29.04.2013 Views

Surfactant

Surfactant

Surfactant

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

โครงการและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

<strong>Surfactant</strong><br />

Summary for Investor<br />

<strong>Surfactant</strong> refers to the substance that increases the molecules’ weight, reducing binding<br />

power between substances. The example of surfactant is emulsifier that can mix water with oil.<br />

The natural surfactant can be classified by functions of uses or usefulness.<br />

The market of surfactant is limitted to the cosmetic and cleaning products industry. As a<br />

result, the market of surfactant depends on the growth of cosmetic industry and cleaning products<br />

manufacturing. Trend of cosmetic and cleaning product market is positive according to the<br />

population growth. Currently, there are more than 200 producers of surfactant, resulting in<br />

4 times of import value over export value. In 2001, the import value was 5.622 billion Baht<br />

where as the export value was 1.423 billion Baht. The import markets are composed of many<br />

developed markets such as Japan, U.S., Singapore, German, and Taiwan.<br />

Since the import cannot fully meet local demand, some new investors are willing to<br />

produce instead of import. The export markets include Malaysia, Vietnam, Singapore, Cambodia,<br />

and Philippines.<br />

There are only 2 producers registered with the Department of Industrial Works. The other<br />

369 producers have not registered under surfactant manufacturers but are in the list of exporters<br />

of the Customs Department. Another 96 producers are the importers. As the surfactant is an<br />

intermediate product, there are 2 distribution channels including direct sale for big factories and<br />

agent sales for small factories. Price of surfactant is seasonal. The average price is 700-800 US<br />

dollars per ton.<br />

<strong>Surfactant</strong> can be made from petrochemical substance or natural substance (plants and<br />

animals). The automatic machine and equipment for manufacturing are using Italian or American<br />

technology. For the production of 3,000 tons/year, 100 staffs might involve.<br />

Investment in large industry may cost up to 20 million US dollars. For 30 tons<br />

production per year, it may cost 600,000 Baht of investment which, 300,000 Baht will be machine<br />

cost or about 50% of total investment. Under 2 years investment project, the pay back period will<br />

be within 1 year. IRR is approximately 6.49%.<br />

The government agencies concerning this production are the Institute of Thai Traditional<br />

Medicine, Ministry of Health, the Faculty of Pharmacy: Chulalongkorn University, the Society of<br />

Cosmetic Chemist of Thailand, Thailand Industrial Standard and the Department of Industrial<br />

Promotion.<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-A<br />

สารลดแรงตึงผิว


โครงการและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

สารลดแรงตึงผิว<br />

บทสรุปสํ าหรับนักลงทุน<br />

สารลดแรงตึงผิว หมายถึง สารที่มีคุณสมบัติในการรวมโมเลกุลใหมีนํ้<br />

าหนักมากขึ้น<br />

เพื่อลดแรงเกาะระหวางกันของสสารนั้น<br />

ๆ และนํ าไปใชประโยชนตาง ๆ เชน เปน Emulsifier ซึ่ง<br />

ทํ าใหนํ้<br />

ากับนํ้<br />

ามันเขากันได สารลดแรงตึงผิวที่ไดจากธรรมชาติมีมากมาย<br />

แบงไดตามหนาที่หรือ<br />

ประโยชนสวนใหญ<br />

ตลาดของสารลดแรงตึงผิวจะอยูในกลุมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑเครื่องสํ<br />

าอางและ<br />

ผลิตภัณฑทํ าความสะอาดตาง ๆ ดังนั้นจึงขึ้นกับภาวะตลาดของเครื่องสํ<br />

าอางและผลิตภัณฑทํ าความ<br />

สะอาด ปจจุบันแนวโนมการตลาดของเครื่องสํ<br />

าอางและผลิตภัณฑทํ าความสะอาดเปนไปในทิศทาง<br />

บวกตามการขยายตัวของสังคมและจํ านวนประชากร ซึ่งปจจุบันมีผูผลิตทั้งสิ้นมากกวา<br />

200 ราย<br />

และมีความตองการสารลดแรงตึงผิวเปนจํ านวนมาก จึงทํ าใหมีมูลคาการนํ าเขาสูงกวามูลคาการ<br />

สงออกถึง 4 เทา โดยป 2544 มีการนํ าเขาสูงถึง 5,622 ลานบาท สงออก 1,423 ลานบาท โดยนํ าเขา<br />

