27.06.2013 Views

55/87 เรื่อง (Epalzeorhynchos bicolor)

55/87 เรื่อง (Epalzeorhynchos bicolor)

55/87 เรื่อง (Epalzeorhynchos bicolor)

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

230 การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั ้งที่<br />

01<br />

อาหารเสริมแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองต่อการเจริญเติบโตและสีผิวของปลาทรงเครื่อง<br />

(<strong>Epalzeorhynchos</strong> <strong>bicolor</strong>)<br />

Dietary supplementation of carotenoids from marigold flower on growth and coloration of<br />

red-tailed shark (<strong>Epalzeorhynchos</strong> <strong>bicolor</strong>)<br />

หทัยรัตน์ ญาณฤทธิ ์ 1* และ นงนุช เลาหะวิสุทธิ ์ 1<br />

Hathairat Yannarit 1 and Nongnuch Laohavisuti 1<br />

บทคัดย่อ<br />

งานวิจัยนี ้ มีวัตถุประสงค์เพื ่อศึกษาผลของแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองในอาหารที ่เหมาะสมต่อการ<br />

เจริญเติบโตและสีผิวของปลาทรงเครื ่อง โดยทดลองเลี ้ยงปลาทรงเครื ่องด้วยอาหารผสมแคโรทีนอยด์จากดอก<br />

ดาวเรืองที่ระดับ<br />

0, 25, 50, 75 และ 100 มิลลิกรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม (มก./กก.) เป็ นเวลา 12 สัปดาห์ และวัดสี<br />

ผิวของปลาโดยใช้เครื่องวัดสีระบบ<br />

CIE L*a*b* (CIE LAB) พบว่า การเจริญเติบโตไม่มีความแตกต่างระหว่าง<br />

ชุดการทดลอง (P>0.05) ปลาที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารผสมแคโรทีนอยด์มีค่าความสว่าง (L*) ที่แตกต่างกันอย่างมี<br />

นัยส าคัญทางสถิติ (P


การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั ้งที่<br />

01 231<br />

บทน า<br />

ปัจจุบันธุรกิจการเพาะเลี ้ยงปลาสวยงามเป็ นอีกหนึ ่งธุรกิจที ่สร้างรายได้ให้กับประเทศไทยและมีการ<br />

ขยายตัวเพิ ่มมากขึ ้น แต่ในการผลิตปลาสวยงามยังไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาดโลก เนื่องจากมีผู้<br />

เพาะเลี ้ยงปลาสวยงามเพื่อการส่งออกเพียงไม่กี่ประเทศเท่านั<br />

้น ท าให้ธุรกิจการเพาะเลี ้ยงปลาสวยงามมีแนวโน้ม<br />

เพิ่มขึ<br />

้นอย่างรวดเร็ว การเลี ้ยงปลาสวยงามเป็ นงานอดิเรกเนื ่องจากปลาสวยงามเหล่านี ้ มีรูปร่างและสีสันสวย<br />

เลี ้ยงง่าย ใช้พื ้นที่น้อย<br />

ปลาทรงเครื่องเป็<br />

นปลาน ้าจืดขนาดเล็กที ่อยู่ในกลุ่มปลาที่ออกลูกเป็<br />

นไข่ ล าตัวเป็ นสีด า<br />

หรือน ้าเงินปนด า ครีบหางมีขนาดใหญ่เว้าเป็ นแฉกสีแดงปนส้ม พบเฉพาะในประเทศไทยในบริเวณแม่น ้า<br />

เจ้าพระยา เป็ นปลาสวยงามที่นิยมเลี<br />

้ยงกันอย่างแพร่หลายเป็ นปลาสวยงามน ้าจืดที่มีความสวยงามมากที<br />

่สุดใน<br />

โลกชนิดหนึ ่งปัจจุบันเชื ่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้วจากธรรมชาติ เนื่องจากถูกคุมตามถิ<br />

่นที่อยู่อาศัยและถูกจับไปเป็<br />

น<br />

ปลาสวยงาม และยังพบปัญหาเรื ่องสีสันของปลาที ่มีลักษณะซีดท าให้ปลามีราคาถูก เกษตรกรจึงแก้ไขปัญหา<br />

