08.06.2013 Views

ธรรมะใกล้ตัว

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ฉบับที่<br />

๐๗๒<br />

๒๓ ก.ค. ๕๒<br />

Free Online Magazine<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ธรรมะสำหรับคนยุคใหม่ ที่อยู่ใกล้แค่เอื้อม<br />

http://dungtrin.com/dharmaathand/<br />

ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

วิชาความรู้ทั่วๆ<br />

ไป อาจเพียงพอต่อ<br />

การดำารงชีพ แต่ไม่เพียงพอต่อ<br />

การดำารงอยู่อย่างมีความสุข<br />

dharma at hand<br />

ไดอารี่หมอดู<br />

ใครที่กำาลังเป็นทุกข์เพราะหนี้<br />

มีคำาแนะนำาดีๆ อีกเช่นเคย<br />

อ่านแล้วมีกำาลังใจอยากยิ้มสู้<br />

สัพเพเหระธรรม<br />

ในความรู้สึกของคนทั่วไป<br />

“ยิ่งให้<br />

ยิ่งเสีย”<br />

แต่คุณบัวตอง<br />

บอกเราว่า “ยิ่งให้<br />

ยิ่งได้”<br />

หน้า ๘ หน้า ๑๔ หน้า ๑๙


ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

๘<br />

ไดอารี่หมอดู<br />

๑๔<br />

สัพเพเหระธรรม ๑๙<br />

• ยิ่งให้<br />

ยิ่งได้<br />

เรื่องสั้นอิงธรรมะ<br />

๒๒<br />

• ธรรมะ เสมือนลมหายใจ<br />

รูปชวนคิด ๒๖<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

ที ่ปรึกษาและผู ้จุดประกาย: ศรันย์ ไมตรีเวช<br />

หัวหน้าบรรณาธิการ<br />

จากใจบ.ก.ใกล้ตัว: เยวลักษณ์ เกิดปรโมทย์<br />

ธรรมะจากพระผู ้รู ้: ชนินทร์ อรีหนู<br />

ไดอารี ่หมอดู: จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ<br />

โหรา (ไม่) คาใจ: จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ<br />

กวีธรรม: ศิรภรณ์ อภิรัฐ<br />

คำาคมชวนคิด: ศิรภรณ์ อภิรัฐ<br />

สัพเพเหระธรรม: ชนินทร์ อรีหนู<br />

ธรรมะจากคนสู ้กิเลส: ณัฐธีร ปนิทนเต<br />

ของฝากจากหมอ: พริม ทัพวงศ์<br />

แง่คิดจากหนัง: เกสร เติมสินวณิช<br />

นิยาย/เรื ่องสั ้นอิงธรรมะ: จรินทร์ธร<br />

ธนชัยหิรัญศิริ<br />

พาเที ่ยว เอี ่ยวธรรม: เกสร เติมสินวณิช<br />

ธรรมะกับไลฟ์สไตล์: สิทธินันท์ ชนะรัตน์<br />

รูปชวนคิด: รวิษฎ ดวงมณี<br />

กองบรรณาธิการ: กนกเรข กฤษฎรักษ์<br />

กนต์พัทธ์ รัชพันธ • กิษร รัตนภิรัต<br />

จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ • ชนินทร์ อรีหนู<br />

ณัฐชญ บุญมนันท์ • ณัฐธีร ปนิทนเต<br />

ณัฐพร สกุลอุทัยศักดิ ์ • ปรียภรณ์ เจริญบุตร<br />

ปิยมงคล โชติกเสถียร • พรวพรรณรย<br />

มัลลิกะมลย์ ทองเลี ่ยมนค<br />

พรหมเนตร สมรักษ์ • พิจิตร โตวิวิชญ์<br />

พิท จรุพูนผล • พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

มยุรฉัตร พงษ์ผตินันท์ • เมธี ตั ้งตรงจิตร<br />

เยวลักษณ์ เกิดปรโมทย์ • วรงคณ บุตรดี<br />

วิบูรณ์ศักดิ ์ ใจภักดี • วิมล ถวรวิภส<br />

วิมุตติย นิวดังบงกช • ศดนัน จรุพูนผล<br />

ศศิธร ศิวะนันทกรณ์ • ศิรภรณ์ อภิรัฐ<br />

สมเจตน์ ศฤงครรัตนะ • สริณี สณะเสน<br />

สิทธินันท์ ชนะรัตน์ • สุปรณี วอง<br />

อนัญญ์อร ยิ ่งชล • อนัญญ เรืองม<br />

อมร ตั ้งบริบูรณ์รัตน์ • อัจจน ผลนุวัตร<br />

ฝ่ายรวบรวมบทความ: สิทธินันท์ ชนะรัตน์<br />

ฝ่ายสื ่อเสียงอ่านนิตยสาร: อนุสรณ์ ตรีโสภ<br />

ฝ่ายสื ่อเว็บไซต์: สมเจตน์ ศฤงครรัตนะ<br />

ไพลิน ลยสนิทเสรีกุล • กฤษฎ์ อักษรวงศ์<br />

ฝ่ายสื ่อ Word: พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

ฝ่ายสื ่อ PDF: บุณยศักดิ ์ ธีรวงศ์กิจ<br />

เกียรติภูมิ จรุเสน<br />

ฝ่ายระบบ Send mail: สมเจตน์ ศฤงครรัตนะ<br />

ภาพปก: กวิน ฉัตรนนท์<br />

และทีมงนอสท่นอื ่นๆ อีกจำนวนมก<br />

ท่านสามารถรับนิตยสารฉบับนี<br />

้ได้<br />

ในรูปแบบ เสียงอ่าน · Word


จากใจบ.ก.ใกล้ตัว<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ผมได้รับเชิญจากกรมสุขภาพจิต<br />

ให้ไปบรรยายเพื่อสร้างกาลังใจฝ่าวิกฤต<br />

ซึ่งปัจจุบันมีแต่เรื่องทาให้ผู้คนห่อเหี่ยว<br />

ไหนจะเศรษฐกิจ ไหนจะไข้หวัด<br />

ระหว่างที่ผมเตรียมเอกสาร<br />

ก็รู้สึกว่าอยากเผื่อแผ่หัวข้อหลัก<br />

ซึ่งผมออกแบบไว้ให้เป็นวาทะ<br />

มีใจความต่อเนื่องกัน<br />

ให้ท่านทั้งหลายที่ติดตาม<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>ได้อ่าน<br />

เผื่อเป็นกาลังใจสาหรับใครที่อาจจะกาลังต้องการครับ<br />

- ในโลกนี้มีหลายสิ่งเกิดขึ้นจริง<br />

แต่ไม่มีสิ่งใดเลยที่เป็นตัวเป็นตนจริงๆ<br />

ไม่นานก็<br />

ต้องเปลี่ยนจากความเป็นอย่างหนึ่งไปสู่ความเป็นอีกอย่างหนึ่งแล้ว<br />

- แต่ละปีคือขั้นบันไดลงสู่หลุมศพ<br />

ทุกขั้นบันไดมีทั้งเสบียงและความว่างเปล่าโรย<br />

อยู่<br />

แล้วแต่คุณจะมองเห็นอะไรก่อน และเต็มใจเก็บอะไรไปบ้าง<br />

- ถ้าแม้แต่ตาที่ใสสว่างยังมองไม่เห็นขั้นปัจจุบัน<br />

แล้วใจที่มืดบอดจะเห็นขั้นต่อไป<br />

ได้อย่างไร<br />

- การเสียเวลาให้กับความเศร้าหนึ่งนาที<br />

อาจไม่ได้หมายถึงการสูญเวลาในชีวิตไป<br />

เปล่าๆแค่หนึ่งนาที<br />

แต่อาจหมายถึงนาทีแรกของปีที่สูญเปล่าเลยก็ได้<br />

- ไข้หนักอาจห้ามไม่ให้คุณขยับตัวไปทาความดี หรือกระทั่งง้างกรามขึ้นพูดดี<br />

แต่มันไม่สามารถห้ามคุณให้เลิกคิดอะไรดีๆได้เลย<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

3


- คุณจะรู้ว่าร่างกายแข็งแรงแค่ไหนก็จากความสามารถต้านไข้<br />

หรือความรวดเร็ว<br />

ในการฟื้นไข้<br />

และคุณจะรู้ว่าจิตใจเข้มแข็งขนาดไหน<br />

ก็จากความสามารถต้าน<br />

ความเศร้า หรือความรวดเร็วในการหายเศร้า<br />

- ถ้าจะพักอย่าพักแบบนิ่งซมคล้ายตายแล้ว<br />

แต่ให้นิ่งพักอย่างรู้สึกว่ายังมีชีวิตอยู่<br />

- แม้คุณจะยังไม่พบหลักฐานว่าชีวิตมีค่า แต่ศรัทธาในคุณค่าของชีวิตจะทาให้คุณ<br />

มีแก่ใจใช้ชีวิตอย่างดี จนกระทั่งกลายเป็นชีวิตดีๆ<br />

ควรค่าแก่การเกิดมา<br />

- ร่างของคนตายไม่แตกต่างกัน และไม่แน่ว่าคนเป็นจะต่างจากคนตาย วิธีแน่ใจ<br />

ว่าคุณแตกต่างจากคนตาย คือการไม่ปล่อยให้นาทีนี้ผ่านไปด้วยอาการงอมือ<br />

งอเท้า<br />

- การรู้ตัวว่ายังมีชีวิตไม่ใช่เรื่องน่าดีใจ<br />

ความภูมิใจในการมีชีวิตต่างหากที่ใช่<br />

- อยู่อย่างไร้ค่า<br />

เพราะไม่หาเรื่องน่าภูมิใจให้ตัวเองทา<br />

- คนส่วนใหญ่ใช้เวลาเกือบทั้งชีวิตไปในการทาเรื่องน่าอาย<br />

แต่ชั่วขณะที่ทาก็<br />

สาคัญว่าเป็นเรื่องน่าภูมิใจ<br />

- โลกจะเปลี่ยนแปลงไปนิดหนึ่ง<br />

ในทันทีที่คุณแตกต่างไปจากเดิม<br />

- พายุฝันที่วกวนขณะหลับตาไม่ใช่คาพยากรณ์<br />

ไฟฝันที่ลุกโชนขณะลืมตาต่างหาก<br />

ที่ใช่<br />

- คุณจะใช้ชีวิตอย่างไรก็เป็นทุกข์อยู่ดี<br />

แต่โดยแท้ที่จริงแล้ว<br />

คุณไม่จาเป็นต้องเป็น<br />

ทุกข์ก็ได้<br />

ดังตฤณ<br />

กรกฎาคม ๕๒<br />

4 <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


เรื่องน่าสนใจประจาฉบับ<br />

วิชาความรู้ทั่วๆ<br />

ไป อาจเพียงพอต่อการดารงชีพ<br />

แต่ไม่เพียงพอต่อการดารงอยู่อย่างมีความสุข<br />

เมื่อเป็นเช่นนั้น<br />

จะต้องเรียนรู้ด้วยวิธีไหน<br />

จึงได้ชื่อว่าเป็นนักศึกษาผู้ชาญฉลาด<br />

พบคาตอบได้ที่คอลัมน์<br />

“ธรรมะจากพระผู้รู้”<br />

ค่ะ_/\_<br />

ใครที่กาลังเป็นทุกข์เพราะหนี้<br />

พลาดไม่ได้กับ “ไดอารี่หมอดู”<br />

ฉบับนี้นะคะ<br />

“หมอพีร์” มาพร้อมคาแนะนาดีๆ อีกเช่นเคย<br />

รับรองว่า คนเป็นหนี้อ่านแล้วจะมีกาลังใจอยากยิ้มสู้<br />

มากกว่าอยากอมทุกข์ค่ะ<br />

หากมีใครสักคนตั้งคาถามว่า<br />

“ธรรมะคืออะไร?”<br />

คาตอบคงมีหลากหลายตามความเข้าใจของแต่ละคน<br />

สาหรับ “คุณอิกคิว” เจ้าของเรื่องสั้นประจาฉบับนี้<br />

เขาได้เปรียบเทียบไว้ว่า “ธรรมะเสมือนลมหายใจ”<br />

อยากทราบว่าธรรมะกับลมหายใจเหมือนกันอย่างไร<br />

ติดตามได้ในคอลัมน์ “เรื่องสั้น”<br />

ค่ะ<br />

ในความรู้สึกของคนทั่วไปนั้น<br />

ยิ่งให้มากเท่าไหร่<br />

ย่อมต้องเสียไปมากเท่านั้น<br />

แต่ “คุณบัวตอง” กลับบอกเราว่า “ยิ่งให้<br />

ยิ่งได้”<br />

ถ้าสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร<br />

หาคาตอบได้ที่คอลัมน์<br />

“สัพเพเหระธรรม” ค่ะ<br />

“รูปชวนคิด” ฉบับนี้<br />

ลองมาเปลี่ยนบรรยากาศชมรูปสวยๆ<br />

จากคุณผู้อ่านกันดูบ้างนะคะ<br />

ทั้งฝีมือการถ่ายภาพ<br />

และลีลาการบรรยาย<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

5


เชื่อแน่ว่า<br />

จะเป็นแรงบันดาลใจให้กับอีกหลายคน<br />

อยากส่งรูปมาร่วมแบ่งปันกับพวกเราในฉบับต่อๆ ไปอย่างแน่นอนค่ะ<br />

<br />

ข่าวสารและกิจกรรมที่น่าสนใจ<br />

• สวนสันติธรรมฝากขอความร่วมมือทุกๆ ท่าน<br />

ในการเดินทางมาร่วมฟังธรรมกับหลวงพ่อทั้งที่วัดและนอกสถานที่<br />

ขอให้ท่านที่มีอาการป่วย<br />

หรือมีความเสี่ยงในการติดเชื้อหวัด<br />

ไข้หวัดใหญ่<br />

หรือไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ กรุณางดการเดินทางมาฟังธรรมเป็นการชั่วคราว<br />