จากกลุมประเทศที่พัฒนาแลวเชน<br />

ญี่ปุน<br />

สหรัฐอเมริกา สิงคโปร เยอรมนี และไตหวัน<br />

เนื่องจากการผลิตในประเทศไมสามารถตอบสนองความตองการใชภายในประเทศได<br />

ปจจุบันจึงมีนักลงทุนรายใหมที่ผลิตเพื่อทดแทนการนํ<br />

าเขาจากตางประเทศ และผลิตเพื่อสงออกไป<br />

ยังกลุมประเทศอาเซียน<br />

เชน มาเลเซีย เวียดนาม สิงคโปร กัมพูชา และฟลิปปนส<br />

ปจจุบันมีผูประกอบการที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อผลิตสารลดแรงตึงผิว<br />

เพียง 2 ราย อีก 369 ราย มิไดจดทะเบียนแตอยูในบัญชีรายชื่อกับกรมศุลกากรและอีก<br />

96 ราย<br />

เปนผูประกอบการที่นํ<br />

าเขากลุมสารลดแรงตึงผิว ทั้งนี้เนื่องจากสารลดแรงตึงผิวเปนวัตถุดิบในการ<br />

ผลิตของอุตสาหกรรมอื่น<br />

ๆ จึงมีการจํ าหนาย 2 วิธีคือ การจํ าหนายตรงสูโรงงานใชกับกลุมเปา<br />

หมายที่มีกิจการขนาดใหญ<br />

และการจํ าหนายผานตัวแทน โดยเนนกลุมลูกคาเปาหมายที่มีกิจการ<br />

ขนาดเล็ก โดยระดับราคาของสารจะขึ้นลงเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล<br />

เฉลี่ยตันละ<br />

700-800<br />

เหรียญดอลลารสหรัฐ<br />

ดานการผลิตนั้นสามารถผลิตไดจากปโตรเคมีและจากธรรมชาติทั้งจากพืชและสัตว<br />

ในสวนของอุปกรณ เครื่องมือและเครื่องจักรที่ใชในการผลิต<br />

เปนเทคโนโลยีของประเทศอิตาลี<br />

สหรัฐอเมริกา และเครื่องจักรประเภท<br />

Automatic การผลิตนั้นยังรวมถึงกรรมวิธีในการผลิต<br />

และ<br />

บุคลากร/แรงงานที่ใชในการผลิต<br />

ซึ่งสํ<br />

าหรับอุตสาหกรรมขนาดใหญที่มีการผลิต<br />

300,000 ตัน/ป<br />

อาจใชคนงานถึง 100 คน<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-B<br />

สารลดแรงตึงผิว


โครงการและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

การลงทุนผลิตสารในระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ ตองลงทุนสูงถึง 20 ลานเหรียญสหรัฐ<br />

หรือการลงทุนขนาดผลิต 30 ตัน/ป ตองใชเงินลงทุนประมาณ 600,000 บาท โดยเปนคาเครื่องจักร<br />

และอุปกรณประมาณ 300,000 บาท หรือ 50% ของเงินทุนทั้งหมด<br />

ผลตอบแทนจากการลงทุน<br />

กรณีสามารถจํ าหนายได 30 ตัน/ป ตลอดอายุโครงการ 2 ป จะคืนทุนไดภายใน 1 ป<br />

โดยมีผลตอบแทนจากการลงทุน (IRR) ประมาณ 6.49 %<br />

หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของและใหการสนับสนุน<br />

คือ สถาบันแพทยแผนไทย<br />

กระทรวงสาธารณสุข คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สมาคมนักเคมีเครื่องสํ<br />

าอาง<br />

แหงประเทศไทย สํ านักมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม และกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-C<br />

สารลดแรงตึงผิว


โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

สารลดแรงตึงผิว<br />

1. ขอมูลทั่วไปของสินคา<br />

สารลดแรงตึงผิว (<strong>Surfactant</strong>s) หมายถึง สารที่มีคุณสมบัติในการจับโมเลกุลที่มีนํ้<br />