ดังกล่าวด้วยการน าฮอร์โมนเพศผู้มาใช้ในการเร่งสีผิวของปลา แต่การใช้ฮอร์โมนเพศไม่สามารถคงทนในตัว<br />

ปลาได้นาน และส่งผลถึงพฤติกรรมความก้าวร้าวในเพศผู้ที ่สูงขึ ้น การใช้ฮอร์โมนเพศดังกล่าวท าให้ปลามีอายุ<br />

สั ้น สุขภาพอ่อนแอและไม่สามารถใช้ในการผสมข้ามสายพันธุ์ต่อไปได้ ต่อมามีการทดลองการใช้สารสีในกลุ่ม<br />

ของแคโรทีนอยด์ ได้แก่ เบต้าแคโรทีน, แคนทาแซนทิน, ซีแซนทิน และแอสตาแซนทินที่ได้จากมาจากแหล่ง<br />

ธรรมชาติ (ยีสต์, แบคทีเรี ย, พืช และพวกครัสเตเชียน) มาผสมในอาหารเพื ่อใช้ในการเร่งสีผิวของปลาและ<br />

พวกครัสเตเชียน (Wang et al., 2006) แต่สารสีในกลุ่มแคโรทีนอยด์ที่ใช้ในปลาสวยงามมีราคาแพงจึงได้มี<br />

การศึกษาค้นคว้าสารสีแหล่งอื ่นๆน ามาใช้ทดแทน พบได้ทั่วไปในพืช<br />

ผัก ผลไม้และดอกไม้ เช่น พริกแดง (Red<br />

pepper) และ ดอกดาวเรือง (Marigold flower) (Buyukapar et al., 2005) ดอกดาวเรืองเป็ นพืชดอกที่พบได้ใน<br />

ทั่วไปหาซื<br />

้อได้ง่ายและมีจ านวนมาก (Ezhill et al., 2008) โดยทั่วไปดอกดาวเรืองมีหลากหลายสี<br />

เช่น ขาวนวล,<br />

เหลือง, เหลืองอ่อน, เหลืองทอง และ สีส้ม โดยส่วนที่จะน<br />

ามาใช้คือส่วนของกลีบดอก เนื่องจากบริเวณส่วน<br />

ของกลีบดอกมีสารสีที่ชื่อว่า<br />

แคโรทีนอยด์เป็ นจ านวนมาก ซึ ่งแคโรทีนอยด์เป็ นกลุ่มของสารสีที ่พบในพืช ให้สี<br />

เหลือง, ส้ม และส้มแดง (Lewis et al., 1998) จึงได้มีการน าสารแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองมาใช้ในการเร่งสี<br />

ปลา ซึ ่งจะท าให้ต้นทุนการผลิตปลาลดลง ดังนั ้นการศึกษาปริมาณสารแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองที ่ผสมใน<br />

อาหารในระดับที ่เหมาะสมส าหรับการเจริญเติบโตและเร่งสีผิวปลาทรงเครื ่อง จะเป็ นแนวทางในการพัฒนา<br />

เทคนิคการเลี ้ยงปลาสวยงามเพื่อเพิ่มมูลค่าในเชิงพาณิชย์ต่อไปได้ในอนาคต<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

1. วางแผนการทดลอง<br />

วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely randomized design : CRD) ความเข้มข้นของสารแค<br />

โรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองต่างๆกัน 5 ระดับ ได้แก่ 0, 25, 50, 75 และ 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัมอาหาร (มก./กก.)<br />

ชุดการทดลองละ 4 ซ ้า แต่ละซ ้าใช้ปลา 25 ตัวต่อซ ้า ดังนี ้<br />

ชุดการทดลองที่<br />

1 ปลาที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารเม็ดที่ไม่ผสมสารแคโรทีนอยด์<br />

(กลุ่มควบคุม)<br />

ชุดการทดลองที่<br />

2 ปลาที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารเม็ดที่ผสมสารแคโรทีนอยด์<br />

ความเข้มข้น 25 มก./กก.<br />

ชุดการทดลองที่<br />

3 ปลาที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารเม็ดที่ผสมสารแคโรทีนอยด์<br />

ความเข้มข้น 50 มก./กก.<br />

ชุดการทดลองที่<br />

4 ปลาที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารเม็ดที่ผสมสารแคโรทีนอยด์<br />

ความเข้มข้น 75 มก./กก.<br />

ชุดการทดลองที่<br />

5 ปลาที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารเม็ดที่ผสมสารแคโรทีนอยด์<br />

ความเข้มข้น 100 มก./กก.


