นไอที่อุณหภูมิต่า<br />

100 องศาเซลเซียส ท า<br />

ให้สารอื่นไม่ระเหยไปด้วย<br />

ค่าที่ได้จึงถูกต้องมากกว่า<br />

17


่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

1.2 ท าให้แห้งโดยวิธีแช่แข็ง (freeze dry<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>g) วิธีนี้ได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย<br />

ๆ เพราะได้ค่าที<br />

ถูกต้อง แต่เนื่องจากต้องใช้เครื่องมือที่มีราคาแพ<br />

ง จึงนิยมใช้เฉพาะในการวิจัยที่ต้องการความถูกต้องสูง<br />

หลักของวิธีการนี้ก็คือ<br />

ตัวอย่างจะถูกท าให้เย็นจนเป็นน้าแข็ง<br />

(freeze) แล้วน้าแข็งจะถูกท<br />

าให้เปลี่ยนสถานะ<br />

ให้กลายเป็นไอโดยการระเหิด สารระเหยได้อื่น<br />

ๆ ที่อยู่ในตัวอย่างจะไม่ระเหยไปด้วย<br />

น้าหนักที่หายไปจึง<br />

เป็นน้าหนักของน้าอย่างแท้จริง<br />

นอกจากวิธีการดังกล่าวยังป้องกันการออกซิเดชันซึ่งมักเกิดขึ้นเนื่องจากการ<br />

ท าแห้งโดยใช้ความร้อนสูงด้วย<br />

1.3 อบที่อุณหภูมิไม่เกิน<br />

70 องศาเซลเซียส ท าให้น้าถูกระเหยไปอย่างช้า<br />

ๆ อุณหภูมิต่าสามารถลด<br />

การระเหยของสารบางชนิดที่ระเหยได้<br />

และช่วยป้อง<br />

ห้องปฏิบัติการทั่วไป<br />

เพราะไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษ<br />

กันการเกิดสารสีน้าตาลได้<br />

วิธีนี้นิยมท<br />

าใน<br />

2. การวิเคราะห์เถ้า (ash) หรือแร่ธาตุ (m<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>eral) ท าโดยน าตัวอย่างอาหารใส่ในถ้วยทนไฟ<br />

(muffle furnace) ที่ทราบน้าหนักแล้ว<br />

บันทึกน้าหนักถ้วยพร้อมตัวอย่าง<br />

น าไปเผาใน เตาเผาที่อุณหภูมิสูง<br />

ประมาณ 550-600 องศาเซลเซียส จนตัวอย่างกลายเป็นเถ้าหรือประมาณ 2-3 ชั่วโมงรอให้น้าหนักคงที<br />

ทิ้ง<br />

ไว้ให้เย็นชั่งน้าหนักอีกครั้ง<br />

ส่วนของอินทรียสารจะสลายตัวไปถูกเผาไหม้กลายเป็นแก๊ส ส่วนที่เหลือคืออ<br />

นินทรียสารหรือเถ้า ซึ่งมีแร่ธาตุเป็นองค์ประกอบอยู<br />

3. การวิเคราะห์โปรตีนรวม (crude prote<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>) ซึ่งเป็นโปรตีนรวมหรือโปรตีนหยาบ<br />

การหาโดย<br />

วิธีการ Kjeldahl ท าโดยวิเคราะห์ปริมาณไนโตรเจน โดยชั่งตัวอย่างอาหารน<br />

ามาย่อยย่อยด้วยกรดซัลฟิวริก<br />

เข้มข้นในสภาพที่มีความร้อนและสารเร่งปฏิกิริยา<br />

จนกระทั่งได้สารละลา<br />

ยใส ส่วนของอินทรียวัตถุจะ<br />

สลายตัวไป สารประกอบไนโตรเจนทั้งที่เป็นส่วนของโปรตีนแท้และไม่ใช่โปรตีน<br />

(ยกเว้นที่อยู่ในรูปของ<br />

ไนเทรตและไนไทรต์ ) จะถูกเปลี่ยนให้เป็นเกลือแอมโมเนียมซัลเฟต<br />

หลังจากทิ้งไว้ให้เย็นแล้วเติม<br />

สารละลายด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่มีความเข้มข้น<br />

30 เปอร์เซ็นต์ลงไป แล้วท าการกลั่นเพื่อที่แอมโมเนีย<br />

จะถูกไล่ออกมา ท าการจับไนโตรเจนในรูปของแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ด้วยกรดบอริกที่มีความเข้มข้น<br />

2-4<br />

เปอร์เซ็นต์ แล้วน าไปไตเตรทกับกรดเกลือมาตรฐานที่มีความเข้มข้น<br />

0.1 นอร์มอล จะสามารถค านวณหา<br />

ความเข้มข้นของไนโตรเจนได้ เนื องจากโปรตีนมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบโดยเฉลี่ย<br />

ดังนั้นจึงค<br />

านวณหาค่าโปรตีนรวมได้โดย<br />

16 เปอร์เซ็นต์<br />

% โปรตีนรวม (CP) = % ไนโตรเจน x 6.25<br />

เช่น ปลาป่นมีไนโตรเจน 9.24%<br />

ดังนั้นมีโปรตีนรวม<br />

= 9.24 x 6.25 = 57.75%<br />

วิธีวิเคราะห์โปรตีนรวมเรียกว่า วิธีคเจลดาล (kjeldahl method) ค่าโปรตีนที่ได้นี้รวมส่วนของโปรตีนแท้<br />

และสารประกอบไนโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีน<br />

เช่น ยูเรีย ด้วย<br />

4.การหาไขมันหรืออีเทอร์เอ็กซ์แทรก (e<str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g>r extract) สามารถกระท าได้โดยอีเทอร์<br />

18


เป็นตัวสกัดไขมันออกจากอาหาร เมื่อเราระเหยอีเทอร์ออกไปหมดแล้ว<br />

ส่วนที่เ<br />

หลืออยู่ก็จะเป็นไขมันซึ่ง<br />

ประกอบด้วยสารหลายๆอย่าง เช่น ไขมัน ขี้ผึ้ง<br />

คลอโรฟิลล์ เรซิน สีบางชนิดและน้ามันระเหยง่ายบาง<br />

ประเภท<br />

5. หาเยื่อใยในอาหาร<br />

(crude fiber) การวิเคราะห์หาเยื่อใยในอาหารสามารถกระท<br />

าได้<br />

โดยการต้มตัวอย่างกับกรดก ามะถันที่เข้มข้น<br />

1.25% เป็นเวลานาน 30 นาที เสร็จแล้วจึงกรอง ต่อมาก็น า<br />

กากนั้นไปต้มกับด่าง<br />

NaOH เช้มข้น 1.25% เป็นเวลาอีก 30 นาที่<br />

น ากากที่เหลือไปเผาที่อุณหภูมิ<br />

500 –<br />

600 องศาเซลเซียส ส่วนที่เหลือคือเยื่อใยหยาบ<br />

ซึ่งประกอบด้วยเฮมิเซลลูโลส<br />

(hemicellulose) เซลลูโลส<br />

(cellulose) และลิกนิน (lign<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>)<br />

6. การหาไนโตรเจนฟรีแอกซ์แทรก (nitrogen-free extract, NFE) เป็นส่วนที่บ่งบอกถึงปริมาณ<br />

คาร์โบไฮเดรตที่รวมแป้งและน้าตาลสามารถกระท<br />

าได้โดยการน าเอา %ความชื้น<br />

%เถ้า %โปรตีนรวม %<br />

ไขมัน และ%เยื่อใย<br />

ไปลบออกจาก 100 นั่นก็คือ<br />

% NFE = 100 – (% Moisture + % Ash + % CP + %EE+ % CF)<br />

การหาค่าโภชนะอื่นๆ<br />

เช่น การหาพลังงานในอาหาร การวิเคราะห์หาพลังงานในอาหาร อาหารที่<br />

สัตว์กินเข้าไปส่วนใหญ่จะใช้เพื่อเป็นแหล่งพลังงานที่ร่างกายน<br />

าไปใช้ประโยชน์ การวิเคราะห์ หาพลังงาน<br />

อาศัยวิธีการบอมบ์แคลอริเมทรี (bomb calorimeter) การหาปริมาณแร่ธาตุ การวิเคราะห์หาปริมาณแร่<br />