และสาหรับผู้ที่มาฟังธรรม<br />

กรุณาสวมหน้ากากอนามัยด้วยค่ะ<br />

• คุณผู้อ่านท่านใดที่ไม่ต้องการให้เข้าพรรษาปีนี้<br />

ผ่านไปอย่างไร้คุณค่า<br />

ขอเชิญร่วมกันสร้างอธิษฐานบารมีและสัจจะบารมี ทาความดีในช่วงเข้าพรรษา<br />

หรือร่วมอนุโมทนาบุญกันได้ที่<br />

http://www.dlitemag.com/forum/index.php?board=33.0 ค่ะ _/\_<br />

• ท่านที่สนใจจะคุยกับคุณดังตฤณสดๆ<br />

ในหัวข้อ “คู่มือกรรมพยากรณ์”<br />

กรุณาแสดงความจานง โดยส่งอีเมล์มาที่<br />

dungtrintalk@hotmail.com<br />

พร้อมแจ้งชื่อและเบอร์โทรศัพท์<br />

ภายในวันอาทิตย์ที่<br />

๒๖ กรกฎาคมนี้<br />

ทางรายการจะติดต่อกลับไปเพื่อนัดบันทึกเสียงค่ะ<br />

สามารถฟังตัวอย่างรายการคุยกับดังตฤณได้ที่<br />

www.goodfamilychannel.com ค่ะ<br />

• แฟนๆ รายการ “คุ้ยแคะแกะกรรมกับหมอพีร์”<br />

ที่ออกอากาศทาง<br />

http://www.goodfamilychannel.com<br />

ไม่ต้องคอยชะเง้อชะแง้แล้วนะคะ ว่าถึงคราวของเราหรือยัง<br />

ทุกครั้งที่พบกับคอลัมน์หมอพีร์<br />

ในนิตยสาร<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ทางรายการก็จะอัพตอนใหม่ขึ้นให้ฟังด้วยพร้อมกันเลยค่ะ<br />

ส่วนท่านผู้อ่านคนไหน<br />

ต้องการให้หมอพีร์ดูดวงผ่านรายการวิทยุ โดยไม่เสีย<br />

6 <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ค่าใช้จ่ายใดๆ<br />

อย่าลืมอีเมล์มาที่<br />

diarymordo@hotmail.com นะคะ<br />

• เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกให้กับผู้ที่ชอบฟังธรรมผ่านโทรศัพท์มือถือ<br />

ขณะนี้<br />

สามารถดาวน์โหลดไฟล์ MP3 เสียงเทศน์ของหลวงพ่อปราโมทย์<br />

ได้ที่<br />

http://wimutti.net/mobile/ ด้วยขนาดเพียง ๑๖ Kbps เท่านั้นค่ะ<br />

<br />

พบกันใหม่พฤหัสหน้ากับฉบับ Lite ที<br />

่ http://www.dlitemag.com<br />

สวัสดีค่ะ<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

7


พระอาจารย์ปราโมทย์ ปาโมชฺโช<br />

8<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ถาม : ถ้าเราเอาใจใส่พากเพียรร่าเรียนศึกษาวิชาความรู้ต่างๆให้มากๆแล้ว<br />

จะเพียง<br />

พอสาหรับการมีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุขหรือยังครับ<br />

คนมีความรู้ดีอย่างเดียวไม่พอ<br />

ยิ่งมีความรู้ดี<br />

แต่ความประพฤติไม่ดีนะ<br />

มันก็เป็นโจรที่เก่ง<br />

อันตรายที่สุดเลย<br />

บ้านเมืองเราตอนนี้น่ากลัว<br />

บ้านเมืองเราน่ากลัว<br />

คนมีความรู้ความสามารถมีมาก<br />

อัตราคนรู้หนังสือ<br />

อัตราอะไรพวกนี้ของเราสูง<br />

แต่ว่ามันเป็นสังคมที่<br />

corrupted สังคมที่ค่อนข้างทุจริต<br />

นักการเมืองก็ไม่ซื่อกับประชาชน<br />

แต่ละคนๆ ก็มีปัญหาทั้งนั้นเลย<br />

แล้วทาเป็นยิ้มๆ<br />

นะ ในบ้านเรามีปัญหามั้ย<br />

มีเหมือนกัน<br />

ลูกศิษย์กับอาจารย์ก็มีปัญหา หรือนายจ้างลูกจ้างก็มีปัญหา<br />

ปัญหามันสารพัดปัญหาเลย<br />

จุดใหญ่ใจความคือ คนเรามีความรู้นะ<br />

มีความสามารถ แต่ขาดจริยธรรม ขาดคุณธรรม<br />

เพราะฉะนั้น<br />

การที่อาจารย์ซุปพยายามส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้พวกเราด้วย<br />

แทนที่เราจะเป็นคนเก่ง<br />

อย่างเก่งคณิตศาสตร์อย่างเดียว ไม่พอนะ<br />

คนเก่งอย่างเดียว ไม่มีคุณธรรม เป็นคนเก่งที่ชั่ว<br />

เป็นคนชั่วที่น่ากลัวที่สุดเลย<br />

น่ากลัวกว่าพวกโง่ๆ ที่ชั่วอีก<br />

เพราะฉะนั้น<br />

พวกเราต้องฝึกฝนตัวเอง<br />

วิชาความรู้ทางวิชาการ<br />

เราต้องพัฒนาให้ทันโลก<br />

แต่ทางจิตใจเราต้องทันใจตัวเอง ไม่ใช่ทันโลกข้างนอกนะ


วิชาการเราต้องทันโลก<br />

แต่ด้านจิตใจเราต้องรู้ทันใจตัวเองให้มาก<br />

คนไหนไม่รู้ทันใจตนเองจะตกเป็นเหยื่อ<br />

จาไว้นะพวกเด็กๆ เราจะกลายเป็นเหยื่อ<br />

อย่างคนเขาผลิตสินค้าอะไรขึ้นมา<br />

แล้วเขามายั่วเราให้เราอยากได้นะ<br />

เราอยากได้ก็หาเงินมา ขอพ่อขอแม่นะ พ่อแม่ก็ลาบากจะแย่อยู่แล้วยุคนี้<br />

เราก็อยากได้ เรามีความอยากเยอะ บางคนก็หาเงินด้วยวิธีที่ไม่สุจริต<br />

เพราะฉะนั้น<br />

เราต้องพยายามพัฒนาตัวเองให้ได้ จิตใจของเรานี่<br />

การพัฒนาความรู้ความสามารถทางโลกๆ<br />

ก็เรียนกับอาจารย์ซุปไปนะ<br />

แต่อาจารย์ซุปก็เป็นลูกศิษย์หลวงพ่อเหมือนกัน<br />

ไปเรียนพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และก็มีฝีมือด้วยนะ<br />

หลวงพ่อเห็นไปทาหนังสือมาเล่มนึง ไปหาอ่านเอานะ<br />

ทาขายหรือทาแจก ...ทาแจกนะ<br />

โอ้ ลงทุนไม่ใช่น้อยๆ นะ เล่มหนึ่ง<br />

ๆ อุตส่าห์ตั้งอกตั้งใจทา<br />

(หนังสือที่กล่าวถึงในที่นี้<br />

คือ หนังสือ “ข้างในนั้น”)<br />

พยายามเอาเนื้อหาธรรมะที่หลวงพ่อสอน<br />

เอามาแปลให้ง่ายๆ<br />

ความจริงถึงไม่แปลเด็กรุ่นนี้ก็ค่อนข้างรู้เรื่องนะ<br />

เด็กรุ่นนี้ไม่โง่หรอก<br />

มันแกล้งโง่ แกล้งโง่ตามใจกิเลสเท่านั้นเอง<br />

นี่ขั้นแรกเลยนะ<br />

ถ้าเราอยากพัฒนาจิตใจของเราให้มันสูงขึ้นไป<br />

ขั้นแรกเลยเราต้องมีศีล<br />

พยายามถือศีลห้า<br />

ศีลห้าเป็นเรื่องของคนฉลาดนะ<br />

ศีลห้าไม่ใช่ถือไปให้ลาบาก คนที่มีศีลคือคนที่มีความสุข<br />

อย่างคนที่คิดจะไปฆ่าเขา<br />

คิดจะไปต่อยเขา ลาบากกว่าคนที่ไม่ฆ่าใช่ไหม<br />

คนที่คิดจะไปขโมยเขา<br />

มันลาบากกว่าคนที่คิดจะไม่ขโมย<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