232 การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั ้งที่<br />

01<br />

2. วิธีการทดลอง<br />

2.1 น าดอกดาวเรือง ล้างให้สะอาดแล้วน ากลีบดอกมาท าให้มีขนาดเล็ก จากนั ้นน าไปอบด้วยเครื่องอบ<br />

ที่อุณหภูมิ<br />

60 °C เป็ นเวลา 2 วัน เมื่อแห้งแล้วน<br />

ามาบด ร่อนผ่านตะแกรงขนาด 0.5 มิลลิเมตร ท าให้ได้ผงดอก<br />

ดาวเรื อง จากนั ้นน าผงดอกดาวเรื องเก็บบรรจุภัณฑ์ สกัดหาสารแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรื องโดยใช้วิธี<br />

ดัดแปลงจาก Mora et al. (2006) เพื่อตรวจสอบปริมาณสารแคโรทีนอยด์รวม<br />

(Total carotenoid content) ก่อน<br />

ท า ก า รทดลอง ซึ ่ ง วิธี ก ารสกัดท า โดย ชั่ง<br />

ผ ง ดอกดา วเรื อง 10 ก รั ม เติ ม ปิ โตรเลี ย ม อี เทอร์ ,<br />

อะซีโตนและน ้ากลั่น<br />

เป็ นสารสกัดในอัตราส่วน 15:75:10 และเติม butylated hydroxyanisole (BHA) หรือ<br />

butylated hydroxytoluene (BHT) 0.01% จากนั ้นน าไปเขย่าเป็ นเวลา 15 นาที แล้วกรองด้วยกระดาษกรองเบอร์<br />

1 น าส่ วนที่กรองได้ไปวัดค่าการดูดกลืนแสง<br />

ด้วยเครื ่ องวัดค่าการดูดกลืนแสงที ่มีความยาวคลื ่น<br />

467-475 นาโนเมตร และใช้คิวเวตแก้วในการวัดค่าการดูดกลืนแสง โดยใช้ปิ โตรเลียมอีเทอร์เป็ นแบลงค์<br />

(blank) และค านวณปริ มาณสารแคโรทีนอยด์จากผงดอกดาวเรื องโดยการน าค่าการดูดกลืนแสงของ<br />

แคโรทีนอยด์ในสมการเส้นตรงจากกราฟมาตรฐานของสารแคโรทีนอยด์ และบันทึกผล<br />

2.2 การเตรียมอาหาร โดยใช้อาหารผงส าเร็จรูปชื ่อนิวทรีน่าฟี ด (โปรตีนไม่น้อยกว่า 40) เป็ นอาหาร<br />

สูตรควบคุมโดยน าผงของดอกดาวเรืองที ่ได้จากข้อ 2.1 มาวิเคราะห์หาปริมาณสารแคโรทีนอยด์ แล้วผสมผง<br />

ดอกดาวเรืองให้มีความเข้มข้นของแคโรทีนอยด์ที่ระดับ<br />

0, 25, 50, 75 และ 100 มก./กก. ลงไปในอาหาร แล้ว<br />

เติมน ้า 60 เปอร์เซ็นต์คลุกเคล้าให้ทั ่ว จากนั ้นน าไปอัดเม็ดแล้วอบแห้งที่อุณหภูมิ<br />

60 °C แล้วน าอาหารเก็บใส่<br />

ถุงพลาสติกให้มิดชิดห่ออะลูมิเนียมฟอยล์และเก็บไว้ในตู้เย็นที ่อุณหภูมิ -20 °C<br />

2.3 น าปลาทรงเครื ่องจากฟาร์มปลาสวยงาม จังหวัดราชบุรี จ านวน 500 ตัว โดยฝึ กให้กินอาหาร<br />