ธาตุ แร่ธาตุที่นิยมท<br />

าการวิเคราะห์ในอาหาร คือ แคลเซียมและฟอสฟอรัส ในบางครั้งอาจวิเคราะห์หา<br />

ปริมาณโซเดียม โพแตสเซียมและแมกนีเซียมด้วย ในกรณีที่<br />

ต้องการทราบปริมาณแร่ธาตุหลายชนิดมัก<br />

นิยมวิเคราะห์โดยวิธี Atomic Absorti<strong>on</strong> Spectroscopy<br />

19


อุปกรณ์และวิธีการทดลอง<br />

1. วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง(มูล)<br />

1.1 เกียงเก็บมูล/อาหาร<br />

1.2 ถุงพลาสติก, ยางรัด<br />

1.3 ตาชั่งดิจิตอล<br />

1.4 ตาชั่งเล็ก<br />

(ชั่งในครัวเรือน)<br />

1.5 ตาชั่งน้าหนัก<br />

1.6 กรงเม็ทตาโบลิซึม แบบปรับขนาดด้านข้าง<br />

1.7 อุปกรณ์ตักอาหาร<br />

1.8 ถาดส าหรับอบตัวอย่าง (อลูมิเนียม/พลาสติกทนร้อน)<br />

1.9 ผ้าตาข่ายสีน้าเงิน<br />

หรือ ผ้าขาว<br />

1.10 สมุดปากกาส าหรับจดบันทึกผล Lab<br />

1.11 กระดาษ lebel<br />

1.12 ปากกาเคมีส าหรับ lebel ถุง หรืออื่นๆ<br />

1.13 ถังใส่อาหารประจ ากรงเม็ทตาโบลิซึม<br />

2.อาหารทดลอง<br />

2.1 สูตรอาหารสุกรเล็ก (แสดงไว้ในตารางที่<br />

1)<br />

2.2 สูตรอาหารสุกรรุ่น<br />

(แสดงไว้ในตารางที่<br />

2)<br />

2.3 สูตรเอนไซม์ชนิดรวม (แสดงไว้ในตารางที่<br />

3)<br />

20


่ ตารางที 1 แสดงสูตรอาหารสุกรเล็ก<br />

รหัส ชื่อวัตถุดิบ<br />

จ านวน %วัตถุแห้ง %ในสูตร ราคาต่อกก. มูลค่า<br />

1 ปลายข้าว 475.00 46.9832 46.9832 9.80 4,655.00<br />

13 น้ามันหมู<br />

18.00 1.7804 1.7804 25.00 450.00<br />

20 ร าละเอียด 120.00 11.8694 11.8694 9.80 1,176.00<br />

30 กากถั่วเหลือง<br />

44% 270.00 26.7062 26.7062 13.40 3,618.00<br />

32 ถั่วอบไขมันเต็ม<br />

70.00 6.9238 6.9238 16.00 1,120.00<br />

50 แอล-ไลซีน 2.00 0.1978 0.1978 60.00 120.00<br />

60 โมโนไดแคลเซี่ยมฟอสเฟตP2<br />

25.00 2.4728 2.4728 17.00 425.00<br />

63 แคลเซี่ยม<br />

คาร์บอเนต 16.00 1.5826 1.5826 1.00 16.00<br />

70 เกลือ 2.50 0.2473 0.2473 2.50 6.25<br />

71 Premix 2.50 0.2473 0.2473 0.00 0.00<br />

74 DSP 30 10.00 0.9891 0.9891 35.00 350.00<br />

รวม 1011.00 100.00 100 11,936.25<br />

21<br />

ราคาต่อกก. 11.81 บาท


่ ตารางที 2 แสดงสูตรอาหารสุกรรุ่น<br />

รหัส ชื่อวัตถุดิบ<br />

จ านวน %วัตถุแห้ง %ในสูตร ราคาต่อกก. มูลค่า<br />

1 ปลายข้าว 500 50.02 50.02 9.8 4,900.00<br />

2 ข้าวโพด 70 7.0028 7.0028 8.5 595<br />

13 น้ามันหมู<br />

16 1.6006 1.6006 25 400<br />

20 ร าละเอียด 60 6.0024 6.0024 9.8 588<br />

30 กากถั่วเหลือง<br />

44% 300 30.012 30.012 13.4 4,020<br />

50 แอล-ไลซีน 1.6 0.1601 0.1601 60 96<br />

60 โมโนไดแคลเซี่ยมฟอสเฟตP2<br />

25 2.501 2.501 17 425<br />

63 แคลเซี่ยม<br />

คาร์บอเนต 15 1.5006 1.5006 1 15<br />

70 เกลือ 2.5 0.2501 0.2501 2.5 6.25<br />

71 Premix 2.5 0.2501 0.2501 0 0<br />

74 DSP 30 7 0.7003 0.7003 35 245<br />

รวม 999.6 100 100 11,290.25<br />

ตารางที่<br />

3 แสดงสูตรเอนไซม์ชนิดรวม<br />

ล าดับ ชื่อเอนไซม์<br />

1 เอนไซม์อะไมเลส (amylase)<br />

2 เอนไซม์เบต้า-กลูคาเนส (β-glucanase)<br />

3 เอนไซม์เซลลูเลส (cellulase)<br />

4 เอนไซม์เฮมิเซลลูเลส (hemicellulase)<br />

5 เอนไซม์เพกทิเนส (pect<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>ase)<br />

6 เอนไซม์โปรตีเอส (protease)<br />

7 สารปรุงแต่งอาหารสัตว์<br />

22<br />

ราคาต่อกก. 11.29 บาท


วิธีการทดลอง<br />

1. แผนการทดลอง<br />

การทดลองใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์<br />

(Completely Randomized Design; CRD) ซึ่งหน่วย<br />

ทดลองคือกลุ่มสุกร<br />

โดยใช้สุกรในการทดลองทั้งหมด<br />

14 ตัว โดยแบ่งสุกรออกเป็น 2 กลุ่ม<br />

กลุ่มละ<br />

7 ตัว<br />

โดยอาหารที่ใช้เลี้ยงจะเป็นอาหารผงทั้งหมด<br />

โดยจะแบ่งออกเป็น 2 ตัวอย่าง คือ ตัวอย่างที่<br />

1 ใช้อาหารผงที่<br />

ไม่เสริมเอนไซม์ชนิดรวม ตัวอย่างที่<br />

2 ใช้อาหารผงใช้เสริมเอนไซม์ชนิดรวม โดยใช้อาหารทั้ง<br />

2 ตัวอย่างนี้<br />

เลี้ยงสุกรแต่ละกลุ่ม<br />

คือ สุกรกลุ่มที่<br />

A กินอาหารผงที่ไม่เสริมเอนไซม์ชนิดรวม<br />

(กลุ่มควบคุม)<br />

สุกรกลุ่มที่<br />

B<br />

กินอาหารผงที่เสริมเอนไซม์ชนิดรวม<br />

เพื่อเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตต่อวันของสุกรในช่วงระยะสุกร<br />

เล็ก-รุ่น<br />

ท าการเปรียบเทียบปริมาณมูลสดและ อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นผลผลิต<br />

ในกลุ่มทดลอง<br />

2 กลุ่ม<br />

โดยแต่ละกลุ่มมีจ<br />

านวนสุกรทดลอง 7 ตัว ซึ่งในการเปรียบน้าหนักมูลสดต่อสัปดาห์<br />

โดยมีจ านวน 7 วัน หรือ<br />

จ านวนซ้า<br />

ส่วนการเปรียบเทียบค่า FCR และ ค่า ADG ในสุกรระยะเล็กมี 6 สัปดาห์ หรือ 6 ซ้า<br />