าหนักเบา<br />

ใหมีนํ้<br />

าหนักมากขึ้น<br />

เพื่อลดแรงเกาะระหวางกันของสสารนั้นๆ<br />

ใหลดลง เนื่องจากโมเลกุลที่หนัก<br />

ขึ้นจะเริ่มแยกตัวออกมา<br />

ซึ่งคุณสมบัตินี้ทํ<br />

าใหสารลดแรงตึงผิวสามารถนํ าไปใชเพื่อประโยชนตางๆ<br />

เชน เปน Emulsifier เพื่อใหสารประกอบตางๆ<br />

เขาเปนเนื้อเดียวกันไดดี<br />

หรือการเปนตัวกลางใหนํ้<br />

า<br />

กับนํ้<br />

ามันเขากันได เพื่อประโยชนในการชะลางสิ่งสกปรกที่เกิดจากนํ้<br />

ามันทั้งจากรางกายหรือ<br />

สิ่งตางๆ<br />

โดยสารลดแรงตึงผิวจะเปนสวนประกอบหลักของการผลิตผลิตภัณฑเครื่องสํ<br />

าอาง<br />

ป ร ะ เ ภ ท<br />

โฟมลางหนา ครีมลางหนา แชมพู และสบู และผลิตภัณฑทํ าความสะอาดในครัวเรือน เชน<br />

นํ้<br />

ายาลางจาน นํ้<br />

ายาลางหองนํ้<br />

า และผลิตภัณฑทํ าความสะอาดอื่นๆ<br />

สารลดแรงตึงผิว ที่ไดจากธรรมชาติมีมากมาย<br />

และอาจแบงไดเปนหลายประเภทตามหนาที่<br />

หลักหรือประโยชนสวนใหญของสารลดแรงตึงผิว อันอาจเปน emulsifier, wetting agents,<br />

viscosity inducing agents หรือ suspending agents เปนตน ตัวอยางเชน<br />

1) Acacia อาจเรียกวา Gum Acacia หรือ Gum Arabic เปน gummy exudate จากลํ าตนหรือ<br />

กิ่งของตน<br />

Acacia senegal มีสวนประกอบของ polysaccharide นํ้<br />

าหนักโมเลกุลสูง ๆ<br />

ที่ประกอบดวย<br />

D-galactose,L-arabinose,L-rhammose และ residues ของ D-glucuronic acid<br />

นอกจากนี้<br />

ยังประกอบดวย complex calcium,magnesium และเกลือ potassium ของ arabic acid<br />

มีลักษณะเปนผงสีขาวจนถึงเหลืองออน ไมมีกลิ่น<br />

เกิด creaming ไดเร็ว แตมีความหนืด<br />

คอนขางตํ่<br />

า ใชเปน emulsifier และสารที่เพิ่มความหนืดในผลิตภัณฑยาและเครื่องสํ<br />

าอาง<br />

2) Beeswax เปนขี้ผึ้งที่ไดจากการหลอมรวงผึ้งดวยนํ้<br />

ารอน Beeswax มี 2 ประเภทคือ yellow และ<br />

white beeswax โดย white beeswax เปน beeswax ที่ไดจากการฟอกสีของ<br />

yellow beeswax<br />

สวนประกอบที่สํ<br />

าคัญของ beeswax คือ myricyl palmitate ซึ่งเปน<br />

ester ของ higher alcohol<br />

มีสวนประกอบปริมาณเล็กนอยของ ester ของ cholesterol ซึ่งจะเปนตัวทํ<br />

าหนาที่เปน<br />

emulsifier ของ emulsion ประเภท w/o นอกจากนี้ยังมี<br />

free cerotic acid(C25H51COOH) ซึ่งจะ<br />

ทํ าปฏิกิริยากับสารเคมี borax ใหสบูในผลิตภัณฑ cold cream โดยปกติ beeswax เปน<br />

emulsifier ที่ไมคอยดีนัก<br />

จึงมักใชเปนสารใหความคงตัวใน emulsion ประเภท w/o เสียมาก<br />

กวา<br />

3) Wool Fat หรือ anhydrous lanolin มีลักษณะเปนขี้ผึ้งเหลว<br />

เหนียว ๆ สีเหลือง มีกลิ่นจางเฉพาะ<br />

ตัว เปนสารที่ไดจาก<br />

purify สารประเภท anhydrous waxy จากขนแกะ Ovis aries จัดเปน<br />

ไขกึ่งแข็งกึ่งเหลวประเภทหนึ่ง<br />

โดยมีสวนประกอบที่สํ<br />

าคัญคือ fatty acit,ester ของcholesterol<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-1<br />