9


คนที่จะไปเป็นชู้กับเขาอะไรอย่างนี้นะ<br />

มันลาบากกว่าคนที่ซื่อสัตย์กับคู่ของตัวเอง<br />

คนโกหกก็ลาบากนะ ต้องใช้ความจามาก<br />

มีใครจะโกหกหลวงพ่อว่าไม่เคยโกหกมีไหมในห้องนี้<br />

มันก็เคยกันทุกคนล่ะนะ แต่ว่าเราไปเห็นว่ามันเป็นความผิดเล็กๆ น้อยๆ<br />

แต่ความผิดใหญ่ๆ นี่ก็มาจากความผิดเล็กๆ<br />

ทั้งนั้น<br />

เริ่มต้นเด็กๆ<br />

ก็โกหกเล่นๆ ต่อไปก็โกหกจริงจัง<br />

เวลาคนที่จะโกหกนะ<br />

ต้องใช้ความจาเยอะใช่ไหม<br />

เราไปพูดกับคนนี้ไว้อย่างนี้<br />

เราต้องจานะ<br />

เดี๋ยวเราไปพูดทีหลังไม่เหมือนกันเขาจับได้<br />

ส่วนคนพูดความจริงไม่ต้องจามาก ความจริงมันไม่ต้องจา<br />

เพราะฉะนั้น<br />

อย่างคนมีศีลนะสบาย อย่าไปนึกนะว่าเราถือศีลแล้วลาบาก<br />

คนบางคนเข้าใจผิดว่าถือศีลแล้วจะลาบาก<br />

จริงๆ ศีลทาไว้ให้เรามีความสุขเรามีความสบาย<br />

มีศีลอย่างเดียวเท่านี้ไม่พอนะ<br />

แค่นี้ยังไม่พอที่จะสู้กับสิ่งยั่วยวน<br />

ซึ่งสารพัดจริงๆ<br />

เลยทุกวันนี้<br />

สิ่งยั่วยวนนี้สารพัดไปหมด<br />

มันจะหลอกให้เราเป็นเหยื่อลูกเดียว<br />

คนที่ตกเป็นเหยื่อคนอื่นได้นี่<br />

ขั้นแรกเลย<br />

ต้องเป็นเหยื่อกิเลสภายในใจของเราก่อน<br />

ถ้าเราไม่เป็นเหยื่อกิเลสในใจของเรา<br />

เราจะไม่เป็นเหยื่อของคนอื่น<br />

เพราะฉะนั้น<br />

เราต้องรู้ทัน<br />

ขั้นแรกเราถือศีลไว้นะ<br />

ไม่ทาชั่วไม่ทาอะไร<br />

เสร็จแล้วเรามาคอยรู้ทันใจของเราไว้<br />

ใจของเรามีความอยากเกิดขึ้น<br />

เราคอยรู้<br />

ศาสตร์ของศาสนาพุทธเป็นศาสตร์ที่อัศจรรย์มากเลย<br />

วิชาความรู้ทั้งหลายที่เราเคยเรียน<br />

กระบวนการศึกษาหาความรู้นะ<br />

เราคุ้นเคยกับการอ่านใช่ไหม<br />

การอ่านการฟัง อ่านตารา<br />

10 <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


หรือฟังอาจารย์ซุป ฟังพี่ชายอาจารย์ซุป<br />

อันนี้คือความรู้ที่ถ่ายทอดมาจากคนอื่นนะ<br />

ดีเหมือนกัน<br />

เราคุ้นเคยกับการหาความรู้ด้วยการอ่าน<br />

ด้วยการฟัง หรือด้วยการคิด<br />

มันมีวิธีหาความรู้อีกอย่างหนึ่ง<br />

เป็นวิธีหาความรู้ของคนที่ฉลาดมากเลย<br />

คือ การสังเกตการณ์<br />

ทาตัวเป็นผู้สังเกตการณ์นะ<br />

เป็น observer เป็นคนคอยสังเกตการณ์<br />

การที่เราคอยสังเกตการณ์การทางานในใจเรา<br />

คอยรู้ทันตัวเองเรื่อยๆ<br />

การรู้ทันตัวเองเป็นเรื่องยิ่งใหญ่มากเลย<br />

รู้ทันคนอื่นนะเรื่องธรรมดาๆ<br />

นะ แต่รู้ทันใจตัวเองนะยากที่สุดเลย<br />

เพราะฉะนั้น<br />

เราต้องคอยดูให้รู้ทัน<br />

ใจเราเกิดความรู้สึกใดๆ<br />

เกิดขึ้น<br />

มันอยากโน้นอยากนี้ขึ้นมา<br />

เรารู้<br />

มันโมโหขึ้นมา<br />

เรารู้<br />

มันเหม่อๆ มันใจลอย รู้จักใจลอยมั้ย<br />

รู้จักเหม่อมั้ย<br />

ไปสังเกตนะ วันหนึ่งเหม่อบ่อยๆ<br />

เหม่อทั้งวันเลย<br />

เดี๋ยวก็เหม่อแวบ<br />

เดี๋ยวก็เหม่อแวบ<br />

ให้เราคอยรู้ทันใจตัวเองนะ<br />

หัดรู้ทันใจตัวเอง<br />

แต่ละคนก็อยากมีคนรู้ใจ<br />

แต่ไม่มีใครยอมรู้ใจตัวเอง<br />

ใจของตัวเองยังไม่รู้เลย<br />

จะให้คนอื่นเขามารู้ใจ<br />

เพราะฉะนั้น<br />

เราต้องคอยรู้ใจตัวเองนะ<br />

ใจเรามีความอยากอะไรเกิดขึ้นนะ<br />

คอยรู้ทันมัน<br />

ใจเรามีความโกรธ ความหงุดหงิด ความกลัว ความกังวล<br />

อย่างนักศึกษานักเรียนนี่จะสอบเข้ามหาวิทยาลัย<br />

กังวล<br />

ถ้าเราภาวนาเป็นนะ เรารู้ทันใจที่กังวลเลย<br />

ความกังวลจะกระเด็นหายไปต่อหน้าต่อตาเราเลย<br />

ศาสนาพุทธไม่ใช่เรื่องกิ๊กๆ<br />

ก๊อกๆ นะ ไม่ใช่ปรัชญาเลื่อนๆ<br />

ลอยๆ<br />

ศาสนาพุทธเป็นศาสตร์สาขาหนึ่งเลย<br />

เป็นศาสตร์ที่จะสอนเราว่า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

11


ทายังไงเราจะสามารถมีชีวิตแบบไม่มีความทุกข์ได้<br />

หรือทุกข์ก็ทุกข์น้อยๆ<br />

คนที่เรียนกับหลวงพ่อนี่ซักเดือนหนึ่ง<br />

เขาจะพบความเปลี่ยนแปลงในตัวเอง<br />

ไม่นานนะ<br />

ใช้เวลาซักเดือนเท่านั้นเอง<br />

ถ้าไม่ดื้อนะ<br />

ถ้าดื้อมากๆ<br />

หลายปีก็ไม่รู้เรื่องหรอก<br />

แต่ถ้าไม่ดื้อนะ<br />

คอยรู้สึกตัวขึ้นมา<br />

แล้วดูกายมันเคลื่อนไหว<br />

ดูใจมันเคลื่อนไหว<br />

คอยรู้สึกตัวเองไว้<br />

คอยศึกษาตัวเอง นี่<br />

ทาตัวเป็นคนสังเกตการณ์<br />

เห็นร่างกายมันทางาน เห็นจิตใจมันทางาน ทาตัวเป็นแค่ผู้สังเกตการณ์<br />

ถ้าเราสังเกตไปเรื่อย<br />

เราจะค่อยๆ เห็น<br />

กายนี้ใจนี้มันทางานไปเรื่อย<br />

เสร็จแล้วเราจะเห็นด้วยว่า<br />

กระบวนการที่ให้เกิดความทุกข์ในใจเรานี่<br />

มันมาได้ยังไง<br />

ใจมันจะมีความอยาก ทีแรกมันไปคิดก่อนนะ คิดๆ คิดโน่น คิดนี่<br />

แล้วมันก็จะมีความอยากขึ้นมา<br />

อยากอย่างโน้นอยากอย่างนี้<br />

พอใจมีความอยาก ใจจะเริ่มดิ้น<br />

เห็นมั้ย<br />

มีกระบวนการนะ มีกระบวนการ<br />

พอใจมันดิ้นๆ<br />

ขึ้นมา<br />

ความทุกข์ในใจมันจะเกิดขึ้น<br />

แต่ถ้าใจมันรู้<br />

ใจมันตื่น<br />

ใจมันเบิกบานขึ้นมา<br />

ใจไม่ดิ้นรนนะ<br />

ใจไม่มีความหิว ใจก็ไม่มีความทุกข์<br />

ใจมันหิวได้ เหมือนท้องเราหิวได้นะ ใจเราก็หิวได้<br />

แถมใจนี่หิวบ่อยกว่าท้องอีก<br />

ท้องเรานะ ถ้าไม่ตะกละใช่ไหม<br />

วันละมื้อสองมื้อมันก็พออิ่มแล้ว<br />

แต่ใจเราหิวตลอดเวลาเลย<br />

ถ้าเรารู้ทันนะ<br />

ความหิวนั้นจะหายไป<br />

ความอยากจะหายไป แล้วความดิ้นรนจะหายไป<br />

พอจิตใจหมดความอยากหมดความดิ้นรน<br />

จิตใจจะมีแต่ความสุขล้วนๆ เลย<br />

เพราะฉะนั้น<br />

ต้องฝึกนะ ต้องฝึก มันเป็นศาสตร์ของความพ้นทุกข์<br />

ศาสตร์อันนี้ต้องเรียน<br />

นึกเอาเองไม่ได้<br />

12 <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


พวกเราบางคนอยากปฏิบัติ อยากพ้นทุกข์<br />

ก็ไปนั่งสมาธิให้ใจนิ่งๆ<br />

เคลิ้มๆ<br />

นะ นั่งแล้วเห็นโน่นเห็นนี่<br />

อันนั้นไม่ใช่ศาสนาพุทธแท้ๆ<br />

หรอก เป็นผิวๆ เป็นเปลือกๆ เท่านั้นเอง<br />

๗ มกราคม ๒๕๕๒ (ตอนแรก)<br />

สถาบันกวดวิชา ซุปเค เซ็นเตอร์<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

13


ไดอารี่หมอดูประจาฉบับที่<br />

๗๓<br />

โดย หมอพีร์<br />

กรกฎาคม ๒๕๕๒<br />

สวัสดีค่ะทุกคนที่อ่านไดอารี่หมอดู<br />

14<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ไดอารี่หมอดู<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

เข้าพรรษาที่ผ่านมาไปทาบุญที่ไหนกันมาบ้างคะ<br />

พีร์เองไปทาบุญถวายหลอดไฟฟ้า<br />

กับของใช้ที่จาเป็นทั่วไป<br />

ถวายติดกันสามวัดเลยค่ะ เอาบุญมาฝากให้อนุโมทนากัน<br />

นะคะ และก็ขออนุโมทนากับทุกคนที่ทาความดีกันนะคะ<br />

คราวนี้พีร์ไปวัดที่ทางใต้สองวันค่ะ<br />

หลวงพ่อท่านเทศน์เรื่องความไม่ประมาทติดกัน<br />

ทั้งสองวัน<br />

ท่านสอนว่าชีวิตมนุษย์บอบบางมาก เราไม่ประมาทคนอื่นก็ประมาท<br />

แม้กระทั่งการขับรถบนท้องถนน<br />

ถึงเราไม่ประมาทแต่คนอื่นที่ประมาทมีมาก<br />

ทั้งเมาสุรายาเสพติดต่าง<br />

ๆ ดังนั้นเข้าพรรษานี้หลวงพ่อท่านบอกว่าให้เร่งทาความดี<br />

กันโดยให้เริ่มจากเรื่องง่าย<br />

ๆ เช่น คนที่สูบบุหรี่ให้งดสูบบุหรี่<br />

คนที่ภาวนาต้องขยัน<br />

ให้มาก ๆ กว่าที่ผ่านมา<br />

ไม่ใช่ให้ความขี้เกียจขี้คร้านครอบงาจิตใจ<br />

ฟังเทศน์ที่วัดแต่ละครั้งกลับมาจะเกิดกาลังใจในการภาวนามาก<br />

ๆ เลยค่ะ<br />

แต่ถ้าช่วงไหนไม่ได้เข้าวัดฟังธรรมสนทนาธรรมจะทาให้ขี้เกียจภาวนาได้ง่าย<br />

ๆ<br />

พอขี้เกียจไม่ขยันภาวนา<br />

ก็จะยิ่งทาให้ไม่อยากพบหน้าครูบาอาจารย์<br />

เพราะจิตใจ<br />

จะเกิดความละอายมากขึ้นเรื่อย<br />

ๆ สุดท้ายก็กลายเป็นข้ออ้างของกิเลส<br />

ทาให้เกิดการผลัดวันประกันพรุ่ง<br />

ในการเข้าหาครูบาอาจารย์ไปตลอด<br />

การที่เข้าหาครูบาอาจารย์หรือเข้าหาหมู่คณะเพื่อนฝูงที่ภาวนาจะทาให้เกิดพลังใน<br />

การปฏิบัติได้ดีค่ะ<br />

สาหรับอาทิตย์นี้มีเรื่องราวที่น่าสนใจอยู่เรื่องหนึ่งค่ะ<br />

มีโอกาสได้พบผู้ชายคนหนึ่ง<br />

อายุประมาณสี่สิบกว่า<br />

ๆ ลักษณะผิวค่อนข้างคล้า<br />

น้องสาวพีร์แจ้งมาว่าไม่ต้องเก็บ<br />

เงินพี่ผู้ชายคนนี้นะ<br />

มีพี่คนหนึ่งเขาโอนจ่ายให้แล้ว<br />

เขานัดไว้ตอนเย็นเป็นคนสุดท้าย


พอดี พี่เขามารอก่อนเวลาที่นัดประมาณห้านาทีได้<br />

เชิญเข้ามาในห้อง พอเห็นหน้า<br />

ก็รู้สึกว่าจิตใจพี่เขาเต็มไปด้วยความทุกข์<br />

จิตใจมืดสนิทเหมือนกาลังตกนรกบนดิน<br />

กลิ่นอายความทุกข์ในใจโชยออกมาทาให้รู้สึกได้ว่ากาลังแบกทุกข์ไว้เต็มหัวใจ<br />

พอคานวณดวงออกมารู้เลยว่าทาไมจึงมีคนจ่ายค่าดูดวงให้<br />

ดวงที่มีปัญหาคือเรื่อง<br />

เงิน ดวงการเงินชนกับดาวเคราะห์ชื่อมรณะ<br />

ดวงเพื่อนดวงสังคมชนดาวเคราะห์<br />

ชื่อหินะ<br />

ปัญหาหลักในดวงคือการเงิน นอกจากนั้นดวงการเงินยังชนกับดาวที่แทน<br />

ค่าตัวเองด้วย สรุปออกมาว่า ความทุกข์เรื่องการเงินอาจถึงขั้นทาให้ฆ่าตัวตายได้<br />