และส าหรับ<br />

ค่า FCR และ ค่า ADG ในสุกรรุ่นจะมีเพียง<br />

2 ครั้งหรือ<br />

2 ซ้า<br />

กลุ่มที่<br />

A สุกรกลุ่มที่ใช้อาหารผงไม่เสริมเอนไซม์ชนิดรวม<br />

(กลุ่มควบคุม)<br />

กลุ่มที่<br />

B สุกรกลุ่มที่ใช้อาหารผงที่เสริมเอนไซม์ชนิดรวม<br />

2.วิธีการ<br />

น าเอนไซม์ชนิดรวม มาผสมกับอาหารสัตว์ในอัตราการใช้ ดังนี้<br />

สุกรเล็ก (5-30 กก.) ใช้ 1.0 กก.<br />

ต่ออาหารสัตว์ 1 ตัน สุกรรุ่น<br />

ใช้ 500 กรัม ต่ออาหารสัตว์ 1 ตัน ในการทดลองนั้นจะใช้สุกรทั้งหมด<br />

14 ตัว<br />

โดยเพศผู้<br />

8 ตัว เพศเมีย 6 ตัว จากนั้นแบ่งออกเป็น<br />

2 กลุ่ม<br />

โดยแบ่งเพศผู้และเพศเมียออก<br />

เป็นกลุ่มๆละ<br />

เท่าๆกัน ในการทดลองนั้นมีอยู่<br />

2 ช่วงอายุ คือ ช่วงที่<br />

1 คือ สุกรเล็ก, ช่วงที่<br />

2 คือ สุกรรุ่น,<br />

ในการทดลองนี้<br />

จะ<br />

ทดสอบของค่าน้าหนักมูลสด<br />

ค่า FCR และค่า ADG ของสุกร โดยมีการเก็บตัวอย่างของมูลสดของสุกร แต่<br />

ละช่วงอายุ จากนั้นท<br />

าการชั่งน้าหนักมูลสดของสุกร<br />

และท าการจดบันทึกข้อมูล โดยสุกรเล็ก เก็บตัวอย่าง<br />

มูลสดแบ่งออกเป็น 3 ครั้ง<br />

คือเก็บ สัปดาห์ที่<br />

2,4 และ 6 ช่วงสุกรรุ่นเก็บตัวอย่างมูลสัปดาห์ที่<br />

9 เก็บ 1 ครั้ง<br />

ตั้งแต่วันเริ่มการทดลอง<br />

โดยสัปดาห์ที่เก็บตัวอย่าง<br />

นั้น<br />

จะเก็บทั้งเช้าและเย็นและน<br />

าไปชั่งน้าหนักเพื่อให้ได้<br />

น้าหนักมูลสด<br />

และบันทึกน้าหนักมูลสดของแต่ละช่วงอายุ<br />

ส่วนในการวัดค่า FCR และค่า ADG นั้น<br />

ซึ่งใน<br />

การทดลองในช่วงระยะสุกรเล็กนั้นจะมีระยะเวลาในการทดลองทั้งหมด<br />

6 สัปดาห์ โดยมีการชั่งน้าหนักทั้ง<br />

6 สัปดาห์ และท าการจดบันทึกน้าหนักของแต่ละสัปดาห์<br />

ส่วนในช่วงระยะสุกรรุ่นจะมีการทดลองในระยะ<br />

นี้ทั้งหมด<br />

5 สัปดาห์ ซึ่งมีการชั่งน้าหนักแค่<br />

2 ครั้ง<br />

และก็ท าการจดบันทึกน้าหนักสุกรรุ่นของแต่ละสัปดาห์<br />

ส่วนข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์สถิตินั้น<br />

จะใช้ข้อมูลของค่าน้าหนักมูลสด<br />

ค่า FCR และค่า ADG ที่ได้ท<br />

าการจด<br />

บันทึกของแต่ละสัปดาห์ที่ไห้ท<br />

าการทดลองในแต่ละระยะนั้น<br />

มารวมกัน และการหาค่าเฉลี่ย<br />

ซึ่งจะกล่าวใน<br />

แต่ละระยะดังนี้<br />

23


ในระยะสุกรเล็ก ในส่วนของค่าน้าหนักมูลสดนั้นมีการเก็บตัวอย่างของน้าหนักมูลสดนั้น<br />

3 สัปดาห์<br />

โดยท าการวิเคราะห์ทางสถิติในแต่ละสัปดาห์ก่อนและก็ท าการวิเคราะห์รวมทั้ง<br />

3 สัปดาห์ โดยมีสัปดาห์ที่<br />

2,4 และ 6 ตามล าดับ โดยการวิเคราะห์ในสัปดาห์นั้น<br />

จะใช้ข้อมูลของจ านวนวันในแต่ละสัปดาห์ที่ได้ท<br />

าการ<br />

จดบันทึกนั้นมารวมกัน<br />

และท าการหาค่าเฉลี่ยต่อสัปดาห์<br />

ส่วนการวิเคราะห์น้าหนักมูลสดในระยะสุกรเล็ก<br />

นั้นจะใช้ค่าน้าหนักมูลสดทั้ง<br />

3 สัปดาห์มารวมกันและก็ท าการหาค่าเฉลี่ยในระยะสุกรเล็ก<br />

ในส่วนของค่า<br />

FCR และค่า ADG ในระยะสุกรเล็กนั้นจะใช้ค่าเฉลี่ยในแต่ละสัปดาห์มารวมกันซึ่งมีทั้งหมด<br />

6 สัปดาห์ และ<br />

ก็ท าการหาค่าเฉลี่ยในระยะสุกรเล็ก<br />

และก็ใช้วิเคราะห์ทางสถิติ<br />

ส่วนในระยะสุกรรุ่นนั้น<br />

ซึ่งมีการเก็บตัวอย่างมูลสดเพียง<br />

1 ครั้ง<br />

ก็คือเก็บตัวอย่างในช่วงกลางระยะ<br />

สุกรรุ่น<br />

เก็บเพียง 1 สัปดาห์ ซึ่งข้อมูลของน้าหนักมูลสดที่ใช้วิเคราะห์ทางสถิตินั้น<br />

จะใช้ข้อมูลของน้าหนัก<br />

มูลสดที่ได้ท<br />

าการจดบันทึก ซึ่งมีทั้งหมด<br />

7 วัน โดยเอาค่าน้าหนักมูลสดที่ได้ของแต่ละวัน<br />

มารวมกัน และก็<br />

ท าการหารค่าเฉลี่ยและก็ใช้ค่าเหล่านี้ท<br />

าการวิเคราะห์ทางสถิติ ส่วนค่า FCR และ ค่า ADG ในระยะสุกรรุ่น<br />

นั้น<br />

ค่า FCR และ ค่า ADG มีเพียง 2 ครั้ง<br />

ซึ่งจะน<br />

า ค่า FCR และ ค่า ADG แต่ละครั้งมารวมกัน<br />

และท าการ<br />

หาค่าเฉลี่ย<br />

จากนั้นท<br />

าการวิเคราะห์ทางสถิติ<br />

้<br />

่ ่<br />

่<br />

3.การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ<br />

น าข้อมูลที่ได้จากการวิ<br />

เคราะห์ ค่า น้าหนักมูลสด<br />

ค่า FCR และค่า ADG มาวิเคราะห์หาความ<br />

แปรปรวนทางสถิติ (analysis <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> variance) ทดสอบความแปรปรวน (anova) โดยใช้ PROC GLM และ<br />