สารลดแรงตึงผิว


โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

และ sterol อื่น<br />

ๆ มีจุดหลอมเหลว 36-72 o C มีลักษณะคลายสาร sebum จากคน แตสามารถ<br />

ดูดซึมไดนอย อยางไรก็ตามเมื่อผสมกับ<br />

soft paraffin หรือ vegetable oil จะไดครีมที่มี<br />

การซึมผานผิวหนังไดดี ตามปกติ wool fat สามารถดูดนํ้<br />

าไดถึง 50% แตเมื่อผสมกับสารไขมัน<br />

อื่น<br />

ๆ จะทํ าใหไดสวนผสมที่สามารถดูดนํ้<br />

าจากสารอื่น<br />

ๆ ที่มันผสมไดคิดเปนนํ้<br />

าหนักไดหลาย<br />

เทาตัว Wool fat จะไมใชเปน emulsifier โดยตรง แตจะชวยความคงตัวของ emulsion ประเภท<br />

w/o Wool fat เปนไขที่ไมเกิดการหืนไดงาย<br />

แตอาจมีกลิ่นไมดี<br />

และอาจเกิดการแพไดในผูใช<br />

บางคน ในปจจุบันนี้ไดมีการปรับปรุง<br />

คุณลักษณะทางกายภาพ ตลอดจนความคงตัวของ<br />

wool fat โดยยังสามารถรักษาคุณสมบัติที่ดีที่ตองการของ<br />

wool fat อยู<br />

ตัวอยางเชนโดยวิธี<br />

hydrogenation จะได hydrogenated wool fat ซึ่งเปนไขที่มีลักษณะสีขาว<br />

ไมมีกลิ่น<br />

ไมเหนียว<br />

เหนอะหนะ แผกระจายบนผิวไดดี งายและสามารถดูดนํ้<br />

าได 50% อีกวิธีหนึ่ง<br />

โดยวิธี<br />

fractionation จะไดกลุมของผลิตภัณฑที่เปนของเหลว<br />

มีความหนืดจะประกอบดวย ester ตาง ๆ<br />

ผลิตภัณฑนี้รูจักกันในนามของ<br />

liquid lanolin จะใชเปนทั้ง<br />

emulgent และ emulsino stabilizer<br />

มีขอดีคือ จะใหผลิตภัณฑที่ไมเหนียวเหนอะหนะ<br />

4) Tragacanth มีหลายชื่อคือ<br />

Gum Tragacanth, Hog Gum และ Coat’s Thorn เปนตนเปนสาร<br />

ประเภท gummy exudate ธรรมชาติที่สกัดไดจากตน<br />

Astragalus gummifer เปนสารที่ประกอบ<br />

ดวย 60-70% ของ bassorin , 30-40% ของ gum ที่ละลายไดที่เรียกวา<br />

tragacanthin Bassorin<br />

จะสามารถพองตัวในนํ้<br />

าไดเกิดเปนสารละลาย colloid bassorin, 30–40 % ของ gum<br />

ที่ละลายได<br />

ที่เรียกวา<br />

tragacanthin bassorin จะสามารถพองตัวในนํ้<br />

าไดเกิดเปนสารละลาย<br />

colloid โดย bassorin จะประกอบดวย complex methoxylate acids เหมือน pectin<br />

เมื่อ<br />

hydrolyse tragacanth จะได glucuronic acid และ arabinose โดยความเปนจริงแลว<br />

tragacanth ไมละลายนํ้<br />

า แตสามารถพองตัวในนํ้<br />

าได สํ าหรับสารเมือก mucilage ไดพบวา<br />

mucilage ของ tragacanth ที่มีคุณภาพดีจะเตรียมไดจาก<br />

tragacanth ประเภท flask tragacanth<br />

Tragacanth mucilage ใชเปน suspending agent ในผลิตภัณฑโลชั่นตาง<br />

ๆ ตลอดจนใชเปน<br />

emulsifier ในครีมตาง ๆ เพื่อเพิ่มความคงตัวของ<br />

emulsion และปองกันการเกิด creaming<br />

ของ emulsion ที่เตรียมไดอาจมีสภาพที่ไมดีเทา<br />

emulsion ที่เตรียมจาก<br />

acacia ปริมาณของ<br />

tragacanth ที่จะใชนอยกวา<br />

acacia โดย tragacanth จะใชเพียง 1 ใน 40 สวนของ phase นํ้<br />

ามัน<br />

ในการเตรียม emulsion ทั้งนี้การใช<br />

tragacanth ในปริมาณที่สูงอาจเกิดปญหาผลิตภัณฑความ<br />

หนืดสูงเกินไป Emulsion ที่เตรียมไดจาก<br />

tragacanth จะคงตัวในกรดและดาง ในทางปฏิบัติมัก<br />

เตรียม emulsion โดยใช acacia รวมกับ tragacanth เพื่อใหได<br />

emulsion ทั้งนี้เนื่องจากเปนสาร<br />

จากธรรมชาติ อาจมีโอกาสเกิดการปนเปอนของสิ่งเจือปนที่ไมตองการได<br />

ตลอดจนอาจเกิด<br />

การปนเปอนของเชื้อจุลินทรียภายหลังไดงายอีกดวย<br />

นอกจากนี้ในปจจุบันยังมีวิทยาการและ<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-2<br />