ซึ่งโหวงเฮ้งของพี่เค้าก็แสดงให้เห็นว่าเคยผิดศีลข้อลักทรัพย์มาก่อน<br />

ใบหน้าจะมี<br />

ลักษณะที่ไม่หน้าไว้ใจไม่น่าเชื่อถือ<br />

ดูฉลาดแกมโกงนิด ๆ แต่จิตใจในปัจจุบัน<br />

แตกต่างกับใบหน้า จิตใจไม่คิดจะโกงใคร มักให้การช่วยเหลือคนอื่นมากกว่าเอา<br />

จากคนอื่น<br />

สังเกตจากร่างกายพี่เขาก็มีบาดแผลที่บ่งบอกถึงการฆ่าตัวตายมาจริง<br />

ๆ แขนมีรอย<br />

มีดกรีดเป็นแผลยาวหลายแผล ร่างกายโทรมมาก ๆ เลยบอกพี่เขาไปว่า<br />

ดวงพี่มี<br />

กรรมติดตัวมาคือเรื่องการเงิน<br />

สิ่งที่ทาให้เป็นทุกข์คือเรื่องเงิน<br />

จะไว้ใจใครไม่ได้เรื่อง<br />

เงิน แม้กระทั่งเพื่อนสนิทไม่อย่างนั้นจะโดนโกงได้ง่าย<br />

ๆ วิบากกรรมเรื่องเงินจะ<br />

คอยตามทวงให้ต้องมีเรื่องเสียเงินตลอดเวลา<br />

แถมยังผลักดันให้เป็นทุกข์ และเกิด<br />

หนี้สินได้ง่าย<br />

ๆ ในบางครั้งบีบคั้นให้ทุกข์จนถึงขั้นต้องคิดฆ่าตัวตายด้วย<br />

ตอนนั้นจิตพี่เขาเกิดความเข้าใจในตัวเองมากขึ้น<br />

และบอกออกมาว่าผมโดนโกงมา<br />

ตลอด เมื่อก่อนเคยทางานบริษัท<br />

จากนั้นลาออกมาทางานของตัวเองกับเพื่อน<br />

โดนเพื่อนโกงจนหมดตัวเป็นหนี้<br />

ทุกข์จนฆ่าตัวตายมาแล้วครับ แต่มีคนมาช่วยไว้ได้<br />

ทันทุกครั้ง<br />

หลังจากนั้นก็เป็นเหมือนวงจรอุบาทว์<br />

พอใช้หนี้หมดก็มาเป็นหนี้ใหม่อีก<br />

วนเวียนแบบนี้มาตลอด<br />

ผมฆ่าตัวตายมาสามสี่รอบไม่เคยได้ตายเลยครับ<br />

มีคนช่วย<br />

ไว้ทัน ก็บอกพี่เขาไปอีกว่าที่ไม่ตายนั้น<br />

เกิดจากการที่เคยทาผิดแต่สานึกผิดกลับตัว<br />

กลับใจมาก่อนเลยทาให้ไม่ตาย นิสัยในชาติปัจจุบันจึงไม่มีจิตคิดเอาเปรียบใครก่อน<br />

เหมือนอดีต<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

15


คราวนี้เป็นหนี้อีกมันทาให้ผมทุกข์<br />

พอโดนโกงไปเลยแยกตัวออกมาเปิดร้านรับซ่อม<br />

เครื่องใช้ไฟฟ้าของตัวเอง<br />

ก็ไม่ค่อยมีลูกค้า ตอนนี้มีแค่รายได้ของภรรยาจากการ<br />

ขายก๋วยเตี๋ยวได้วันละไม่เท่าไหร่หักใช้หนี้ก็หมด<br />

ลูกสี่คนได้เรียนหนังสือแค่คนเล็ก<br />

คนเดียว พี่<br />

ๆ อีกสามคนก็ไม่ได้เรียนเพราะส่งไม่ไหว (ฟังแล้วก็สลดใจตามคาพูด<br />

เขาเหมือนกันค่ะ) ปัญหาหนักที่เจอตอนนี้คือไม่มีลูกค้ามาที่ร้านเลย<br />

สารวจจากดวงพี่เขาความจริงไม่ได้เป็นดวงตกอับเรื่องงานเลย<br />

สถานการณ์ที่แย่เกิด<br />

จากจิตใจที่เป็นทุกข์มาก<br />

จิตใจมีความแค้นพยาบาทคนที่ทาร้ายตัวเขาจนทาให้เป็น<br />

ทุกข์ และยังเกิดจากการเกลียดสภาวะที่เป็นแบบเดิมคือเป็นหนี้อีก<br />

ไม่อยากจะเป็น<br />

หนี้<br />

อยากหายจากการเป็นหนี้<br />

พอจิตพยาบาทผนวกกับการเกลียดสภาวะเดิม ๆ<br />

ยิ่งขังตัวเองให้ทุกข์มากขึ้น<br />

ทาให้งานไม่เข้า<br />

ความทุกข์ที่เกิดขึ้นในตอนนี้เกิดจากจิตใจมีปัญหา<br />

และยิ่งจิตใจมืดมีแต่อกุศล<br />

ย่อมไม่ดึงดูดเรื่องที่ดีแม้แต่นิดเดียว<br />

ไม่ดึงดูดลาภลอย ไม่ดึงดูดช่องทางหาเงิน<br />

เพราะความมืดในจิตบิดบังทุกสิ่งไว้หมด<br />

ความจริงหนี้ของพี่เขาไม่น่าจะมาก<br />

ถามกลับไปว่าพี่เป็นหนี้ทั้งหมดเท่าไหร่<br />

เขาบอกออกมาว่าห้าหมื่น<br />

คิดในใจไว้อยู่<br />

แล้วว่าไม่น่าจะมาก บอกเขาไปว่าบางคนเป็นหนี้เป็นสิบล้านความทุกข์ของเขายังไม่<br />

เท่าพี่เลย<br />

ถามต่อไปว่าที่พี่ทุกข์เพราะเป็นอย่างที่บอกมาใช่ไหมค่ะ<br />

เขารับสารภาพว่าแค้น<br />

เพื่อนคนนั้นมาก<br />

ไม่อย่างนั้นชีวิตคงไม่แย่อย่างนี้<br />

คิดตลอดว่าไม่อยากให้เป็นแบบนี้<br />

ไม่อยากเจอแบบนี้<br />

จึงบอกเขาให้เริ่มต้นจากการให้อภัยมันเป็นวิบากที่ต้องใช้<br />

ส่วน<br />

ความอยากที่จะหมดหนี้<br />

ให้ใจเย็น ๆ ก่อน สภาพแบบนี้พี่หาเงินใช้หนี้ไม่ได้แน่นอน<br />

ต้องปรับที่ใจก่อน<br />

ความสามารถที่พี่มีอยู่มันมากพอที่จะหางานบริษัททาหรือหางาน<br />

เพิ่มโดยการโฆษณาติดประกาศเพิ่ม<br />

ซึ่งถ้าได้งานยังไงก็ใช้หมด<br />

หนี้เหล่านี้ถ้าไม่คิด<br />

หนีค่อย ๆ ต่อรองก็ยังได้ ที่สาคัญอย่าปล่อยใจจมแช่ความเศร้าหมอง<br />

ความหดหู่<br />

กับความทุกข์แบบนี้<br />

จิตที่เป็นแบบนี้จะทาให้งานจะไม่เข้าไปเรื่อย<br />

ๆ และทาให้ไม่มี<br />

ไอเดียในการปรับปรุงธุรกิจ งานมีปัญหาต้องรีบแก้ไขไม่ใช่ปล่อยเลยตามเลย สังคม<br />

เศรษฐกิจแย่ คนยิ่งไม่อยากซื้อของใหม่<br />

งานซ่อมยิ่งได้รับความสนใจ<br />

ช่องทาง<br />

16 <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


หากินมีอีกมาก จิตใจเขาเกิดความสะดุ้งขึ้นมานิดหนึ่งเริ่มเห็นอาการทางใจที่เปลี่ยน<br />

ไป จึงชี้ให้พี่เขาเห็นว่าเห็นไหมการให้อภัยในใจทาให้เบาขึ้นหัวไม่หนักเหมือนเมื้อกี้<br />

การแก้ไขจิตใจที่ซึมก็ให้เล่นกีฬาบ่อย<br />

ๆ หรือลองเดินจงกรมดูไหม พื้นจิตใจของพี่<br />

เขามีธรรมะระดับหนึ่งเลยสอนเดินจงกรม<br />

พี่เขาสามารถทาได้เลยให้เดินจงกรม<br />

หลายรอบจนจิตใจคลายจากความซึมเศร้า จิตใจเขาหายทุกข์ เลยชี้ให้เขาเห็นอีก<br />

ว่าการขยับตัวจะทาให้จิตใจไม่ซึมเศร้าแบบนี้ให้ทาบ่อย<br />

ๆ ได้ไหม เขารับปากจะทา<br />

นี่เป็นอีกหนึ่งความดีที่จะทาให้พี่วิ่งหนีกรรมเรื่องเงินได้<br />

จิตใจที่มีความสุขในการเดิน<br />

จงกรมเป็นกุศลที่ทาให้ใจสว่างขึ้นมา<br />

การที่จิตมีความสว่างจิตจะกุศลเป็นตัวดึงดูด<br />

ความโชคดี ลาภลอยทางการงานให้เข้ามาในชีวิต กลับไปให้ทาทุกวันนะ และให้<br />

กลับไปทาความสะอาดร้านก่อนเลยเริ่มต้นใหม่<br />

กุศลต่อไปที่ควรสร้างคือกตัญญูกับแม่<br />

สนใจดูแลท่าน พี่เขาบอกว่าแม่เสียแล้ว<br />

ก็<br />

ไม่ยากเวลาที่มีจิตใจความสุขให้อุทิศส่วนกุศลให้แม่<br />

นอกจากนั้นให้เริ่มต้นสวดมนต์<br />

ทุกคืนให้หนังสือสวดมนต์ไปหนึ่งเล่ม<br />

และให้เริ่มต้นทาทานด้วยการอนุโมทนาเวลา<br />

เห็นคนอื่นใส่บาตร<br />

หรือเห็นคนอื่นทาความดีในรูปแบบอื่น<br />

ๆ ไม่ว่าจะเป็นจูงคนแก่<br />

ข้ามถนน ส่วนตนเองเวลาเจออะไรที่ต้องช่วยเหลือคนอื่นที่ทาได้ให้รีบทา<br />

และถ้า<br />

ที่บ้านขายก๋วยเตี๋ยวให้เอาใส่บาตรบ้างไม่จาเป็นต้องซื้อ<br />

เศษอาหารที่เหลือจากการ<br />

ขายอาหารให้เก็บไว้ให้สุนัขข้างทาง ก็เป็นการให้ทานแล้ว<br />

ผลของการให้อภัยทาน การทาความดีในทางภาวนา การทาทานจากเรื่องเล็ก<br />

ๆ<br />

จะดึงดูดเรื่องอื่นเอง<br />

ชี้ให้พี่เขาเห็นอีกว่าที่ผ่านมาไม่ได้ทาบุญเลยใช่ไหม<br />

นอกจาก<br />

การให้ความรู้คนอื่น<br />

ใช่ครับปรกติที่ผ่านมาให้แต่ความรู้คนอื่น<br />

ผลของการให้ความ<br />

รู้อื่นก็ไม่เคยหายไปไหนนะ<br />

ทาให้พี่มีความสามารถในการซ่อมได้ดีไงคะ<br />

เขาอมยิ้ม<br />

จิตเกิดปิติจากบุญของตัวเอง บอกเขาไปอีกว่าต่อไปนี้เรื่องไม่ดีให้ทิ้งไป<br />

ให้นึกถึง<br />

เรื่องดีที่สร้างสมไว้นะ<br />

การคิดถึงบุญจะสว่างมากกว่าการคิดถึงความแค้น<br />

ความโชคร้ายในชีวิต เห็นใจที่มีความสุขขึ้นไหม<br />

พี่เขาพยักหน้าบอกว่าเบาขึ้นมาก<br />

จะกลับไปทาดูตามคาแนะนา<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

17


18<br />

การทางานจะรุ่งเรืองขึ้นมาได้ต้องทาแล้วไม่ทิ้ง<br />

หาทางแก้ไขปัญหาทุกทาง<br />

วิธีนี้ไม่ดีหาวิธีใหม่<br />

ต้องมีสักทางที่จะทาให้ดีขึ้นมาได้<br />

ไม่ปล่อยใจให้จมลงกับความ<br />

ทุกข์เพราะจมลงไปหมายถึงจะตันทันที<br />

ความเป็นจริงมนุษย์เราสามารถเริ่มสร้างความดีได้ไม่ยาก<br />

แต่คนเรามักจะคิดว่า<br />

ต้องใช้เงินเยอะ ต้องมีเงินถึงจะทาบุญได้ มีกุศลหลายอย่างที่เริ่มทาได้ไม่ยาก<br />

เช่น<br />

การให้อภัย การคิดถึงความดีที่ทามา<br />

การรักษาศีล การให้ทานสัตว์ การสอนคน<br />

อื่น<br />

จิตที่เคล้าเคลียกับบุญจะดึงดูดความโชคดี<br />

จิตที่เคล้าเคลียกับความทุกข์ความ<br />

พยาบาททาให้ดึงดูดเรื่องไม่ดี<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