ควบคุมวันละ 2 ครั ้ง (เช้า-เย็น) เป็ นระยะเวลา 2 สัปดาห์ มาปรับสภาพในถังพลาสติก จากนั ้นสุ่มปลาลงเลี ้ยงใน<br />

ถังพลาสติกขนาด 160 ลิตร ให้อาหารปลาวันละ 3 เปอร์เซนต์ ของน ้าหนักตัว โดยให้อาหารวันละ 2 มื ้อ เวลา<br />

10.00 น. และ 16.00 น. เปลี่ยนถ่ายน<br />

้าสัปดาห์ละ 1 ครั ้ ง ท าการชั่งน<br />

้าหนักปลาและวัดความยาวก่อนการทดลอง<br />

และบันทึกน ้าหนักทุก 2 สัปดาห์<br />

2.4 การบันทึกผล<br />

2.4.1 วัดการเจริญเติบโตของปลาทรงเครื ่อง ด้วยการชั่งน<br />

้าหนักและวัดความยาวก่อนการทดลอง<br />

จากนั ้นสุ่มตัวอย่างปลาทรงเครื ่องจากทุกชุดการทดลอง ซ ้าละ 5 ตัว น ามาชั่งน<br />

้าหนักทุก 2 สัปดาห์ จนกระทั่ง<br />

ครบ 12 สัปดาห์ แล้วน ามาค านวณหาอัตราการเจริญเติบโตเฉลี ่ยต่อวัน (Average diary growth, ADG) และ<br />

อัตรารอด ดังนี ้<br />

อัตราการเจริญเติบโตเฉลี ่ยต่อวัน = น ้าหนักเฉลี่ยสุดท้าย<br />

– น ้าหนักเฉลี่ยเริ่มต้น<br />

อัตรารอด = จ านวนปลาที่เหลือหลังการทดลอง<br />

X 100<br />

จ านวนปลาที่เริ่มต้นการทดลอง<br />

2.4.2 วัดการเปลี่ยนแปลงของสี<br />

ก่อนการทดลองได้ท าการวัดค่าสีเริ ่มต้น โดยท าการสุ่มปลาทดลองมา<br />

60 ตัวจากปลาทดลองทั ้งหมด 500 ตัว มาสลบด้วยยาสลบ น าใส่ถุงพลสาติกและวัดสีผิวบริเวณล าตัวปลาด้วย<br />

เครื่องวัดสี<br />

(chromameter) วัดสีทั ้งสองด้านของล าตัวปลา เพื่อวัดค่าสีเริ<br />

่มต้นก่อนการทดลองแบบ CIE L*a*b*<br />

และเมื่อสิ้นสุดการทดลองโดยสุ่มปลาทดลองซ<br />

้าละ 3 ตัว จากทุกชุดการทดลอง เพื่อหาค่าสีที่เปลี่ยนแปลง<br />

ซึ ่งค่า<br />

L*,a*,b* มีความหมายดังนี ้<br />

L* แสดงถึงความสว่างของสี มีค่าระหว่าง 0 – 100 (สีด าถึงสีขาว)<br />

a* แสดงถึงค่า (+) สีแดง และ (-) สีเขียว<br />

b* แสดงถึงค่า (+) สีเหลือง และ (-) สีน ้าเงิน


การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั ้งที่<br />

01 233<br />

3. การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

น าข้อมูลที่ได้จากการทดลอง<br />

ได้แก่ การเจริญเติบโต และการเปลี่ยนแปลงของสีผิวปลา<br />

มาวิเคราะห์<br />

ความแปรปรวน (analysis of variance) และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี ่ยระหว่างชุดทดลองด้วยวิธี<br />

duncan’s new multiple’s range test (DMRT) ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95 % ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าเร็จรูป<br />

ผลและวิจารณ์การทดลอง<br />

1. ผลของอาหารที่ผสมสารแคโรทีนอยด์ต่อการเจริญเติบโตของปลาทรงเครื<br />

่อง<br />

การศึกษาเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวัน<br />

มีหน่วยเป็ น กรัม/ตัว/วัน และอัตราการรอดตาย<br />

ของปลาทรงเครื่องที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารที่ความเข้มข้นของสารแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองทั<br />