เปรียบเทียบความแตกต่างกลุ่มทดลองด้วยวิธี<br />

Duncan’s New Multiple Range Test โดยใช้โปรแกรม<br />

ส าเร็จรูป SAS (1985) โดยมี model ดังนี<br />

Y ij = + αi + ij เมื่อ<br />

i = 1, 2,3,…,14<br />

j = 1, 2,…,7<br />

Y ij = ค่าของข้อมูลจากหน่วยทดลองที j ที่ได้รับทรีทเมนต์ที<br />

i<br />

= ค่าเฉลี่ยทั้งหมด<br />

αi = อิทธิพลของทรีทเมนต์ i<br />

ij = ความคาดเคลื่อนของการทดลอง<br />

เมื่อใช้ทรีทเมนต์<br />

i และหน่วย<br />

ทดลองที j<br />

t = จ านวนทรีทเมนต์<br />

r = จ านวนซ้า<br />

(replicati<strong>on</strong>)<br />

24


4.สถานที่ท<br />

าการทดลอง<br />

4.1 ท าการศึกษาที่ฟาร์มเลี้ยงสัตว์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

5.ระยะเวลาการทดลอง<br />

เริ่มต้นท<br />

าการทดลองเลี้ยงสุกรเมื่อวันที่<br />

29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ท าการเก็บตัวอย่างอาหารและเก็บ<br />

ตัวอย่างมูล เพื่อท<br />

าการวิเคราะห์หาส่วนประกอบทางเคมีในอาหารทดลอง วันที่สิ้นสุดการทดลองวันที่<br />

19<br />

ธันวาคม 2553 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น<br />

113 วัน<br />

25


ผลการทดลองและวิจารณ์<br />

ผลการวิเคราะห์การเสริมเอนไซม์ชนิดรวมต่อน้าหนักมูลสด<br />

ค่า FCR และค่า ADG ของสุกรเล็ก<br />

จากค่าการวิเคราะห์ในตารางที่<br />

4 พบว่าการเสริมเอนไซม์และไม่มีการเสริมเอนไซม์ในอาหารไม่มี<br />

อิทธิพลต่อน้าหนักมูลสด<br />

ค่า FCR และค่า ADG ในสุกรเล็ก<br />

ตารางที่<br />

4 เปรียบเทียบผลของการใส่เอนไซม์ชนิดรวมและไม่ใส่เอนไซม์ชนิดรวมในสูตรอาหารที่มีผลต่อสุกร<br />

เล็ก<br />

ส่วนประกอบ ไม่มีการเสริมเอนไซม์ชนิดรวม มีการเสริมเอนไซม์ชนิดรวม ระดับนัยส าคัญทางสถิติ<br />

น้าหนักมูล<br />

1.52 1.57 0.6792<br />

FCR 1.77 1.9 0.5159<br />

ADG 0.73 0.69 0.8123<br />

ผลการเปรียบระหว่างการเสริมเอนไซม์ในอาหารและไม่มีการเสริมเอนไซม์ในอาหาร ในสุกรระยะ<br />

เล็ก ดั้งได้แสดงไว้ในตารางที่<br />

4<br />

ค่าน้าหนักมูล<br />

ที่ได้จากการวิเคราะห์ตารางที่<br />

4 พบว่ากลุ่มที่มี<br />

การเสริมเอนไซม์ชนิดรวมมีค่า<br />

น้าหนักมูลสดของสุกรเล็ก<br />

โดยมีค่า สูงสุดคือกลุ่มที่เสริมเอนไซม์ชนิดรวม<br />

มีค่าเฉลี่ย<br />

15.8 รองลงมาคือ<br />

กลุ่มควบคุม<br />

เป็นกลุ่มที่ไม่เสริมเอนไซม์<br />

มีค่าเฉลี่ย<br />

1.52 ตามล าดับ จากการหาค่าทางสถิติพบว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P>0.05)<br />

ค่า FCR ที่ได้จากการวิเคราะห์<br />

พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P>0.05) โดย<br />

มีค่าเฉลี่ยของกลุ่มควบคุม<br />

เป็นกลุ่มที่ไม่มีการเสริมเอนไซม์ในอาหารสุกร<br />

คือค่าเฉลี่ย<br />

1.77 ซึ่งกลุ่มควบคุม<br />

มีค่า FCR ต่ามากที่สุด<br />

ตามด้วยกลุ่มที่เสริมเอนไซม์ในอาหาร<br />

คือค่าเฉลี่ย<br />

1.9 ไม่แตกต่างกัน<br />

ค่า ADG ที่ได้จากการวิเคราะห์<br />

พบว่ากลุ่มควบคุมมีค่าสูงที่สุด<br />

โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ<br />

0.73 รองลงมา<br />

คือกลุ่มที่เสริมเอนไซม์<br />

คือมีค่าเฉลี่ย<br />

0.69 พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P>0.05)<br />

26


ผลการวิเคราะห์การเสริมเอนไซม์ชนิดรวมต่อน้าหนักมูลสด<br />

ค่า FCR และค่า ADG ของสุกรรุ่น<br />

จากค่าการวิเคราะห์ในตารางที่<br />

5 พบว่าการเสริมเอนไซม์และไม่มีการเสริมเอนไซม์ ไม่มีอิทธิพล<br />

ต่อน้าหนักมูลสด<br />

ค่า FCR และค่า ADG อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ<br />

ตารางที่<br />

5 เปรียบเทียบผลของการใส่เอนไซม์ชนิดรวมและไม่ใส่เอนไซม์ชนิดรวมในสูตรอาหารที่มีผลต่อ<br />

สุกรรุ่น<br />

ส่วนประกอบ ไม่มีการใส่เอนไซม์ชนิดรวม มีการใส่เอนไซม์ชนิดรวม ระดับนัยส าคัญทางสถิติ<br />

น้าหนักมูล<br />

0.47 0.5 0.4521<br />

FCR 2.4 2.48 0.8975<br />

ADG 0.8 0.83 0.7327<br />

ผลการเปรียบระหว่างการเสริมเอนไซม์ในอาหารและไม่มีการเสริมเอนไซม์ในอาหารในสุกรระยะ<br />

รุ่น<br />

ดั้งได้แสดงไว้ในตารางที่<br />

5<br />

ค่าน้าหนักมูลสด<br />

ที่ได้จากการวิเคราะห์ตารางที่<br />

5 พบว่ากลุ่มที่มีการเสริมเอนไซม์ชนิดรวมไม่มีผล<br />

ต่อน้าหนักมูลสดของสุกรรุ่น<br />

โดยมีค่าสูงสุดคือกลุ่มที่เสริมเอนไซม์ชนิดรวม<br />

มีค่าเฉลี่ย<br />

0.5 รองลงมาคือ<br />

กลุ่มควบคุม<br />

เป็นกลุ่มที่ไม่เสริมเอนไซม์<br />

มีค่าเฉลี่ย<br />

0.47 ตามล าดับ จากการหาค่าทางสถิติพบว่าไม่มีความ<br />

แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P>0.05)<br />

ค่า FCR ที่ได้จากการวิเคราะห์<br />

พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P>0.05) โดย<br />

มีค่าเฉลี่ยของกลุ่มควบคุม<br />

เป็นกลุ่มที่ไม่มีการเสริมเอนไซม์ในอาหารสุกร<br />

คือมีค่าเฉลี่ย<br />

2.4 ซึ่งกลุ่มควบคุม<br />

มีค่า FCR ต่ามากที่สุด<br />

ตามด้วยกลุ่มที่เสริมเอนไซม์ในอาหาร<br />

คือมีค่าเฉลี่ย<br />

2.48 ไม่แตกต่างกัน<br />

ค่า ADG ที่ได้จากการวิเคราะห์<br />

พบว่า กลุ่มที่เสริมเอนไซม์<br />

มีค่าสูงที่สุด<br />

โดยมีค่าเฉลี่ย<br />

เท่ากับ 0.83<br />

รองลงมาคือกลุ่มที่ควบคุม<br />

คือมีค่าเฉลี่ย<br />

0.8 พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P>0.05)<br />

27


ปราณี (2543) กล่าวว่า ลักษณะที่ส<br />

าคัญของเอนไซม์ในการย่อยสลายคือ เจาะจงต่อการย่อยสลาย<br />

เพื่อให้ได้ผลผลิตขั้นสุดท้าย<br />

ท าให้ทราบแอคติวิตี้ของเอนไซม์<br />

คือ ค่าความเร็วของปฏิกิริยาเริ่มต้นสัมพันธ์<br />

กับความเข้มข้นและจะไม่สามารถเพิ่มไปมากกว่าจุดที่เอนไซม์อิ่มตัวด้วยซับสเตรท<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสม<br />