<br />

รายการวิทยุออนไลน์ “คุ้ยแคะแกะกรรมกับหมอพีร์”<br />

ขอเชิญชวนคุณผู้อ่าน<br />

แวะไปร่วมฟังหมอพีร์พูดคุยและคุ้ยแคะแกะกรรม<br />

ในบรรยากาศสบาย ๆ กับตอนใหม่ล่าสุดกันได้ทุกสองสัปดาห์<br />

ที่<br />

www.goodfamilychannel.com นะคะ<br />

สาหรับฉบับนี้<br />

พบกับตอนล่าสุด<br />

ไดอารี่หมอดู<br />

คุ้ยแคะแกะกรรมกับหมอพีร์<br />

ตอน 11<br />

“ตกงานมาห้าเดือนแล้ว... เปิดกิจการของตัวเองดีกว่า แล้วมันจะรวยมั้ยค่ะ<br />

หมอพีร์”<br />

ลิงก์: http://www.goodfamilychannel.com/video/216/ใหม่ไดอารี่หมอดู-คุ้ย<br />

แคะแกะกรรมกับหมอพีร์-ตอน-11<br />

ไดอารี่หมอดู<br />

คุ้ยแคะแกะกรรมกับหมอพีร์<br />

ตอน 12<br />

“คุณปูสงสัยทาไมช่วงนี้ดวง<br />

งาน เงิน ความรัก มันถึงตกพร้อมกัน มันตกจริงๆ<br />

หรือ ????”<br />

ลิงก์: http://www.goodfamilychannel.com/video/218/ใหม่ไดอารี่หมอดู-คุ้ย<br />

แคะแกะกรรมกับหมอพีร์-ตอน-12<br />

ท่านที่สนใจพูดคุยกับหมอพีร์ในรายการ<br />

ส่งคาถามมาได้ที่<br />

diarymordo@hotmail.com นะคะ<br />

สารบัญ


สัพเพเหระธรรม<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ยิ่งให้<br />

ยิ่งได้<br />

โดย บัวตอง<br />

ในยุคเศรษฐกิจตกสะเก็ดเช่นนี้เรื่องเงินๆ<br />

ทองๆ ยังเป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจของ<br />

คนทั่วไป<br />

โดยเฉพาะ คนไม่ค่อยมีทรัพย์สินหลายคนในยุคนี้หูผึ่งทันทีที่ได้ยินคาว่า<br />

“รายได้เสริม” หรือ “ทากาไรได้จานวนมาก” มิใช่หมายความว่าคนที่ชื่นชอบเงิน<br />

เป็นคนไม่ดี แต่แท้จริงแล้วมีบางสิ่งบางอย่างซ่อนหน้าอยู่ภายใต้คาว่า<br />

เงินตรา<br />

ในสมัยก่อนที่ข้าพเจ้าเพิ่งเรียนจบใหม่ๆ<br />

การหางานที่ได้ค่าตอบแทนสูงหรือที่เรียก<br />

ว่าเงินเดือนดีนั้น<br />

เป็นสิ่งที่อยู่ในความสนใจอันดับต้นๆ<br />

ของบัณฑิตไร้ประสบการณ์<br />

ทุกคนไม่เว้นแม้แต่ตัวข้าพเจ้าเอง<br />

ยังจาได้ว่าในบทสัมภาษณ์เข้าทางานตอนหนึ่งของบริษัทในเครือซีเมนต์ไทย<br />

(ปี ๒๕๓๗) พนักงานอาวุโสฝ่ายบุคคลผู้สัมภาษณ์<br />

ได้ยิงคาถามจี้ใจดาในตอนหนึ่ง<br />

ของการสัมภาษณ์ว่า คุณคิดว่าเงินเดือนเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดหรือเปล่าในการเลือก<br />

ทางานกับองค์กรใดๆ ก็ตาม (ต้องนึกภาพว่าสมัยนั้นเศรษฐกิจยังดีกว่าปัจจุบันมาก<br />

ลูกจ้างจึงเป็นฝ่ายเลือกนายจ้างได้ ไม่เหมือนกับในสมัยนี้)<br />

ในตอนนั้นข้าพเจ้ายังขาดประสบการณ์นักทั้งในเรื่องการทางานและปรัชญา<br />

การดาเนินชีวิต จาได้ว่าได้ตอบเค้าไปตามจริงในขณะนั้น<br />

“ใช่ค่ะ” เพราะนึกไม่<br />

ออกจริงๆ ว่านอกจากเงินเดือนแล้ว ยังมีปัจจัยอะไรบ้างที่ต้องคานึงถึงอีก<br />

หลังจาก<br />

นั้นเค้าได้พูดอะไรอีกซัก<br />

๒-๓ ประโยค แล้วเราก็ร่าลากัน<br />

วันเวลาผ่านไปหลายปี ข้าพเจ้าได้ลืมคาพูดปริศนาประโยคนั้นไปนานแล้ว<br />

จวบจน<br />

กระทั่ง<br />

ประสบการณ์ชีวิตได้ตกตะกอน......... ในวันหนึ่งข้าพเจ้ามีโอกาสทางานทาง<br />

ด้านการตลาดกับทีมงานรุ่นน้อง<br />

และประโยคหนึ่งได้หลุดออกมาจากปากข้าพเจ้า<br />

“เวลาทางานให้ทาด้วยใจ เรารู้ว่าเงินเป็นปัจจัยสาคัญในการมีชีวิตอยู่ในยุคนี้<br />

แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าเราจาเป็นต้องทางานเพื่อเงิน”<br />

หลุดปากพูดออกไปก็<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

19


สะดุ้งในใจด้วยคุ้นๆ<br />

ว่าเคยได้ยินประโยคคล้ายกันนี้ที่ไหน<br />

กลับไปบ้านจึงถึงบางอ้อ<br />

มันเป็นประโยคเดียวกับที่พนักงานฝ่ายบุคคลท่านนั้นได้พยายามอธิบายให้ข้าพเจ้า<br />

ฟังเมื่อ<br />

๑๕ ปี ที่แล้วนั่นเอง<br />

หลายคนอาจงงและเกิดข้อโต้แย้งในใจว่า มันจะเป็น<br />

ไปได้อย่างไร ถ้าเราไม่ได้ทางานเพื่อเงิน<br />

เมื่อตอนข้าพเจ้าจบใหม่ๆ<br />

ก็คิดเช่นนี้<br />

เหมือนกัน<br />

หินในแม่น้าได้ถูกสายน้ากัดเซาะ<br />

กัดกร่อนจนกลมเกลี้ยงฉันใด<br />

วันเวลาที่พัดผ่าน<br />

บวกประสบการณ์ถูกผิดก็ได้ลับคมความคิดของข้าพเจ้าให้ชัดเจนในชีวิตมากขึ้น<br />

ฉันนั้น<br />

จวบจนวันนี้จึงได้เข้าใจว่า<br />

การที่เราไม่ได้คาดหวังว่าจะทางานเพื่อเงิน<br />

แต่เล็งเป้าเข้ามาที่ผลงานที่กาลังจะเกิดขึ้น<br />

ว่ามันจะสามารถทาประโยชน์ให้ผู้อื่นได้<br />

มากเท่าใดต่างหาก เป็นหัวใจสาคัญของการทางานและการประสบความสาเร็จใน<br />

ชีวิต การทางานด้วยหัวใจรัก และหมั่นพิจารณาไตร่ตรองหาทางแก้ไขปรับปรุงโดย<br />

ไม่ย่อท้อ ทาให้เกิดผลงานที่ยิ่งใหญ่เพราะมันเกิดขึ้นจากความคิดจะเป็นผู้ให้ตั้งแต่<br />

เริ่มแรก<br />

หัวใจของผู้ให้เป็นหัวใจที่ยิ่งใหญ่<br />

มีพลังแห่งความเมตตา ลองนึกภาพการให้อาหาร<br />

หมาแมวจรจัด หรือสัตว์ที่เรารู้ว่ายังไงซะมันก็คงไม่สามารถตอบแทนอะไรเราได้<br />

มากกว่าการมองตาปริบๆ ด้วยความขอบคุณ หรืออย่างดีก็ประจบประแจง<br />

เลียแข้งเลียขาก็เท่านั้น<br />

เมื่อเรามีใจคิดจะให้ด้วยเมตตา<br />

จิตนั้นจะดึงดูดสิ่งที่เป็นบวก<br />

กลับมาหาเรารวมถึงเงิน แม้เราจะต้องการมันหรือไม่ก็ตาม<br />

เมื่อเดือนก่อนข้าพเจ้ามีโอกาสปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานกับแม่ชีท่านหนึ่งที่วัด<br />

ในจังหวัดชลบุรี ท่านให้แง่คิดในเรื่องเงินไว้ดังนี้<br />

“ไม่ต้องดิ้นรนวิ่งหามัน<br />

แต่ถ้าเราดีพอ เงินจะวิ่งตามหาเราเอง<br />

ไม่ว่าเราจะอยู่ที่ใด<br />

ก็ตาม เงินจะตามเราจนพบ” เหมือนกับลูกศิษย์แม่ชีท่านหนึ่ง<br />

ทางานเลี้ยงชีพใน<br />

ทางโลก ส่วนในทางธรรมก็ปฏิบัติวิปัสสนาเป็นประจา เค้ามิได้ต้องการความร่ารวย<br />

ทางานเพื่อเลี้ยงชีพเท่านั้นเอง<br />

แต่ผลจากการถือศีลและปฏิบัติธรรมส่งผลให้เค้าเป็น<br />

คนที่อยู่ด้วยแล้วเย็น<br />

ใครๆ ก็อยากเข้าใกล้ อยากพูดคุย อยากร่วมงานด้วย<br />

ท้ายที่สุดมีคนสั่งซื้อสินค้า<br />

(order) จากเค้าเป็นจานวนมาก ทาให้มีกาไรมาก<br />

เค้าแบ่งปันบางส่วนไปทาบุญทาทาน นอกจากนั้น<br />

การที่มี<br />

order จากลูกค้า<br />

20 <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


รายเดียวจานวนมาก ทาให้ไม่ต้องเสียเวลาไปหาลูกค้าเพิ่ม<br />

เค้าจึงมีเวลาปฏิบัติ<br />

ธรรมที่วัดต่อได้อีก<br />

ในเรื่องนี้<br />

หากพิจารณาดูแล้ว ก็ตรงกับหลักการทางานของพระพุทธเจ้า นั่นคือ<br />

หลัก อิทธิบาท ๔<br />

๑. ฉันทะ มีความชอบ และมีใจรักในงานที่ทา<br />

๒. วิริยะ ความขยันหมั่นเพียร<br />

อดทน ไม่ย่นย่อต่อการงานทั้งหลาย<br />

๓. จิตตะ มุ่งมั่น<br />

ฝึกฝน มีใจจดจ่อในงานตลอดเวลา<br />

๔. วิมังสา หมั่นพิจารณาตรวจตราแก้ไข<br />

ปรับปรุง จนกว่างานนั้นจะบรรลุผล<br />

สาเร็จ<br />

นอกจากนั้นแล้ว<br />

หากต้องการเป็นคนมั่งมี<br />

ก็ต้องรู้จักวิธีใช้เงิน<br />

(ไม่ยอมให้เงินใช้เรา<br />

ให้ทางานเพื่อมัน)<br />

และเรื่องที่สาคัญที่สุดที่ข้าพเจ้าได้รับการสั่งสอนจาก<br />

ครูบาอาจารย์ทั้งทางโลกและทางธรรม<br />

ก็คือการแบ่งปัน ท่านว่า ยิ่งให้<br />

ก็ยิ่งได้รับ<br />

ยิ่งเป็นการให้โดยไม่หวังผลตอบแทนด้วยแล้วนั้นเป็นเรื่องแปลก<br />

กลับทาให้ยิ่งได้รับ<br />

มากขึ้นเป็นทวีคูณ<br />

กฎยิ่งให้ก็ยิ่งได้รับนี้<br />

ข้าพเจ้าได้มีโอกาสพิสูจน์มาแล้วใน ๒ ปีที่ผ่านมา<br />

ข้าพเจ้า<br />

ทางานด้วยความสุขยิ่งนัก<br />

ทุกๆ วันทาหน้าที่ของตนโดยคานึงถึงผลแห่งงาน<br />

ว่าจะ<br />

สามารถสร้างประโยชน์และความสุขให้กับผู้อื่นได้มากน้อยเพียงไร<br />

อีกทั้ง<br />

การทางานด้วยความรักความชอบ (ฉันทะ) ในงานที่ทานั้นเอง<br />

ทาให้เราได้ถอย<br />

ออกมาอีกก้าวเพื่อสารวจตัวเอง<br />

โดยเอาเรื่องเงินไว้เป็นประเด็นหลังๆ<br />

ทาให้ใจมี<br />

อิสระในการสร้างสรรค์ สมองโปร่งใส คิดอ่านได้แหลมคมขึ้น<br />

ทาให้มองเห็นโอกาส<br />

ที่แต่ก่อนไม่เคยมองเห็นมาก่อน<br />

แล้วลงมือทาอย่างจริงจัง จนกระทั่งงานสาเร็จ<br />

ไม่น่าเชื่อ<br />

เงินวิ่งตามมาจริงๆ<br />

ด้วย ..........<br />

คาเตือน : ต่อให้วันนั้นคุณวิ่งหนี<br />

เงินก็จะตามจนพบและพยายามเคาะประตูมาอยู่<br />

ด้วยจนได้<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

21


ธรรมะ เสมือนลมหายใจ<br />

โดย ท.พ.วิรัช วโนทยาพิทักษ์ (อิกคิว)<br />

22<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

เรื่องสั้นอิงธรรมะ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

“อาจารย์ครับ ผมก็ปฏิบัติธรรมมานานแล้ว ทาไมผมรู้สึกไม่ก้าวหน้าในการปฏิบัติ<br />

ธรรมเลย ผมรู้สึกท้อแท้ครับอาจารย์”<br />

“ก่อนที่ครูจะสอนเธอต่อไป<br />

ในความคิดของเธอ เธอคิดว่าการปฏิบัติธรรมนี้เปรียบ<br />

เสมือนการกระทาอะไร ดังต่อไปนี้<br />

?”<br />

“เสมือนการเรียนในโรงเรียน<br />

เสมือนการรักษาโรคทางใจ<br />

เสมือนการสั่งสมบุญ<br />

เสมือนการได้พักใต้ร่มเงาไม้ใหญ่ หรือศาลาริมทาง<br />

เสมือนการเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางที่ตั้งใจไว้<br />