้ง 5 ระดับ พบว่าทุก<br />

ชุดการทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P>0.05) (ตารางที่<br />

1)<br />

่ ่<br />

ตารางที 1 การเจริญเติบโตของปลาทรงเครื ่องที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารผสมสารแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองที<br />

ระดับความเข้มข้นต่างกัน<br />

ความเข้มข้น น ้าหนักเฉลี่ย<br />

น ้าหนักเฉลี่ย<br />

อัตราการเจริญ อัตราการ<br />

แคโรทีนอยด์ เริ่มต้น<br />

(กรัม) สุดท้าย (กรัม) เติบโตเฉลี่ยต่อวัน<br />

รอดตาย<br />

(มก./กก.) (กรัม/ตัว/วัน) (%)<br />

0 1.49±0.05 2.08±0.04 0.59±0.07 96.43±2.70<br />

25 1.46±0.05 2.25±0.08 0.79±0.13 97.14±2.02<br />

50 1.40±0.05 1.96±0.04 0.56±0.09 96.43±2.14<br />

75 1.48±0.07 2.06±0.03 0.59±0.09 97.86±2.14<br />

100 1.37±0.05 2.17±0.06 0.80±0.05 94.29±2.61<br />

จากผลการทดลองพบว่า เมื่อครบ<br />

12 สัปดาห์ ปลาทรงเครื่องมีน<br />

้าหนักเฉลี่ยสุดท้าย<br />

และอัตราการ<br />

รอดตายของทุกชุดการทดลองไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P>0.05) สอดคล้องกับการทดลอง<br />

ของ Yanar et al. (2007) ทดลองเลี ้ ยงปลาเรนโบว์เทร้าท์ด้วยอาหารผสมแคโรทีนอยด์จาก<br />

ดอกดาวเรืองที ่ระดับความเข้มข้น 1.8%, พริกแดง 5% และแอสตาแซนทิน 70 มก./กก. เป็ นเวลา 60 วัน พบว่า<br />

น ้าหนักที่เพิ่มขึ<br />

้น และอัตรารอดไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) และดาราวรรณและคณะ (2546) ศึกษาผล<br />

ของแอสตาแซนทินต่อสีของปลากระแห ที่ระดับความเข้มข้นของแอสตาแซนทินที<br />

่ระดับ 0, 25, 50, 100 และ<br />

200 มก./กก. เป็ นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่าอาหารผสมแอสตาแซนทินไม่มีผลต่อการเจริญเติบโต และอัตรารอด<br />

(P>0.05) รวมทั ้งการทดลองของ Ezhil et al. (2008) ทดลองเลี ้ยงปลาสอดแดงหางดาบด้วยอาหารผสมแคโรที<br />

นอยด์จากดอกดาวเรืองที ่ระดับความเข้มข้น 0, 3, 4, 6, 8, และ 15 กรัม/อาหาร 100 กรัม พบว่า น ้าหนักเริ ่มต้น<br />

และน ้าหนักสุดท้ายไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) และพบว่า อัตราการเจริ ญเติบโตมีค่าเท่ากับ<br />

30.6±3.3, 12.2±0.2, 17.2±2.6, 18.5±1.1, -10.5±1.5, 17.4±0.6 และ 8.6±1.1 มิลลิกรัม/กรัม/วัน ตามล าดับ ซึ ่งการ<br />

ให้ปลากินอาหารที่ผสมแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองนั<br />

้นไม่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโตของปลานั ้นเป็ นไป<br />

ได้ว่าแคโรทีนอยด์จัดว่าเป็ นแหล่งของสารสีที ่มีประสิทธิภาพสูงเมื ่อมีการดูดซึมเข้าสู ่ร่างกายจะถูกน าไปใช้<br />

ประโยชน์ในแง่ของการช่วยเพิ่มสีมากกว่าที่จะใช้เป็<br />

นแหล่งของสารอาหาร เนื่องจากแคโรทีนอยด์มีสารอาหาร<br />

ที่มีคุณค่าในปริมาณที<br />

่น้อยและมีการน ามาใช้เป็ นแหล่งของสารสีเพียงอย่างเดียว จากการทดลองพบว่าเมื่อให้<br />