อัตราค่า pH ก็เป็นปัจจัยร่วมที่ท<br />

าให้เอนไซม์เกิดความเสถียรได้มากหรือน้อย ในเอนไซม์อะไมเลสมี<br />

ลักษณะที่ส<br />

าคัญของปฏิกิริยาที่ย่อยแป้งก็คือ<br />

สามารถย่อยสลายได้หลายพันธะ โดยปฏิกิริยาขึ้นกับหมู่รีดิวซ์<br />

หรือขึ้นกับปริมาณเอนไซม์ที่ใช้<br />

ในการเกิดปฎิกิริยาออกซิเดชั่นของไขมันในอาหารไม่ขึ้นกับปริมาณ<br />

ไขมันในอาหาร แต่จะขึ้นกับชนิดของกรดไขมันอิ่มตัวในอาหาร<br />

ไขมันไม่อิ่<br />

มตัวจะถูกออกซิไดส์ได้ง่าย<br />

ซึ่งจัดเป็นการสูญเสียไขมัน<br />

อาจเกิดการย่อยสลายไฮโดรไลส์พันธะเอสเทอร์ไนโตรกลีเซอร์ไรด์โดย<br />

เอนไซม์ไลเปสและน้าหรือความร้อน<br />

ในการใช้เอนไซม์ในอาหารจึงเป็นปัญหาที่มักจะเกิดส่วนใหญ่<br />

เอนไซม์จะถูกน ามาเข้าเป็นส่วน<br />

หนึ่งของสูตรอาหารใหม่<br />

แม้ว่าแหล่งที่มาของเอนไซม์จะเป็นแหล่งเดียวกัน<br />

แต่เมื่อเปลี่ยนชนิดของสัตว์<br />

และสูตรอาหาร การใช้ประโยชน์ ประสิทธิภาพของเอนไซม์ก็จะต่างไป ดังนั้นการพัฒนาสูตรอาหาร<br />

จะต้องด าเนินควบคู่กันไปกับการทดลองใช้เอนไซม์เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ชัดเจน<br />

(สุทธิ์พันธุ์และคณะ,<br />

2548)<br />

28


สรุป<br />

การเสริมเอนไซม์ชนิดรวมในอาหารสุกรเล็กและสุกรรุ่น<br />

ไม่มีอิทธิพลต่อน้าหนักมูล<br />

ค่า FCR<br />

และ ADG ทั้งนี้การเสริมเอ็นไซม์ดังกล่าวในอาหารอาจเป็นการเพิ่มต้นทุนในการผลิต<br />

หากต้องการให้<br />

เอ็นไซม์ดังกล่าวเกิดประสิทธิภาพอย่าชั ดเจน อาจพิจารณาใช้เอ็นไซม์ดังกล่าวในอาหารอาจปรับเปลี่ยน<br />

สูตรอาหารหรืออัตราการใช้เอ็นไซม์ ซึ่งอาจต้องท<br />

าการทดลองต่อไปในอนาคต<br />

29


เอกสารอ้างอิง<br />

จรัส สว่างทัพ. 2548. เอกสารค าสอนอาหารและการให้อาหารสัตว์. คณะเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยา<br />

ราชภัฏบุรีรัมย์. 367 น.<br />

คณะกรรมการกลุ่มผลิตชุดวิชาหลักโภชนศาสตร์และอาหารสัตว์.<br />

2543. หลักโภชนศาสตร์และอาหารสัตว์.<br />

พิมพ์ครั้งที่<br />

3, ส านักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สุโขทัย. 516 น.<br />

ชาติชาย โขนงนุช, สายสมร ล ายอง และสุชน ตั้งทวีวิพัฒน์.<br />

2545. ผลการวิจัยเรื่องการศึกษาเอนไซม์เตส<br />

และเฮมิเซลลูเลสจากจุลินทรีย์ทนร้อนเพื่อการประยุกต์ใช้ในอาหารสัตว์.<br />

รายงานความก้าวหน้าผลการวิจัยปีที่2/2545,<br />

สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 56 น.<br />

ไชยา อุ้ยสูงเนิน.<br />

2533. คู่มือไก่ไข่.<br />

ส านักพิมพ์เกษตรไทย, กรุงเทพมหานคร. 18 น.<br />

นฤมล อ่างกระโทก, นวลจันทร์ พารักษา และ เสกสม อาตมางกูร. 2546. การใช้ประโยชน์ของโมโนได<br />

แคลเซียมฟอสเฟตจากกรรมวิธีการผลิตต่างๆกันในสุกร, น. 394-400. ใน การประชุมทางวิชาการ<br />

ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่<br />

41. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นครปฐม.<br />

บุญล้อม ชีวอิสระกุล และสุชน ตั้งทวีวิพัฒน์.<br />

2540. บทบาทของเอนไซม์ไฟเตสในอาหารสัตว์. วารสาร<br />

สัตวบาล. 38: 7-11.<br />

ปราณี อ่านเปรื่อง.<br />

2543. เอนไซม์ทางอาหาร. พิมพ์ครั้งที่<br />

3, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,<br />

กรุงเทพมหานคร. 440 น.<br />

ปราณี อ่านเปรื่อง.<br />

2547. เอนไซม์ทางอาหาร. พิมพ์ครั้งที่<br />

4, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,<br />

กรุงเทพมหานคร. 442 น.<br />

พานิช ทินนิมิต . 2535. โภชนศาสตร์สัตว์ประยุกต์ . ภาควิชาสัตวบาล , มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ,<br />

สงขลา. 251 น.<br />

สมพร วงศ์สูง. 2540. การศึกษาผลของการใช้เอนไซม์ต่ออัตราการเจริญเติบโตในลูกสุกรหลังหย่านม.<br />

ปัญหาพิเศษปริญญาตรี. คณะผลิตกรรมการ-เกษตร. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 24 หน้า.<br />

สีกุน นุชชา. 2547. อาหารและการให้อาหารสัตว์. [Onl<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>e] Available : http://www.kasettrang.ac.th.<br />

9/04/2011.<br />

สุทธิพันธุ์<br />

แก้วสมพงษ์, สุนีย์ นิธิสินประเสริฐ และอรพิน สุขพิชัยคุล. 2548. รายงานการวิจัยการประยุกต์<br />

ใช้เอนไซม์ย่อยสลายจากจุลินทรีย์สายพันธุ์ไทยที่มีประสิทธิภาพสูงในอาหารสัตว์ปีก.<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ, คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.<br />

กรุงเทพมหานคร. 22 น.<br />

อัมพร ปลาทอง. 2539. ผลของการใช้เอนไซม์รวม(เซลฟิต)ในอาหารลูกสุกรก่อนหย่านม.ปัญหาพิเศษ<br />

ปริญญาตรี คณะผลิตกรรมการ-เกษตร, มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. 30 น.<br />

30


Campbell, G.L., Bedford, M.R. 1992. <str<strong>on</strong>g>Enzyme</str<strong>on</strong>g> applicati<strong>on</strong> for m<strong>on</strong>ogastric feed, Canada<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> Journal <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g><br />

Animal Science, 72 : 449-466<br />

Chess<strong>on</strong>, A. 1987. Supplementary <str<strong>on</strong>g>Enzyme</str<strong>on</strong>g>s to Improve <str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g> Utilizati<strong>on</strong> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Pig and Poulty <str<strong>on</strong>g>Diets</str<strong>on</strong>g>. In W.<br />