สิ่งแรกที่เธอทาผิดในการปฏิบัติธรรมก็คือการที่เธอตั้งความหวังในการปฏิบัติธรรม<br />

จิตใจของเธอเต็มไปด้วยความปรารถนาอันเร่าร้อน อันเป็นตัณหาที่คอยขัดขวาง<br />

การปฏิบัติอันเป็นสภาวธรรมที่เธอยังไม่เข้าใจ<br />

และอาจารย์จะเทียบกับสภาพต่างๆ<br />

ที่เธออาจตั้งความหวังเอาไว้ในใจคือ<br />

ถ้าเธอเปรียบการปฏิบัติธรรม<br />

เสมือนสิ่งต่อไปนี้คือ<br />

การเรียนในโรงเรียน เธอจะคิดว่าฉันต้องการเรียนให้ได้คะแนนสูงๆ เกรดดีๆ กว่า<br />

ใครๆอยากได้เกรดเอทุกวิชา เธออยากจบไวๆ อยากบรรลุธรรมไวๆ เธอจะมีแต่<br />

ความโลภ ความเร่าร้อน นี่คือโทษของการคิดแบบนี้<br />

ถ้าเธอมองว่าเป็นยารักษาโรคทางใจ เธอจะเฝ้าเพียรถามหมอว่าเมื่อไหร่โรคจะหาย<br />

เสียที ฉันเสียเงิน เสียเวลามามากแล้วนะ เธอจะมีแต่ความโกรธ นี่คือโทษของการ<br />

คิดแบบนี้


เสมือนการสั่งสมบุญ<br />

เธอจะมีเวลาให้การปฏิบัติน้อย แต่มุ่งแต่จะสั่งสมบุญเพื่อเป็น<br />

เสบียงเพื่อเดินทางในภพหน้า<br />

เพราะมิใช่เป้าหมายที่เธอหวัง<br />

นี่คือโทษของการคิด<br />

แบบนี้<br />

เสมือนการได้หยุดพักใต้ร่มเงาไม้ใหญ่หรือศาลาริมทาง เธอจะพอใจที่จะพักใจ<br />

คลายทุกข์ชั่วคราว<br />

แล้วก็จากไป หรือเธออาจจะภูมิใจในความสุขอันเนื่องจากสมาธิ<br />

จะทาให้เธอไม่ก้าวหน้าในการเจริญปัญญา เพราะความหลงเพลินในสมาธิสุขทาให้<br />

เธอเสียเวลาจากการหยุดพัก และเธอก็อาจไม่อยากเดินทางต่อไป เพื่อไปสู่จุดหมาย<br />

ปลายทาง เพราะคิดว่าสิ่งนี้เป็นเป้าหมายของตนในการปฏิบัติธรรม<br />

นี่คือโทษของ<br />

การคิดแบบนี้<br />

เสมือนการเดินทางอันเร่งรีบเพื่อไปยังจุดหมายปลายทางที่ตั้งใจไว้<br />

เธอจะจ้องแต่<br />

เป้าหมายด้วยจิตใจที่รุ่มร้อน<br />

อยากให้ถึงเส้นชัยเร็วๆ เธอจะไม่ใช้ชีวิตในปัจจุบัน<br />

เธอจะขาดสติ นี่คือโทษของความคิดแบบนี้”<br />

“แล้วผมควรคิดอย่างไรดีครับ?” ลูกศิษย์ใจร้อนถาม<br />

“เธอควรคิดว่า ธรรมะนี้คือการมีชีวิตเพื่อที่จะเรียนรู้ความจริงของชีวิต<br />

มีชีวิตเพื่อที่<br />

จะมีชีวิต มีเพียงขณะปัจจุบันเท่านั้น<br />

ที่เราจะใช้เพื่อเรียนรู้กายและใจ<br />

เราเป็นเพียง<br />

ผู้เรียนรู้ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริงในปัจจุบัน<br />

ไม่เร่งรีบ ไม่มุ่งหวัง<br />

ไม่ตั้งความ<br />

ปรารถนาใดๆให้ใจเราเร่าร้อน แต่ก็เต็มไปด้วยความสนุกสนานที่จะได้เรียนรู้<br />

เธอจะ<br />

เห็นการทางานของใจที่ทางานทางกายเช่นทางตา<br />

ทางหู และทางความคิด ไม่ว่า<br />

จะดีหรือร้ายพอใจหรือไม่พอใจ เมื่อเราได้เรียนรู้เราจะได้สติขึ้นมาในปัจจุบันขณะ<br />

นั้นเอง<br />

เราจะเห็นว่าทุกอย่างล้วนไม่เที่ยง<br />

เป็นทุกข์ ตั้งอยู่ไม่ได้<br />

สิ่งหนึ่งเกิดขึ้น<br />

สิ่งหนึ่งก็แตกสลายแปรเปลี่ยนสภาพไป<br />

ตัวเราที่จริงแท้ไม่มีอยู่จริง<br />

ใจเธอก็จะคลาย<br />

ความยึดติด และใจก็จะค่อยๆเบาขึ้น<br />

ถ้าเปรียบแล้วธรรมะคงเสมือนลมหายใจของเธอ ที่มีติดตัวเธอมาตั้งแต่เกิดทีเดียว<br />

เธอจะขาดเขาไม่ได้ และเขาจะอยู่กับเธอจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต<br />

ลมหายใจนี้มี<br />

อยู่และเป็นจริงในปัจจุบันนี้เท่านั้น<br />

เป็นเรื่องแปลกที่เธอสัมผัสได้จริง<br />

เพราะว่าไม่มี<br />

ความทรงจาเกี่ยวกับลมหายใจอยู่เลยในอดีต<br />

และไม่มีความคาดหวังลมหายใจใน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

23


อนาคต ไม่ว่าเธอจะสนใจเขาหรือไม่ เขาก็จะอยู่กับเธอ<br />

เป็นเพื่อนเธอตลอดเวลา<br />

เพียงแต่เธอใส่ใจกับเขา เรียนรู้ที่จะมีสติระลึกถึงเขาเสมอๆ<br />

หายใจเข้าเพื่อรู้สึกถึงความเย็นและการเคลื่อนไหว<br />

หายใจออกเพื่อระลึกถึงความ<br />

อบอุ่นและผ่อนคลาย<br />

ไม่รีบร้อนและไม่ต้องรู้ให้ตลอดเวลา<br />

รู้บ้างเป็นบางครั้งเผลอ<br />

บ้างเป็นส่วนใหญ่ ก็จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ทาให้เธอมีชีวิตในปัจจุบัน<br />

เธอไม่มุ่งหวัง<br />

อนาคตที่ยังมาไม่ถึง<br />

ไม่อาลัยอดีตที่ล่วงไปแล้ว<br />

และเขาจะทาให้เธอกลับมารู้กาย<br />

และใจในปัจจุบัน<br />

เธอย่อมไม่ทวงถามเขาว่าเมื่อไหร่<br />

ฉันจึงจะจบหลักสูตรการปฏิบัติธรรมเสียทีอย่าง<br />

เนรคุณ เพราะไม่ว่าอย่างไร เธอก็ยังต้องหายใจอยู่ตลอดชีวิต<br />

เธอย่อมไม่ทวงถามว่าเมื่อไหร่ฉันจะหายจากโรคทางใจเสียที<br />

เพราะเขาจะยังอยู่เป็น<br />

เพื่อนเธอต่อไปแม้เธอจะหายจากโรคคือกิเลสและความทุกข์<br />

อย่างไรเธอก็ยังต้องอยู่<br />

กับการปฏิบัติธรรมตลอดไป<br />

เธอย่อมไม่มัวหลงในบุญที่สุด<br />

เพราะการกาหนดลมหายใจนี้เลยขั้นทานและศีลแต่<br />

เลยไปถึงขั้นภาวนา<br />

เธอย่อมได้รับผลบุญอันคือความปีติในปัจจุบันนี่เอง<br />

เพราะการกาหนดลมหายใจจะพาเธอสู่การปฏิบัติที่ลัดสั้นที่สุดอยู่แล้ว<br />

เธอไม่ต้อง<br />

กลัวว่าวิถีทางนี้จะเนิ่นช้าแต่อย่างไร<br />

ถ้าจะสรุปสั้นๆให้จาง่ายๆ<br />

ก็คือ ธรรมะเสมือน<br />

ลมหายใจของเรา การปฏิบัติธรรมก็คือ การมีชีวิตที่จะเรียนรู้กายและใจ<br />

เสมือน<br />

การหายใจอยู่ในปัจจุบันนั่นเอง<br />

เธออาจคิดว่าสิ่งนี้ยากเกินไปที่จะทาได้<br />

อยากถามว่าเธอเสียลมหายใจไปเท่าไหร่<br />

แล้วในชาตินี้<br />

และเสียมาแล้วกี่ชาติ<br />

ทาไมเธอไม่สานึกถึงคุณค่าของเขา เรียนรู้และ<br />

มีสติกับเขาเพื่อที่เขาจะได้เป็นเพื่อนที่ดีกับเธอไปจนถึงวันสุดท้ายของชีวิต”<br />

24 <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


“ครับอาจารย์” ลูกศิษย์จ้องมองใบหน้าของอาจารย์ ดวงตาฉายแววนักสู้<br />

อิ่มเอิบ<br />

ด้วยกาลังใจ ก่อนเดินจากไปด้วยกิริยานอบน้อม ผมจะจาคาสอนของอาจารย์ไว้”<br />

“ธรรมะเสมือนลมหายใจของเรา การปฏิบัติธรรมก็คือ การหายใจอยู่ในปัจจุบัน”<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

25


26<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

รูปชวนคิด<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

สิ่งละอัน<br />

พันละน้อย ที่เราพบเห็นผ่านตากันจนเคยชินในทุกวันของชีวิต<br />

แท้จริง อาจจะมีบางมุม... ที่ชวนสะกิดใจ<br />

ให้เราได้ย้อนหันมาเห็นเหมือนกันว่า<br />

ธรรมะนั้น<br />

สอนเราอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน<br />

รอบ ๆ ตัว และใกล้ ๆ ตัวเรานี่เอง<br />

ภาพหนึ่งพร้อมคาบรรยาย<br />

อาจเป็นหนึ่งในสื่อที่ดีที่สุด<br />

ในการสะท้อนข้อคิดมาสู่ใจผู้ชม<br />

เดิน


ตลอดชีวิตของคนเรานั้น<br />

บางครั้ง<br />

เราต้องเดินนาหน้าผู้อื่น<br />

บางคราว เราควรเป็นผู้เดินตามหลัง<br />

และบ่อยครั้ง<br />

ที่เราต่างเดินผิดเดินถูก<br />

แต่ทุกชีวิตล้วนกาลังเดินไปสู่สิ่งหนึ่ง<br />

นั่นคือความตายที่รออยู่เบื้องหน้าอย่างแน่นอน<br />

พระตถาคตจึงตรัสสอนไว้ว่า ให้ดาเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท<br />