อาหารที่ผสมแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองที<br />

่ระดับ 15 กรัม/100 กรัม มีค่าปริมาณแคโรทีนอยด์รวมในเนื ้อเยื่อ


234 การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั ้งที่<br />

01<br />

ของปลามากที่สุดเท่ากับ<br />

28.48±0.38 ไมโครกรัม/กรัม และในกลุ่มควบคุมมีค่าเท่ากับ 2.76±0.34 ไมโครกรัม/<br />

กรัม<br />

2. ความเข้มสีของปลาทรงเครื่อง<br />

จากการศึกษาค่าการเปลี ่ยนแปลงความเข้มสี ของผิวปลาทรงเครื ่ องที่เลี<br />

้ ยงด้วยอาหารผสมสาร<br />

แคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองที ่ระดับความเข้มข้น 0, 25, 50, 75 และ 100 มก./กก. โดยวัดค่าการเปลี ่ยนแปลง<br />

ของสีผิวบริเวณล าตัวด้วยเครื่องวัดสีผิว<br />

(chromameter) อ่านค่าในระบบ CIE L*a*b* ซึ ่งจะท าการวัดเมื่อสิ้นสุด<br />

การทดลองเป็ นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่าปลาที่ได้รับอาหารผสมสารแคโรทีนอยด์ในทุกชุดการทดลอง<br />

มีค่า<br />

ความสว่าง (L*) บริเวณล าตัวของปลาทรงเครื ่อง มีแนวโน้มค่าความสว่างลดลง ซึ ่งเมื่อน<br />

ามาวิเคราะห์ทางสถิติ<br />

พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P0.05) (ตารางที่<br />

2 และภาพที่<br />

1)<br />

เ มื่<br />

อ ค ร บ 12 สั ป ด า ห์ ป ล า ท ร ง เ ค รื่<br />

อ ง ใ น ชุ ด ก า ร ท ด ล อ ง ที่<br />

เ ลี ้ ย ง ด้ ว ย อ า ห า ร ผ ส ม ส า ร<br />

แคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองที ่ระดับความเข้มข้น 75 และ 100 มก./กก. มีค่าความสว่างน้อยที ่สุด คือ<br />

42.42±0.82 และ 42.77±1.67 ตามล าดับ ซึ ่ งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P0.05) (ตารางที่<br />

3 และ 4)<br />

่ ่ ้ ตารางที 2 ค่าความสว่าง (L*) ของสี ผิวปลาทรงเครื องที่เลี<br />

ยงด้วยอาหารผสมสารแคโรทีนอยด์จากดอก<br />

ดาวเรืองที่ระดับความเข้มข้นต่างกัน<br />

ความเข้มข้น<br />

แคโรทีนอยด์<br />

ระยะเวลา (สัปดาห์)<br />

(มก./กก.) 0 12<br />

0 47.28±0.08 a 46.19±0.69ª<br />

25 47.28±0.08 a 44.64±0.68 ab<br />

50 47.28±0.08 a 43.92±0.16 ab<br />

75 47.28±0.08 a 42.42±0.82 b<br />

100 47.28±0.08 a 42.77±1.67 b<br />

*ค่าที่แสดงในตารางเป็<br />

น ค่าเฉลี่ย±S.E.<br />

*อักษรที่ไม่ต่างกันในแนวเดียวกัน<br />

หมายถึงไม่แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P>0.05)


การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั ้งที่<br />

01 235<br />

่ ตารางที 3 ค่าความเข้มของสีแดง (a*) ของสีผิวปลาทรงเครื ่องที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารผสมสารแคโรทีนอยด์จากดอก<br />

ดาวเรืองที่ระดับความเข้มข้นต่างกัน<br />

ความเข้มข้น<br />

แคโรทีนอยด์<br />

ระยะเวลา (สัปดาห์)<br />

(มก./กก.) 0 12<br />

0 0.98±0.10 0.94±0.08<br />

25 0.98±0.10 1.04±0.10<br />

50<br />

75<br />

0.98±0.10<br />

0.98±0.10<br />

0.69±0.14<br />

0.61±0.07<br />

100 0.98±0.10 0.80±0.17<br />

*ค่าที่แสดงในตารางเป็<br />

น ค่าเฉลี่ย±S.E.<br />

่ ตารางที 4 ค่าความเข้มของสีเหลือง (b*) ของสีผิวปลาทรงเครื่องที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารผสมสารแคโรทีนอยด์จาก<br />