Haresign and D.A. Cole (Editors), Recent Advances <str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> Animal Nutriti<strong>on</strong>. Butter-worth, L<strong>on</strong>d<strong>on</strong>.<br />

pp. 71-89.<br />

Hesselman, K. and Åman, P. 1986. The effect <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> β-glucanase <strong>on</strong> <str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g> utilizati<strong>on</strong> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> starch and nitrogen by<br />

broiler chickens fed <strong>on</strong> barley <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> low- or high-viscosity. Animal Feed Science and Technology.<br />

15 : 83-93<br />

Limcharoenporn, R., B. Cheva-isarakul and S. Tangtaweewipat. 1997. The Supplement <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Phytase <str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g><br />

Broiler Diet 2. Low Phosphorus <str<strong>on</strong>g>Diets</str<strong>on</strong>g> C<strong>on</strong>ta<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g><str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>g Rapeseed Meal, In Trends <str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> Livestock<br />

Producti<strong>on</strong> <str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> Thailand. Proceed<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>gs <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g> Symposium at Chiang Mai University, 11 th -13 th<br />

December 1997.<br />

31


ภาคผนวก<br />

32


ตารางผนวกที่<br />

6 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ ที่<br />

2<br />

SOV DF SS MS F P-value<br />

Model 1 0.00025714 0.00025714 0.03 ns<br />

Error 12 0.11591429 0.00965952<br />

Total 13 0.11617143<br />

CV = 20.53672 %<br />

ns = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

0.8731<br />

แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความคาดเคลื่อนของน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ที่<br />

2<br />

Group N Mean SD<br />

A1 7 0.587143 0.23<br />

A2 7 0.74 0.4<br />

A3 7 0.435714 0.16<br />

A4 7 0.384286 0.09<br />

A5 7 0.336243 0.09<br />

A6 7 0.371429 0.17<br />

A7 7 0.487143 0.25<br />

B1 7 0.481429 0.14<br />

B2 7 0.488571 0.12<br />

B3 7 0.535714 0.14<br />

B4 7 0.615714 0.36<br />

B5 7 0.3788 0.17<br />

B6 7 0.401429 0.11<br />

B7 7 0.499171 0.24<br />

เปรียบเทียบความแตกต่างของน้าหนักมูลสดของสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ที่<br />

2 ในกลุ่มทดลอง<br />

โดย Duncan’s New<br />

Multiple Range Test<br />

B<br />

0.48<br />

A<br />

A<br />

0.47<br />

A<br />

33


ตารางผนวกที่<br />

7 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ ที่<br />

4<br />

SOV DF SS MS F P-value<br />

Model 1 0.04571429 0.04571429 2.24 ns<br />

Error 12 0.24477143 0.02039762<br />

Total 13 0.29048571<br />

CV = 26.80272 %<br />

ns<br />

= ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P>0.05)<br />

0.1602<br />

แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความคาดเคลื่อนของน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ที่<br />

4<br />

Group N Mean SD<br />

A1 7 0.567143 0.054<br />

A2 7 0.655714 0.14<br />

A3 7 0.447143 0.1<br />

A4 7 0.55 0.31<br />

A5 7 0.328571 0.14<br />

A6 7 0.428571 0.18<br />

A7 7 0.398571 0.17<br />

B1 7 0.494286 0.24<br />

B2 7 0.52 0.19<br />

B3 7 0.592857 0.31<br />

B4 7 0.925714 0.42<br />

B5 7 0.577143 0.18<br />

B6 7 0.514286 0.14<br />

B7 7 0.535714 0.19<br />

เปรียบเทียบความแตกต่างของน้าหนักมูลสดของสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ที่<br />

4 ในกลุ่มทดลอง<br />

โดย Duncan’s New<br />

Multiple Range Test<br />

B<br />

0.59<br />

A<br />

A<br />

0.48<br />

A<br />

34


ตารางผนวกที่<br />

8 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ ที่<br />

6<br />

SOV DF SS MS F P-value<br />

Model 1 0.01577857 0.01577857 1.45 ns<br />

Error 12 0.13094286 0.01091190<br />

Total 13 0.14672143<br />

CV = 19.84316 %<br />

ns<br />

= ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P>0.05)<br />

0.2524<br />

แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความคาดเคลื่อนของน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ที่<br />

6<br />

Group N Mean SD<br />

A1 7 0.618571 0.12<br />

A2 7 0.624286 0.2<br />

A3 7 0.454286 0.12<br />

A4 7 0.527143 0.19<br />

A5 7 0.637143 0.15<br />

A6 7 0.412857 0.13<br />

A7 7 0.682857 0.26<br />

B1 7 0.532857 0.1<br />

B2 7 0.565714 0.12<br />

B3 7 0.557143 0.1<br />

B4 7 0.601429 0.27<br />

B5 7 0.452857 0.21<br />

B6 7 0.378571 0.18<br />

B7 7 0.387143 0.16<br />

เปรียบเทียบความแตกต่างของน้าหนักมูลสดของสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ที่<br />

6 ในกลุ่มทดลอง<br />

โดย Duncan’s New<br />

Multiple Range Test<br />

A<br />

0.56<br />

A<br />

B<br />

0.49<br />

A<br />

35


ตารางผนวกที่<br />

9 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ ที่<br />

2,4 และ 6<br />

SOV DF SS MS F P-value<br />

Model 1 0.01031429 0.01031429 0.18 ns<br />

Error 12 0.68897143 0.05741429<br />

Total 13 0.69928571<br />

CV = 15.48744 %<br />

ns<br />

=ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P>0.05)<br />

0.6792<br />

แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความคาดเคลื่อนของน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ที่<br />

2,4 และ 6<br />

Group N Mean SD<br />

A1 7 1.772857 0.18<br />

A2 7 2.02 0.52<br />

A3 7 1.337143 0.26<br />

A4 7 1.461429 0.37<br />

A5 7 1.301957 0.31<br />

A6 7 1.212857 0.37<br />

A7 7 1.568571 0.18<br />

B1 7 1.508571 0.27<br />

B2 7 1.574286 0.24<br />

B3 7 1.685714 0.39<br />

B4 7 2.142857 0.9<br />

B5 7 1.4088 0.38<br />

B6 7 1.294286 0.18<br />

B7 7 1.422029 0.42<br />

เปรียบเทียบความแตกต่างของน้าหนักมูลสดของสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ที่<br />

2,4 และ 6 ในกลุ่มทดลอง<br />

โดย<br />

Duncan’s New Multiple Range Test<br />

B<br />

1.57<br />

A<br />

A<br />

1.52<br />

A<br />

36


ตารางผนวกที่<br />

10 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติค่า FCR ของสุกรเล็ก<br />

SOV DF SS MS F P-value<br />

Model 1 0.05603333 0.05603333 0.45 ns<br />

Error 10 1.23563333 0.12356333<br />

Total 11 1.29166667<br />

CV = 19.13879 %<br />

ns<br />

= ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P>0.05)<br />

แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความคาดเคลื่อน<br />

ค่า FCR ของสุกรเล็ก<br />

Group N Mean SD<br />

A1 6 1.985 0.66<br />

A2 6 1.733333 0.26<br />

A3 6 1.566667 0.23<br />

A4 6 1.711667 0.42<br />

A5 6 1.685 0.41<br />

A6 6 1.736667 0.42<br />

A7 6 1.983333 0.6<br />

B1 6 1.848333 0.36<br />

B2 6 1.7 0.22<br />

B3 6 1.991667 0.57<br />

B4 6 1.96 0.4<br />

B5 6 1.651667 0.55<br />

B6 6 1.993333 0.37<br />

B7 6 2.208333 1.29<br />

0.5159<br />

เปรียบเทียบความแตกต่างค่า FCR ของสุกรเล็ก ใน กลุ่มทดลอง<br />

โดย Duncan’s New Multiple Range<br />

Test<br />

B<br />

1.9<br />

A<br />

A<br />

1.77<br />

A<br />

37


ตารางผนวกที่<br />

11 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติค่า ADG ของสุกรเล็ก<br />