ภาพ และคา โดย อนาลยา<br />

<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

27


กรง<br />

ถูกขังในกรงเหล็ก อาจมีคนใจดีช่วยปลดปล่อยสู่อิสรภาพ<br />

แต่กรงขังสังสารวัฏ ไม่มีใครช่วยปลดปล่อยใครได้<br />

หากเจ้าตัวไม่พยายามแหกกรงออกมาเอง ด้วยการเจริญสติปัฏฐาน๔<br />

รู้ว่ากายและใจไม่เที่ยง<br />

เป็นทุกข์และไม่ใช่ตัวตน<br />

ภาพ และคา โดย lamood<br />

28 <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

<br />

หากคุณเป็นคนหนึ่ง<br />

ที่เห็นภาพของผู้คนและสิ่งแวดล้อมต่าง<br />

ๆ รอบตัว<br />

ที่แม้จะดูแสนธรรมดา<br />

แต่สะท้อนธรรมะให้ปรากฏเด่นชัดขึ้นในใจคุณ<br />

อย่าเก็บภาพ และข้อความนั้นไว้เพียงลาพัง<br />

ทีมงานขอเชิญชวนให้คุณส่งภาพและข้อคิดนั้น<br />

มาร่วมเป็นกาลังใจให้กับเพื่อร่วมทางไปพร้อม<br />

ๆ กับนิตยสารของเรา


โดยมีกติกามีดังนี้<br />

๑. ผู้ส่งต้องใส่ข้อความประกอบภาพ<br />

ที่เรียบเรียงขึ้นด้วยตนเอง<br />

๒. ลักษณะของข้อความควรกระชับ และให้ข้อคิดที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน<br />

โดยเฉพาะความเจริญทางด้านจิตใจ<br />

๓. ไม่มีข้อความที่ขัดแย้งกับพุทธพจน์<br />

หรือพระไตรปิฎก<br />

๔. ถ้านาภาพมาจากที่อื่น<br />

ต้องเป็นภาพที่ไม่มีลิขสิทธิ์<br />

ได้รับอนุญาตจากเจ้าของภาพแล้ว และให้เครดิตที่มาของภาพด้วย<br />

๕. ไม่มีข้อความที่จาบจ้วง<br />

ดูหมิ่น<br />

สถาบันพระมหากษัตริย์<br />

สถาบันสงฆ์ หรือศาสนาอื่น<br />

๖. งดรับภาพและข้อความที่เกี่ยวข้องกับการเมือง<br />

หรือข้อความที่นาไปสู่ความขัดแย้งทะเลาะวิวาท<br />

ส่งภาพ (โดยไม่ต้องตกแต่งกรอบรูป) และคาบรรยายมาได้ที<br />

่<br />

http://www.howfarbooks.com/dharmamag/posting.php?mode=post&f=56<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

29


ร่วม ส่ง บทความ<br />

นิตยสาร เล่ม นี จะ ้ เป็น นิตยสาร คุณภาพ ได้ ก็ ด้วย เนื้อหา<br />

ดี ๆ ภายใน ฉบับ ที่<br />

จัดสรร ลง อย่าง ต่อ เนื่อง<br />

นะ คะ<br />

หาก คุณ ผู้<br />

อ่าน ท่าน ใด มีค วาม สามารถ ใน การ เขียน มี<br />

ศรัทธา และ ความ เข้าใจ ใน คำา สอน ของ พุทธ ศาสนา ไม่<br />

ว่า จะ ใน ระดับ เบื้องต้น<br />

เบื้อง<br />

กลาง หรือ เบื้อง<br />

ปลาย<br />

และ มี ใจ รัก ที อยาก ่ จะ สื่อสาร<br />

ถ่ายทอด สิ่ง<br />

นั้น<br />

ให้ กับ ผู อื ้ ่น<br />

ได้ ทราบ และ ได้ ประโยชน์ จาก สิ่ง<br />

เหล่า นั้น<br />

เช่น เดียว กับ<br />

ที่<br />

เรา อาจ เคย ได้ รับ จาก ผู้<br />

อื่น<br />

มา แล้ว ก็ ขอ เชิญ ทุก ท่าน<br />

ส่ง บทความ มา ร่วม เป็น ส่วน หนึ่ง<br />

ของ <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ด้วย กัน นะ คะ<br />

คุณ อาจ ไม่ จำาเป็น ต้อง เป็น นัก เขียน ฝีมือ เลิศ แต่ หาก มี<br />

ใจ ที่<br />

คิด อยาก จะ ถ่ายทอด มี สิ่ง<br />

ที่<br />

คิด ว่า อยาก แบ่งปัน<br />

ความ รู้ความ<br />

เข้าใจ นั้น<br />

ให้ กับ คน อื่น<br />

ๆ ก็ ลอง เขียน ส่ง<br />

เข้า มา ได้ เลย ค่ะ<br />

<br />

๑. คอ ลัมน์ที่<br />

เปิด รับ บทความ<br />

คอลัมน์: ธรรมะ จากคน สู้<br />

กิเลส<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส ให้ คุณๆ ได้ เล่า ประสบการณ์ จริง<br />

ของ ตน เอง ว่า ผ่าน อะไร มา บ้าง มี อะไร เป็น ข้อคิด ที เป็น ่<br />

ประโยชน์ บ้าง อะไร ทำาให้ คน ธรรมดา คน หนึ่ง<br />

กลาย<br />

เป็น คน ดี ขึ้น<br />

มา และ ทำาให้ คน มี กิเลส เยอะ กลาย เป็น<br />

คน กิเลส บาง ลง ได้ มี แต่ คน ที่<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ตัว เอง แล้ว<br />

เท่านั้น<br />

จึง จะ เขียน ธรรมะใกล้ ตัว ได้ สำาเร็จ<br />

คอลัมน์: นิยาย/เรื่องสั้นอิง<br />

ธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส กว้าง สำาหรับ คน ที่<br />

ชอบ คิด ชอบ<br />

เขียน โดย เฉพาะ อดีต นัก ฝัน ที่<br />

เพิ่ง<br />

ผัน ตัว มา อยู่<br />

ใน<br />

โลก ธรรมะ เพื่อ<br />

สร้างสรรค์ เรื่องราว<br />

ให้ คน ได้ ข้อคิด ข้อ<br />

ธรรม ผ่าน ความ สนุก ของ รูป แบบ นิยาย หรือ เรื่องสั้น<br />

ได้ อย่าง เพลิดเพลิน<br />

คอลัมน์: คำาคมชวน คิด<br />

เนื้อหา:<br />

รวบรวม ข้อคิด หรือ คำาคม ของ บุคคล ต่าง ๆ<br />

ที่<br />

เคย ได้ยิน มา แล้ว สะดุดใจ มาบ อก ต่อ ยิ่ง<br />

ถ้า ใคร<br />

สามารถ สร้างสรรค์ วรรค ทอง ได้ เอง ยิ่ง<br />

ดี เพราะ จะ<br />

ได้ ฝึก ริเริ่ม<br />

วลี สะดุดใจ ซึ่ง<br />

เป็น แม่บท ของ กรรม ที ทำาให้ ่<br />

มีค วาม คิด สร้างสรรค์ ได้ อย่าง สุด ยอด เนื่องจาก<br />

แง่ คิดดีี<br />

ๆ จะ ช่วย ให้ คน อ่าน คิด ดี หรือ ได้คิด เพื่อ<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ชีวิต วิบาก ที ย้อน ่ กลับ มาส นอง ตอบแทน<br />

คุณ ก็ คือ การ ผุด ไอ เดียเหมือน น้ำาพุ<br />

ไม่ รู้<br />

จบ รู้<br />

สิ้น<br />

กับ ทั้ง<br />

เป็น ที่<br />

ยอม รับ ใน วง กว้าง ด้วย<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

หรือ แปล มา จาก<br />

ภาษา อังกฤษ กรุณา ระบุ แหล่ง ที่มา<br />

หรือ ชื่อ<br />

ของ บุคคล<br />

ผู้<br />

เป็น เจ้าของ คำาคม ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: สัพเพเหระธรรม<br />

เนื้อหา:<br />

เรื่องราว<br />

เรื่อง<br />

เล่า อาจ มา จาก ฉาก หนึ่ง<br />

ใน<br />

ชีวิต ของ คุณ ที่<br />

มี เกร็ด ข้อคิด ทาง ธรรม หรือ ข้อคิด ดี ๆ<br />

อันเป็น ประโยชน์ อาจ เป็น เรื่อง<br />

เล่า สั้น<br />

ๆ ใน รูป แบบ ที่<br />

เสมือน อ่านเล่น ๆ แต่ อ่าน จบ แล้ว ผู อ่าน ้ ได้ เกร็ด ธรรม<br />

หรือ ข้อคิด ดี ๆ ติด กลับ ไป ด้วย<br />

คอลัมน์: กวีธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

พื้นที่<br />

ที่<br />

เปิด กว้าง สำาหรับ กวี ธรรมะ ทั้งหลาย<br />

โดย ไม่ จำากัด รูป แบบ และ ความ ยาว ของ บท กวี หรือ<br />

หาก จะ คัด เอา บท กวี ที่<br />

น่า ประทับใจ ให้ แง่ คิด อะไร<br />

ใน เชิง บวก ก็ สามารถ นำา มา ลง ได้ เช่น กัน แต่ ถ้า ให้ ดี<br />

กลั่นกรอง<br />

ออก มา ด้วย ตน เอง ได้ ก็ ยิ่ง<br />

ดี ค่ะ<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

ต้อง ระบุ ที่มา<br />

ที่<br />

ไป อย่าง ชัดเจน ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: เที่ยววัด<br />