ดอกดาวเรืองที่ระดับความเข้มข้นต่างกัน<br />

ความเข้มข้น<br />

แคโรทีนอยด์<br />

ระยะเวลา (สัปดาห์)<br />

(มก./กก.) 0 12<br />

0 0.17±0.22 0.20±0.23<br />

25 0.17±0.22 0.01±0.10<br />

50 0.17±0.22<br />

0.05±0.10<br />

75 0.17±0.22 0.00±0.17<br />

100 0.17±0.22 0.48±0.36<br />

*ค่าที่แสดงในตารางเป็<br />

น ค่าเฉลี่ย±S.E.<br />

ซึ ่ งสอดคล้องกับ Kalinowski et al. (2005) ทดลองเลี ้ ยงปลา red porgy ด้วยอาหารที ่ผสม<br />

แคนทาแซนทินสังเคราะห์ที ่ระดับความเข้มข้น 40 และ 100 มก./กก. และอาหารที่ผสมแอสตาแซนทินจาก<br />

เปลือกกุ้งที่ระดับความเข้มข้น<br />

20 และ 40 มก./กก. เป็ นระยะเวลา 105 วัน โดยท าการวัดสีบริเวณด้านข้างล าตัว,<br />

ด้านหน้าของครีบหลัง และด้านหน้าของครีบหาง พบว่า ค่าความสว่าง (L*) ในบริเวณผิวด้านข้างล าตัว,<br />

ด้านหน้าของครีบหลัง และด้านหน้าของครีบหาง ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) ทั ้งนี ้ความเข้มของสี<br />

ปลาจะเพิ่มขึ<br />

้นตามล าดับความเข้มข้นของปริมาณแคโรทีนอยด์ที่ได้รับจากการผสมลงในอาหาร<br />

และระยะเวลา<br />

ในการกินอาหาร โดยปลานั ้นจะดูดซึมสารแคโรทีนอยด์ที่บริเวณทางเดินอาหาร<br />

แล้วจะส่งไปตามอวัยวะต่างๆ<br />

เช่น เกล็ด เป็ นต้น ท าให้เกล็ดมีสีเข้มขึ ้นและเกิดสีแตกต่างกันไป (Kiessling et al., 2006) เมื่อสิ้นสุดการทดลอง<br />

พบว่าปลาทรงเครื่องมีสีผิวเข้มจึงท<br />

าให้ค่าความสว่าง (L*), ค่าเข้มสีแดง (a*) และความเข้มของสีเหลืองมีค่า<br />

ลดลง


236 การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั ้งที่<br />

01<br />

ค่าการเปลี่ยนแปลงของสีผิว<br />

ปลาทรงเครื่อง<br />

ค่าการเปลี่ยนแปลงของสีผิว<br />

ปลาทรงเครื่อง<br />

ค่าการเปลี่ยนแปลงของสีผิว<br />

ปลาทรงเครื่อง<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

1.5<br />

1<br />

0.5<br />

0<br />

0.60<br />

0.40<br />

0.20<br />

0.00<br />

ควบคุม 25% 50% 75% 100%<br />

ระดับความเข มข น<br />

ควบคุม 25% 50% 75% 100%<br />

ระดับความเข มข น<br />

ควบคุม 25% 50% 75% 100%<br />

ระดับความเข มข น<br />

ภาพที่<br />

1 ค่าความสว่าง (L*), ค่าความเข้มของสี แดง (a*) และความเข้มของสี เหลือง (b*) ของสี ผิว<br />

ปลาทรงเครื่องที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารผสมสารแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองที ่ระดับความเข้มข้นต่างกัน<br />

สรุปผลการทดลอง<br />

ในการใช้สารแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองในอาหารที ่ระดับความเข้มข้น 0, 25, 50, 75 และ 100 มก./<br />