SOV DF SS MS F P-value<br />

Model 1 0.00333333 0.00333333 0.06 ns<br />

Error 10 0.56073333 0.05607333<br />

Total 11 0.56406667<br />

CV = 33.66797 %<br />

ns = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความคาดเคลื่อน<br />

ค่า ADG ของสุกรเล็ก<br />

Group N Mean SD<br />

A1 6 0.725 0.36<br />

A2 6 0.786667 0.27<br />

A3 6 0.741667 0.27<br />

A4 6 0.673333 0.23<br />

A5 6 0.71 0.2<br />

A6 6 0.65 0.18<br />

A7 6 0.796667 0.31<br />

B1 6 0.68 0.2<br />

B2 6 0.75 0.25<br />

B3 6 0.661667 0.24<br />

B4 6 0.786667 0.32<br />

B5 6 0.681667 0.15<br />

B6 6 0.665 0.24<br />

B7 6 0.611667 0.25<br />

0.8123<br />

เปรียบเทียบความแตกต่างค่า ADG ของสุกรเล็ก ใน กลุ่มทดลอง<br />

โดย Duncan’s New Multiple Range<br />

Test<br />

A<br />

0.72<br />

A<br />

B<br />

0.69<br />

A<br />

38


ตารางผนวกที่<br />

12 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติน้าหนักมูลสดสุกรรุ่น<br />

SOV DF SS MS F P-value<br />

Model 1 0.00446429 0.00446429 0.60 ns<br />

Error 12 0.08868571 0.00739048<br />

Total 13 0.09315000<br />

CV = 17.72534 %<br />

ns = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความคาดเคลื่อนน้าหนักมูลสดของสุกรรุ่น<br />

Group N Mean SD<br />

A1 7 0.491429 0.22<br />

A2 7 0.521429 0.23<br />

A3 7 0.462857 0.17<br />

A4 7 0.388571 0.23<br />

A5 7 0.494286 0.33<br />

A6 7 0.368571 0.14<br />

A7 7 0.594286 0.1<br />

B1 7 0.535714 0.21<br />

B2 7 0.488571 0.13<br />

B3 7 0.5 0.17<br />

B4 7 0.567143 0.36<br />

B5 7 0.451429 0.18<br />

B6 7 0.501429 0.2<br />

B7 7 0.495714 0.18<br />

0.4521<br />

เปรียบเทียบความแตกต่างค่าน้าหนักมูลสดของสุกรรุ่น<br />

ใน กลุ่มทดลอง<br />

โดย Duncan’s New Multiple<br />

Range Test<br />

B<br />

0.5<br />

A<br />

A<br />

0.47<br />

A<br />

39


ตารางผนวกที่<br />

13 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติค่า FCR ของสุกรรุ่น<br />

SOV DF SS MS F P-value<br />

Model 1 0.00562500 0.00562500 0.02 0.8975<br />

Error 2 0.52985000 0.26492500<br />

Total 3 0.53547500<br />

CV = 21.15966 %<br />

ns<br />

= ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ<br />

(P>0.05)<br />

แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความคาดเคลื่อนค่า<br />

FCR ของสุกรรุ่น<br />

Group N Mean SD<br />

A1 2 2.65 0.028<br />

A2 2 2.235 0.57<br />

A3 2 2.275 0.38<br />

A4 2 2.435 0.78<br />

A5 2 2.13 0.26<br />

A6 2 2.445 0.6<br />

A7 2 2.63 1.3<br />

B1 2 2.58 0.056<br />

B2 2 2.46 0.59<br />

B3 2 2.485 0.62<br />

B4 2 2.46 0.59<br />

B5 2 2.29 0.52<br />

B6 2 2.75 0.41<br />

B7 2 2.31 0.43<br />

เปรียบเทียบความแตกต่างค่า FCR ของสุกรรุ่น<br />

ใน กลุ่มทดลอง<br />

โดย Duncan’s New Multiple Range<br />

Test<br />

B<br />

2.47<br />

A<br />

A<br />

2.4<br />

A<br />

40


ตารางผนวกที่<br />

14 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติค่า ADG ของสุกรรุ่น<br />

SOV DF SS MS F P-value<br />

Model 1 0.00040000 0.00040000 0.15 0.7327<br />

Error 2 0.00520000 0.00260000<br />

Total 3 0.00560000<br />

CV = 6.295086 %<br />

ns = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)<br />

แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความคาดเคลื่อนค่า<br />

ADG ของสุกรรุ่น<br />

Group N Mean SD<br />

A1 2 0.74 0.12<br />

A2 2 0.905 0.063<br />

A3 2 0.88 0.054<br />

A4 2 0.69 0.25<br />

A5 2 0.82 0<br />

A5 2 0.78 0.1<br />

A6 2 0.805 0.21<br />

A7 2 0.84 0.18<br />

B1 2 0.79 0.07<br />

B2 2 0.83 0<br />

B3 2 0.905 0.03<br />

B4 2 0.825 0.08<br />

B5 2 0.765 0.007<br />

B6 2 0.82 0.04<br />

B7<br />

เปรียบเทียบความแตกต่างค่า ADG ของสุกรรุ่น<br />

ใน กลุ่มทดลอง<br />

โดย Duncan’s New Multiple Range<br />

Test<br />

B<br />

0.82<br />

A<br />

A<br />

0.8<br />

A<br />

41


ปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

ผลของการเสริมเอนไซม์ชนิดรวมในสุกรเล็กและรุ่น<br />

<str<strong>on</strong>g>Effects</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Cocktail</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Enzyme</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Supplemented</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Diets</str<strong>on</strong>g> <strong>on</strong> <strong>on</strong> <strong>Starter</strong>-Grower Pigs<br />

โดย<br />

นายนราศักดิ์<br />

กมล<br />

นายอุดมศักดิ์<br />

ค าพงษ์<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

Curriculum <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Animal Science<br />

Department <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Animal Producti<strong>on</strong> Technology and Fisheries<br />

Faculty <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Agricultural Technology<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า K<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>g M<strong>on</strong>gkut’s Institute <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> Technology<br />

เจ้าคุณทหารลาดกระบัง Chaokuntaharn Ladkrabang<br />

กรุงเทพมหานคร 10520 Bangkok 10520 Thailand


ปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

ผลของการเสริมเอนไซม์ชนิดรวมในสุกรเล็กและรุ่น<br />

<str<strong>on</strong>g>Effects</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Cocktail</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Enzyme</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Supplemented</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Diets</str<strong>on</strong>g> <strong>on</strong> <strong>on</strong> <strong>Starter</strong>-Grower Pigs<br />

โดย<br />

นายนราศักดิ์<br />

กมล<br />

นายอุดมศักดิ์<br />

ค าพงษ์<br />

เสนอ<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

พ.ศ. 2553


ใบรับรองปัญหาพิเศษปริญญาตรี<br />

หลักสูตรศาสตร์<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง<br />

เรื่อง<br />

ผลของการเสริมเอนไซม์ชนิดรวมในสุกรเล็กและรุ่น<br />

<str<strong>on</strong>g>Effects</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Cocktail</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Enzyme</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Supplemented</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Diets</str<strong>on</strong>g> <strong>on</strong> <strong>on</strong> <strong>Starter</strong>-Grower Pigs<br />

โดย<br />

นายนราศักดิ์<br />

กมล<br />

นายอุดมศักดิ์<br />

ค าพงษ์<br />

ได้พิจารณาเห็นชอบโดย<br />

อาจารย์ที่ปรึกษา............................................................................<br />

(อ.น.สพ. ชนาธิป ธรรมการ)<br />

หลักสูตรรับรองแล้ว<br />

.................................................................................<br />

(รศ.ดร.กานต์ สุขสุแพทย์)<br />

ประธานหลักสูตรสัตวศาสตร์<br />

วันที่...........เดือน.........................<br />

พ.ศ...................