เนื้อหา:<br />

รับ หมด ไม่ ว่า จะ เป็น วัด สวย หรือ สถาน ที่<br />

ปฏิบัติธรรม ข้อมูล ข่าวสาร จาก ทั่ว<br />

ประเทศ นั้น<br />

ไม่ มี<br />

วัน ที่<br />

ใคร คน เดียว จะ รู้<br />

ได้ หมด ถ้า ช่วย เป็น หู เป็น ตา ให้<br />

แก่ กัน ก็ คง จะ มี ประโยชน์ อย่าง มหาศาล<br />

กติกา: นอกจาก ข้อมูล เกี่ยว<br />

กับ สถาน ที่<br />

บรรยากาศ<br />

ปฏิปทา ฯลฯ ของวัด แล้ว ต้อง ขอ รบกวน ส่ง ภาพ<br />

สวย ๆ มา ประกอบ บทความ อีกทั้ง<br />

ไม่ พา ชม หรือ<br />

แทรก ธรรมะ ด้าน การปฏิบัติ ที่<br />

ขัดแย้ง กับ แนวทาง ของ<br />

นิตยสาร นะ คะ<br />

คอลัมน์: ธรรมะปฏิบัติ<br />

เนื้อหา:<br />

ร่วม บอก เล่า ประสบการณ์ จริง ประสบการณ์<br />

ตรง จาก การ ปฏิบัติธรรม เพื่อ<br />

เป็น ทั้ง<br />

ธรรม ทาน และ


เป็น ทั้ง<br />

กำาลังใจ สำาหรับ ผู้<br />

ที่<br />

กำาลัง ร่วม เดินทาง อยู่<br />

บน<br />

เส้น อริยมรรค เส้น เดียวกัน นี้<br />

คอลัมน์: ของ ฝากจาก หมอ<br />

เนื้อหา:<br />

นำา เสนอ ข่าวสาร ใน วงการ แพทย์ หรือ<br />

สาระ น่า รู้<br />

อันเป็น ประโยชน์ เกี่ยว<br />

กับ สุขภาพ ที่<br />

คน<br />

ทั่วไป<br />

สนใจ หรือ นำา ไป ใช้ได้ เพื่อ<br />

เป็น วิทยาทาน ให้ กับ<br />

ผู้อ่าน<br />

จาก แง่มุม ต่าง ๆ ทีแพทย์<br />

่ แต่ละ แขนง มีค วาม รู้<br />

ความเชี่ยวชาญ<br />

ต่าง ๆ กัน<br />

กติกา:<br />

• หาก เป็น บทความ ที่<br />

แนะนำา ให้ มี การ ทดลอง กิน<br />

ยา หรือ แนะนำา ให้ ผู้<br />

อ่าน ปฏิบัติ ตาม ด้วย ขอ<br />

จำากัด เฉพาะ ผู้<br />

เขียน ที่<br />

เป็น ผู้<br />

เรียน หรือ ทำา งาน<br />

ใน สาขา วิชาชีพ ที่<br />

เกี่ยวข้อง<br />

เท่านั้น<br />

เพื่อ<br />

ป้องกัน<br />

การ นำาเสนอ ข้อมูล ที คลาดเคลื ่ ่อน และ อาจ ส่งผล<br />

ต่อ ผู้<br />

อ่าน ได้ ค่ะ<br />

• หาก นำา เสนอ ประเด็น ที่<br />

ยัง เป็น ที่<br />

ถกเถียง อยู่<br />

ใน<br />

วงการ แพทย์ ขอ ให้ มี การ อ้างอิง ด้วย เช่น มา<br />

จาก งาน วิจัย ชิ้น<br />

ไหน หรือ หาก เป็น เพียง ความเห็น<br />

ส่วนตัว ของ หมอ ก็ กรุณา ระบุ ให้ ชัดเจน ด้วย ค่ะ<br />

<br />

๒. อ่าน สัก นิด ก่อน คิด เขียน<br />

เนื่องจาก<br />

ใน แต่ละ สัปดาห์ มี งาน เขียน ส่ง เข้า มา เป็น<br />

จำานวน มาก ชิ้น<br />

ขึ้น<br />

เรื่อย<br />

ๆ ดังนั้น<br />

เพื่อ<br />

เป็นการ ช่วย ลด<br />

เวลา และ ลด ภาระ ให้ กับ อาสา สมัคร ใน การ เข้า มา<br />

ช่วยกัน คัดเลือก และ พิสูจน์ อักษร ของ ทุก บทความ<br />

ต้อง ขอ รบกวน ผู ส่ง ้ บทความ เรียบเรียง งาน เขียน ตาม<br />

แนวทาง ดังนี้<br />

ด้วย นะ คะ<br />

๒.๑ ตรวจ ทาน คำา ถูก ผิด ให้ เรียบร้อย<br />

ก่อน ส่ง บทความ รบกวน ผู เขียน ้ ทุก ท่าน ช่วย ตรวจ ทาน<br />

ให้ แน่ใจ ก่อน นะ คะ ว่า ไม่ มี จุด ไหน พิมพ์ ตกหล่น พิมพ์<br />

เกิน พิมพ์ ผิด พลาด หรือ เขียน ตัวสะกด ไม่ ถูก ต้อง ผ่าน<br />

สายตา ของ ผู้<br />

เขียน แล้ว<br />

หาก ไม่ แน่ใจ ตัวสะกด ของ คำา ไหน สามารถ ตรวจ สอบ<br />

ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เลย ค่ะ<br />

เว็บ เครือ ข่าย พจนานุกรม ราชบัณฑิต ยสถาน<br />

http://rirs3.royin.go.th/ridictionary/lookup.html<br />

๒.๒ จัด รูป แบบ ตาม หลัก งาน เขียน ภาษา ไทย<br />

เพื่อให้<br />

ทุก บทความ มี ลักษณะ ของ การ จัด พิมพ์ ที่<br />

สอดคล้อง กัน ขอ ให้ ใช้ การ จัด รูป แบบ ใน ลักษณะ ดังนี้<br />

นะ คะ<br />

• เครื่องหมาย<br />

คำา ถาม (?) และ เครื่องหมาย<br />

ตกใจ (!)<br />

เขียน ติดตัว หนังสือ ด้านหน้า และ วรรค ด้าน หลัง<br />

เช่น “อ้าว! เธอ ไม่ ได้ ไป กับ เขา หรอก หรือ? ฉัน<br />

นึก ว่า เธอ ไป ด้วย เสีย อีก ”<br />

• การ ตัด คำา เมื่อ<br />

ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่<br />

สำาหรับ คน ที่<br />

นิยม เขียน แบบ เคาะ [Enter] เพื่อ<br />

ตัด ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่ แทน การ รวบ คำา อัตโนมัติ ของ<br />

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ อยาก ให้ ช่วย ดู การ ตัด<br />

คำา ด้วย นะ คะ ว่า ตัด ได้ อย่าง เหมาะสม คือ อ่าน<br />

ได้ ลื่น<br />

ไม่ สะดุด ไม่ แยก คำา หรือ ไม่ ขึ้น<br />

บรรทัด<br />

ใหม่ ผ่า กลาง วลี ที่<br />

ควร อ่าน ต่อ เนื่อง<br />

กัน โดย ไม่<br />

จำาเป็น เช่น<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำา แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า ผลก รรม<br />

ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ”<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำา แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า<br />

ผลก รรม ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ” (อ่าน ง่าย กว่า ค่ะ)<br />

หรือ ดู หลักเกณฑ์ อื่น<br />

ๆ ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เพิ่มเติม<br />

ด้วย ก็ได้ ค่ะ<br />

ราชบัณฑิต ยสถาน > หลักเกณฑ์ ต่าง ๆ<br />

http://www.royin.go.th/th/profile/index.php<br />

๒.๓ ความ ถูก ต้อง ของ ฉันทลักษณ์ สำาหรับ ชิ้น<br />

งาน ร้อยกรอง<br />

สำาหรับ ท่าน ที่<br />

แต่ง ร้อยกรอง เข้า มา ร่วม ใน คอลัมน์<br />

กวีธรรม ขอ ให้ ตรวจ ทาน ให้ แน่ใจ สัก นิด นะ คะ ว่า<br />

บทกลอน นั้น<br />

ถูก ต้อง ตาม ฉันทลักษณ์ แล้ว หรือ ยัง จะ<br />

ได้ ช่วย กัน ใส่ใจ และ เผยแพร่ แต่ ใน สิ่ง<br />

ที่<br />

ถูก ต้อง ให้ ผู้<br />

อื่น<br />

กัน ค่ะ<br />

คุณ ผู้<br />

อ่าน สามารถ ตรวจ สอบ หรือ หาความ รู้<br />

เพิ่มเติม<br />

เกี่ยว<br />

กับ ฉันทลักษณ์ ของ กวี ไทย ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

ด้วย นะ คะ


ร้อยกรอง ของ ไทย<br />

(โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย)<br />

http://thaiarc.tu.ac.th/poetry/index.html<br />

๒.๔ ความ ยาว ของ บทความ และ การ จัด ย่อหน้า<br />

ปกติ แล้ว เรา ไม่ จำากัดความ ยาว ของ ชิ้น<br />

งาน ใน ทุก คอ<br />

ลัมน์ค่ะ แต่ ก็ อยาก ให้ ผู้<br />

เขียน ใช้ ดุลยพินิจ ดู ด้วย ค่ะ ว่า<br />

ความ ยาว ประมาณ ใด น่า จะ เหมาะสม โดย ลอง ดู จาก<br />

บทความ ที ลง ่ ใน เล่ม และ ลอง เทียบเคียง ความ รู้สึก<br />

ใน<br />

ฐานะ ผู้<br />

อ่าน ดู นะ คะ<br />

สำาหรับ เรื่องสั้น<br />

หรือ นวนิยาย ทีอาจ<br />

่ มีค วาม ยาว มาก<br />

กว่า บทความ อื่น<br />

ๆ และ มี การ เปลี่ยน<br />

ฉาก อยู บ้าง ่ อย่า<br />

ลืม เบรก สายตา ผู้<br />

อ่าน โดย การ ขึ้น<br />

ย่อหน้า ใหม่ เมื่อ<br />

ถึง<br />

จุด หนึ่ง<br />

ๆ ของ เรื่อง<br />

ที่<br />

เหมาะสม ด้วย นะ คะ เพราะ<br />

การ เขียน เป็น พรืด เห็น แต่ ตัวหนังสือ ติด ๆ กันลง มา<br />

ยาว ๆ จะ ลด ทอน ความ น่า อ่าน ของ บทความ ไป อย่าง<br />

น่า เสียดาย ค่ะ<br />

หาก บทความ ใด อ่าน ยาก ๆ หรือ มี จุด บกพร่อง ที ต้อง ่<br />

แก้ไข เยอะ มาก ๆ ทาง ทีม งาน อาจ จะ ต้อง ขอ อนุญาต<br />

เก็บ ไว้ เป็นอัน ดับ หลัง ๆ ก่อน นะ คะ<br />

<br />

๓. ส่ง บทความ ได้ที่<br />

ไหน อย่างไร<br />

๓.๑ กระดาน ส่ง บทความ<br />

เมื่อ<br />

เขียน อ่าน ทาน และ ตรวจ ทาน บทความ พร้อม ส่ง<br />

เรียบร้อย แล้ว งาน เขียน ทุก ชิ้น<br />

สามารถ โพ สท์ส่ง ได้ที่<br />

กระดาน “ส่ง บทความ ” ได้ เลย ค่ะ ที่:<br />

http://dungtrin.com/forum/viewforum.php?f=2<br />

โดย หัวข้อ กระทู้<br />

ขอ ให้ ใช้ ฟอร์แมท ลักษณะ นี้<br />

นะ คะ<br />

(ชื่อ<br />

คอลัมน์) ชื่อ<br />

เรื่อง<br />

โดย ชื่อ<br />

ผู้<br />

แต่ง<br />

เช่น<br />

(สัพเพเหระ ธรรม) เทพธิดา โรง ทาน โดย คน ไกล วัด<br />

(ธรรมะ ปฏิบัติ) เส้นทาง การ ปฏิบัติ 1 โดย satima<br />

(ของ ฝาก จาก หมอ) เครียด ได้...แต่ อย่า นาน โดย หมอ อติ<br />

เพื่อ<br />

ช่วย ให้ ทีม งาน สามารถ จัด หมวด หมู่<br />

ของ ชิ้น<br />

งาน<br />

ได้ เร็ว ขึ้น<br />

ค่ะ<br />

๓.๒ แนบไฟล์ Word มา ด้วย ทุก ครั้ง<br />

หาก แปะ เนื้อความ<br />

ลง ใน กระทู้<br />

เลย ฟอร์แมท ต่าง ๆ<br />

เช่น ตัว หนา ตัว บาง ตัว เอียง จะ หาย ไป ค่ะ เพื่อ<br />

ความ<br />

สะดวก รบกวน ทุก ท่าน แนบไฟล์ Word ทีพิมพ์<br />

่ ไว้ มา<br />

ด้วย นะ คะ (ใน หน้า โพสต์ จะ มี ปุ่ม<br />

Browse ให้ เลือก<br />

Attach File ได้ เลย ค่ะ)<br />

ใคร มี รูป ประกอบ ก็ Attach มา ด้วย วิธี เดียวกัน นี้<br />

เลย<br />

นะ คะ<br />

และ หาก ไฟล์มี ขนาด ใหญ่ ทำาเป็น zip เสีย ก่อน ก็ จะ<br />

ช่วย ประหยัด พื้นที่<br />

ได้ ไม่ น้อย ค่ะ<br />

<br />

๔. ส่ง แล้ว จะ ได้ ลง หรือ ไม่<br />

ปกติ แล้ว เวที แห่ง นี เป็น ้ เวที ที เปิด ่ กว้าง หาก บทความ<br />

นั้น<br />

ให้ เนื้อหา<br />

สาระ ที เป็น ่ ไป เพื่อ<br />

เกื้อกูล<br />

กัน ใน ทาง สว่าง<br />

และ เป็น แนวทาง ที่<br />

ตรง ตาม แนวทาง คำา สอน ของ<br />

พระพุทธเจ้า หรือ เป็น ประโยชน์ ต่อ ผู้<br />

อ่าน จาก ผู้<br />

รู้<br />

จริง<br />

ใน ด้าน ที่<br />

เชี่ยวชาญ<br />

ก็ จะ ได้ รับ การ ลง แน่นอน ค่ะ<br />

ทั้งนี้<br />

รวม ถึง ความ ยาก ง่าย ใน การ อ่าน พิจารณา<br />

บทความ การ แก้ไข จุด บกพร่อง ต่าง ๆ ใน งาน พิสูจน์<br />

อักษร หาก เป็น ไป อย่าง คล่องตัว ก็ จะ ช่วย ให้ พิจารณา<br />

ชิ้น<br />

งาน ได้ ง่าย ขึ้น<br />

ด้วย ค่ะ<br />

แต่ หาก บทความ ใด ยัง ไม่ ได้ รับ คัดเลือก ให้ ลง ก็ อย่า<br />

เพิ่ง<br />

หมด กำาลังใจ นะ คะ วัน หนึ่ง<br />

คุณ อาจ รู้<br />

อะไร ดี ๆ<br />

และ เขียน อะไร ดี ๆ ใน มุม ที่<br />

ใคร ยัง ไม่ เห็น เหมือน คุณ<br />

อีก ก็ได้ ค่ะ : )<br />

และ ถ้า อยาก เริ่ม<br />

ต้น การ เป็น นัก เขียน ธรรมะ ที ดี ่ ก็ ลอง<br />

ติดตาม อ่าน คอลัมน์ เขียน ให้ คนเป็น เทวดา ที คุณ ่ ‘ดัง<br />

ตฤณ ’ มา ช่วย เขียน เป็น นัก เขียน ประจำา ให้ ทุก สัปดาห์<br />

ดู นะ คะ<br />

ขอ อนุโมทนา ใน จิต อัน มี ธรรม เป็น ทาน ของ ทุก ท่าน ค่ะ


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

มาร่วมเป็นอีกหนึ่งกำาลัง<br />

ที่ช่วยสร้างภาพใหม่ให้กับพระพุทธศาสนา<br />

ด้วยการร่วมส่งบทความ ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ท้ายเล่ม<br />

หรือที่<br />

http://dungtrin.com/dharmaathand/

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!