กก. พบว่าสารแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองไม่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต อัตราการเจริญเติบโตเฉลี ่ยต่อวัน<br />

และอัตราการรอดตายของปลาทรงเครื ่อง ซึ ่งในทุกชุดการทดลองไม่มีความแตกต่างกัน (P>0.05) ส่วนค่าการ<br />

เปลี่ยนแปลงความเข้มสีของผิวปลาทรงเครื<br />

่องที่เลี<br />

้ยงด้วยอาหารผสมสารแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองที ่ระดับ<br />

ความเข้มข้น 75 และ 100 มก./กก. พบว่าท าให้ปลาทรงเครื่องมีสีผิวเข้มโดยมีค่าความสว่าง<br />

(L*), ค่าเข้มสีแดง<br />

(a*) และความเข้มของสีเหลืองมีค่าลดลง ดังนั ้นในการเลี ้ยงปลาทรงเครื ่องให้มีสีเข้มควรเลี ้ยงด้วยอาหารที ่ผสม<br />

สารแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองที่ระดับ<br />

75 มก./กก. ซึ ่งท าให้ปลามีสีเข้มที ่สุดจะมีค่าความสว่าง (L*) ต ่าที่สุด<br />

a<br />

L<br />

b


การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั ้งที่<br />

01 237<br />

เอกสารอ างอิง<br />

ดาราวรรณ ยุทธยงค์, จูอะดี พงศ์มณีรัตน์ และ สนธิพันธุ์ ผาสุกดี. 2546. ผลของแอสตาแซนทินในอาหารต่อสี<br />

ปลากระแห. หน้า 45 ใน การประชุมวิชาการประมงประจ าปี 2546.กรุงเทพฯ:กรมประมง.<br />

Buyukcapar, H.M., Yanar, M. & Yanar, Y. (2005). Pigmentation of rainbow trout (Oncorhynchus mykiss)<br />

with carotenoids from marigold flower (Tagetes erecta) and red pepper (Capsicum annuum). Turk. J.<br />

Vet. Anim. Sci, 31(1), 7-12.<br />

Ezhil, J., Jeyanthi, C. & Narayanan, M. (2008). Marigold as a carotenoid source on pigmentation and growth<br />

of red Swordtail, Xiphophorus helleri. Turkish Journal of Fisheries and Aquatic Sciences, 8, 99-102.<br />

Kalinowski, C.T., Robiana, L.E., Fernandez-Palacios, H., Schuchardt, D. & Izquierdo, M.S. (2005). Effect of<br />

different carotenoid sources and their dietary levels on red porgy (Pagrus pagrus) growth and skin<br />

colour. Aquaculture, 244, 223-231.<br />

Kiessling, A., Bakshish, D., Koppe, W. & Higgs, D. (2006). Relationship between blood and muscle levels of<br />

astaxanthin in dorsal aorta cannulated Atlantic salmon. Aquaculture, 254, 653-657.<br />

Lewis, D.H., Bloor, S.J. & Schwin, K.E. (1998). Flavonoid and carotenoid pigments in flower tissue of<br />

Sandersonia aurantiaca (Hook). Scientia Horticulture, 72, 179-192.<br />

Mora, G. Ingle de la, Arredondo-Figueroa, J.L., Ponce-Palafox, J.T., Angeles Barriga-Soca, I. delos &<br />

Vernon-Carter, J.E. (2006). Comparison of red chilli (Capsicum annuum) oleorescin and astaxanthin<br />

on rainbow trout (Oncorhyncus mykiss) fillet pigmentation. Aquaculture, 258, 4<strong>87</strong>-495.<br />

Wang, Y-J., Chien, Y-H. & Pan, C.H. (2006). Effect of dietary supplementation of carotenoids on survival,<br />

growth, pigmentation, and antioxidant capacity of characins, Hyphessobrycon callistus. Aquaculture,<br />

261, 641-648.<br />

Yanar, Y., Buyukcapar, H., Yanar, M. & Gocer, M. (2007). Effect of carotenoids from red pepper and<br />

marigold flower on pigmentation, sensory properties and fatty acid compodition of rainbow trout.<br />

Food Chemistry, 100, 326-330.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!