บทคัดย่อปัญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

ผลของการเสริมเอนไซม์ชนิดรวมในสุกรเล็กและรุ่น<br />

<str<strong>on</strong>g>Effects</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>of</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Cocktail</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Enzyme</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Supplemented</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>the</str<strong>on</strong>g> <str<strong>on</strong>g>Diets</str<strong>on</strong>g> <strong>on</strong> <strong>on</strong> <strong>Starter</strong>-Grower Pigs<br />

ในการวิจัยครั้งนี้<br />

ได้ศึกษาเปรียบเทียบผลการใช้อาหารผงที่เสริมเอนไซม์ชนิดรวมและชนิดที่ไม่<br />

เสริมเอนไซม์ชนิดรวมที่เป็นประโยชน์จากระบบทางเดินอาหารสุกรต่อคุณค่าทางโภชนะอาหารสุกรโดย<br />

การเสริมเอนไซม์ชนิดรวม ประกอบไปด้วย เอนไซม์อะไมเลส (amylase) เอนไซม์เบต้า -กลูคาเนส (βglucanase)<br />

เอนไซม์เซลลูเลส (cellulase) เอนไซม์เฮมิเซลลูเลส (hemicellulase) เอนไซม์เพกทิเนส<br />

(pect<str<strong>on</strong>g>in</str<strong>on</strong>g>ase) เอนไซม์โปรตีเอส (protease) และ สารปรุงแต่งอาหารสัตว์ การทดลองใช้แผนการทดลองแบบ<br />

สุ่มสมบูรณ์<br />

(Completely Randomized Design; CRD) ซึ่งหน่วยทดลองคือกลุ่มสุกร<br />

โดยใช้สุกรในการ<br />

ทดลองทั้งหมด<br />

14 ตัว โดยแบ่งสุกรออกเป็น 2 กลุ่ม<br />

กลุ่มละ<br />

7 ตัว โดยอาหารที่ใช้เลี้ยงจะเป็นอาหารผง<br />

ทั้งหมด<br />

โดยจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม<br />

คือกลุ่มที่<br />

1 (กลุ่มควบคุม<br />

) ใช้อาหารผงที่ไม่<br />

เสริมเอนไซม์ชนิดรวม<br />

กลุ่มที่<br />

2 ใช้อาหารผงใช้เสริมเอนไซม์ชนิดรวม ท าการเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตต่อวันของสุกร<br />

ในช่วงระยะสุกรเล็ก-รุ่น<br />

ท าการเปรียบเทียบปริมาณมูลสด และอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นผลผลิต<br />

ใน<br />

กลุ่มทดลอง<br />

2 กลุ่ม<br />

โดยแต่ละกลุ่มมีจ<br />

านวนสุกรทดลอง 7 ตัว ซึ่งในการเปรียบน้าหนักมูลสดต่อสัปดาห์<br />

โดยมีจ านวน 7 วัน หรือจ านวนซ้า<br />

ส่วนการเปรียบเทียบค่า FCR และ ค่า ADG ในสุกรระยะเล็กมี 6 สัปดาห์<br />

หรือ 6 ซ้า<br />

และส าหรับค่า FCR และ ค่า ADG ในสุกรรุ่นจะมีเพียง<br />

2 ครั้งหรือ<br />

2 ซ้า<br />

ผลการทดลองพบว่าการ<br />

เสริมเอนไซม์ชนิดรวมในอาหารสุกรเล็ก ไม่มีอิทธิพล ต่อ ค่าน้าหนัก<br />

มูล ค่า FCR และ ค่า ADG แต่<br />

กลุ่มที่ไม่เสริมเอนไซม์ในอาหารจะมี<br />

ค่า FCR และค่า ADG ดีกว่ากลุ่มที่เสริมเอนไซม์ชนิดรวม<br />

และใน<br />

สุกรรุ่นผลการทดลองพบว่า<br />

การเสริมเอนไซม์ชนิดรวมในอาหารสุกรรุ่น<br />

ไม่มีอิทธิพลต่อ น้าหนักมูลสด<br />

ค่า FCR และค่า ADG


ค านิยม<br />

ปัญหาพิเศษฉบับนี้จัดท<br />

าขึ้นส<br />

าเร็จเรียบร้อยเป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องด้วยความอนุเคราะห์จาก<br />

อ.น.สพ. ชนาธิป ธรรมการ ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษที่กรุณาให้ค<br />

าปรึกษาชี้แนะและตรว<br />

จสอบแก้ไข<br />

ข้อผิดพลาดต่างๆโดยละเอียดจนท าให้ได้รายงานที่สมบูรณ์<br />

ขอบพระคุณ อ.น.สพ.ดร จ าลอง มิตรชาวไทย<br />

ที่กรุณาให้ค<br />

าปรึกษาและข้อเสนอแนะ ขอบคุณเจ้าหน้าที่ของฟาร์มของคณะเทคโนโลยีการเกษตรที่อ<br />

านวย<br />

ความสะดวกในการปฏิบัติงานและช่วยเหลือเป็นอย่างดี ผู้จัดท<br />

าขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงมา ณ โอกาส<br />

นี้<br />

นอกจากนี้ขอบคุณรุ่นพี่ปริญญาโทที่ให้ค<br />

าปรึกษาและช่วยเหลือในการท าปัญหาพิเศษครั้งนี้<br />

สุดท้ายนี้<br />

ผู้จัดท<br />

าขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อคุณแม่และครอบครัวที่ให้ก<br />

าลังใจต่อผู้จัดท<br />

า รวมถึงขอบคุณเพื่อนๆที่<br />

ให้ค าปรึกษาทุกคนและข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์ต่อการจัดท าปัญหาพิเศษฉบับนี้<br />

นายนราศักดิ์<br />

กมล<br />

นายอุดมศักดิ์<br />

ค าพงษ์<br />

มีนาคม 2554


สารบัญ<br />

บทคัดย่อ I<br />

ค านิยม II<br />

สารบัญ III<br />

สารบัญตาราง IV<br />

ค าน า 5<br />

วัตถุประสงค์ 5<br />

ตรวจเอกสาร 6 - 19<br />

อุปกรณ์และวิธีการ 20- 25<br />

ผลการทดลอง 26 - 28<br />

สรุปผล 29<br />

เอกสารอ้างอิง 30 - 31<br />

ภาคผนวก 32 - 41<br />

หน้า


สารบัญตาราง<br />

ตารางที่<br />

หน้า<br />

ตารางที่<br />

1 แสดงสูตรอาหารสุกรเล็ก 21<br />

ตารางที่<br />

2 แสดงสูตรอาหารสุกรรุ่น<br />

22<br />

ตารางที่<br />

3 แสดงสูตรเอนไซม์ชนิดรวม 22<br />

ตารางที่<br />

4 เปรียบเทียบผลของการเสริมเอนไซม์ชนิดรวมและไม่เสริมเอนไซม์ชนิดรวม 26<br />

ในสูตรอาหาร ระยะสุกรเล็ก<br />

ตารางที่<br />

5 เปรียบเทียบผลของการเสริมเอนไซม์ชนิดรวมและไม่เสริมเอนไซม์ชนิดรวม 27<br />

ในสูตรอาหาร ระยะสุกรรุ่น<br />

ตารางผนวกที่<br />

6 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ ที่<br />

2 33<br />

ตารางผนวกที่<br />

7 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ ที่<br />

4 34<br />

ตารางผนวกที่<br />

8 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

สัปดาห์ ที่<br />

6 35<br />

ตารางผนวกที่<br />

9 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติน้าหนักมูลสดสุกรเล็ก<br />

36<br />

สัปดาห์ ที่<br />

2,4 และ 6<br />

ตารางผนวกที่<br />

10 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติค่า FCR ของสุกรเล็ก 37<br />

ตารางผนวกที่<br />

11 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติค่า ADG ของสุกรเล็ก 38<br />

ตารางผนวกที่<br />

12 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติน้าหนักมูลสดสุกรรุ่น<br />

39<br />

ตารางผนวกที่<br />

13 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติค่า FCR ของสุกรรุ่น<br />

40<br />

ตารางผนวกที่<br />

14 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติค่า ADG ของสุกรรุ่น<br />

41

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!