สารลดแรงตึงผิว


โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

เทคโนโลยีใหม ๆ ในการพัฒนา emulsifier ตัวใหมที่มีประสิทธิภาพและไมเปนพิษใชในทาง<br />

เครื่องสํ<br />

าอางอีกมากมาย<br />

5) Agar เปนสารสกัดธรรมชาติที่ใชเพื่อเพิ่มความคงตัวของผลิตภัณฑประเภทครีม<br />

โลชั่น<br />

โดยจะใชในความเขมขน 2% ของ agar ในสารละลายที่เหมาะสม<br />

และมักผสมในปริมาณ 1 ใน<br />

3 ถึง 1 ใน 2 ของปริมาตรของ emulsion ทั้งหมด<br />

ไมคอยนิยมใชในเครื่องสํ<br />

าอาง เนื่องจาก<br />

ปญหาการเจือปนดังกลาวดังเชน สารจากธรรมชาติประเภท gum อื่น<br />

ๆ<br />

6) Pectin เปนสารสกัดจากธรรมชาติประเภท mucilaginous ที่ไดจากเปลือกชั้นในของพืชตระกูล<br />

สมหรือแอปเปล<br />

ในการใชทางอาหาร ยา และเครื่องสํ<br />

าอาง จะตองใช pectin ที่บริสุทธิ์<br />

ปริมาณ<br />

ที่ใชจะใชเพียง<br />

10% ของ acacia ที่ใชตามปกติในการเตรียม<br />

emulsion มีที่ใชนอยกวา<br />

acacia<br />

มักนิยมใชในการเพิ่มความคงตัวของ<br />

emulsion ในผลิตภัณฑอาหารแตไมนิยมใชผลิตภัณฑ<br />

เครื่องสํ<br />

าอาง<br />

7) Sugar Esters เปนกลุมของ<br />

fatty acid esters ของนํ้<br />

าตาลซูโครส มีขอไดเปรียบกวา emulsifier<br />

ธรรมชาติตัวอื่น<br />

ๆ คือ ไมมีรสและไมมีกลิ่น<br />

โดยปกติจะใชเปนสวนผสมรวมกับ emulsifier<br />

ตัวอื่น<br />

ๆ เพื่อใหไดคา<br />

HLB ตามความตองการ สารกลุมนี้มีชื่อทางการคาวา<br />

Hyprose<br />

8) Gelatin สารสกัดจากธรรมชาติที่เปนสารในกลุมของสารลดแรงตึงผิวประเภทโปรตีนมีหลาย<br />

ตัว แตที่สํ<br />

าคัญคือ gelatin Gelatin เปนสารที่มีคุณสมบัติ<br />

amphoteric คือมี isoelectric point (PI)<br />

ซึ่งก็คือ<br />

pH ที่<br />

gelatin ไมมีประจุและที่<br />

pH นี้<br />

gelatin จะสามารถละลายไดนอยที่สุด<br />

Gelatin<br />

มี isoelectric point ได 2 คา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวิธีการเตรียม<br />

gelatin ที่ไดมา<br />

กลาวคือ gelatin type A<br />

จะไดจากสารตั้งตนที่ไดถูกปฏิกิริยาดวยกรด<br />

จะมีคา PI ระหวาง 7 และ 9 ในขณะที่<br />

gelatin<br />

type B จะไดจากสารตั้งตนที่ไดถูกทํ<br />

าปฏิกิริยาดวยดางมีคา PI ระหวาง 4.7 และ 5 สํ าหรับ<br />

type B ที่ความเปนกรด<br />

– ดาง เทากับ 8 และมีประจุเปนลบ ดังนั้นในการใช<br />

gelatin ใน<br />

ผลิตภัณฑจะตองระวังปฏิกิริยาประจุที่อาจเกิดขึ้นจากการเติมสารอื่น<br />

ๆ รวมดวย เนื่องจากจะ<br />

มีผลตอความคงตัวของ emulsion ที่เตรียมได<br />

ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงความไมเขากันของประจุใน<br />

ผลิตภัณฑจะตองใชสารรวมกันที่มีประจุประเภทเดียวกัน<br />

เชน การใช gum ประเภท<br />

tragacanth, acacia หรือ agar ซึ่งมีประจุลบโดยธรรมชาติแลวจึงควรเลือกใช<br />

gelatin type B ที่มี<br />

ความเปนกรด – ดาง คอนไปทางดาง เนื่องจาก<br />

gelatin จะมีประจุลบเหมือนกันดวย มักนิยมใช<br />

gelatin ในการผลิตอาหารและยา ในทางเครื่องสํ<br />

าอางมีใชบางเล็กนอย<br />

Gelatin เปนสารที่ไดจาก<br />

partial hydrolysis ของ collageneous tissue เชน ไดจากสวน<br />

ผิวหนัง tendons, ligament และกระดูกของสัตว ลักษณะทางกายภาพของ gelatin จะเปนผงไม<br />

มีสีหรือสีเหลืองจาง ๆ มีกลิ่นและรสเล็กนอย<br />

ไมละลายในนํ้<br />

าเย็นแตพองตัวในนํ้<br />

าได เปนสาร<br />

ใชเพิ่มความหนืดและเปน<br />

emulsifier ประเภท o/w<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-3<br />

สารลดแรงตึงผิว


โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

9) Lecithin เปนสารประเภท phospholipid ที่สกัดไดจากไขแดง<br />

เปนสารที่มีคุณสมบัติ<br />

hydrophilic สูงกวา hydrophilic จึงใชเปน emulsifier จากธรรมชาติในการเตรียม emulsion<br />

ประเภท o/w emulsion อยางไรก็ตาม lecithin จะตองเก็บในที่เหมาะสมเนื่องจากอาจเกิดการ<br />

เจือปนของเชื้อจุลินทรีย<br />

ไดงายและเปลี่ยนเปนสีเขมเนื่องจากถูกออกซิไดสในบรรยากาศ<br />

Lecithin ไมสามารถใชเปน emulsifier เดี่ยว<br />

ๆ จะตองใชรวมกับสารอื่น<br />

ๆ ดวย Lecithin<br />

สามารถใชเปน emulsifier ไดทั้งในอาหาร<br />

ยา และเครื่องสํ<br />

าอาง แตมีที่ใชไมมากทางเครื่อง<br />

สํ าอางในการเปน emulsifier อยางไรก็ตามในปจจุบันนี้ทั้ง<br />

lecithin และอนุพันธของ lecithin<br />

ไดถูกนํ ามาดัดแปลงใชในการเตรียมผลิตภัณฑประเภท colloid ที่เรียกวา<br />

liposome โดย<br />

liposome นี้เปนอนุภาคเล็ก<br />

ๆ ของ phospholipid bilayer ที่เตรียมขึ้นไดโดยสวนผสมของ<br />

lecithin หรือ อนุพันธของ lecithin รวมกับ cholesterol และสารเคมีใหประจุอื่น<br />

ๆ อนุภาคนี้<br />

มีขนาดเล็กมาก ตั้งแต<br />

1 ถึงหลาย ๆ ไมครอน ขณะนี้ไดมีการนํ<br />

า liposome กักกันสารออกฤทธิ์<br />

ตางๆ สํ าหรับใชในผลิตภัณฑสํ าหรับผิวหนังและเครื่องสํ<br />

าอางคเนื่องจาก<br />

liposome มีขอ<br />

ไดเปรียบหลายประการ เชน สามารถควบคุมการปลดปลอยของตัวยาไดดี ตลอดจนตัว<br />

liposome เองเปนอนุภาคจากสวนประกอบของธรรมชาติที่ไมทํ<br />

าใหเกิดการแพ และมีคุณสมบัติ<br />

เปนไขมันใหความชุมชื้นแกผิวหนังได<br />

10) Cholesterol เปนสารสกัดจากธรรมชาติอีกตัวหนึ่ง<br />

Cholesterol เปนสวนประกอบที่สํ<br />

าคัญของ<br />

wool alcohol ซึ่งไดจาก<br />

saponification และ fractionation ของ wool fat Cholesterol ที่อยูใน<br />

wool fat นี้เองที่ทํ<br />

าให wool fat มีความสามารถดูดนํ้<br />

าไดมาก และเกิดเปน emulsion ประเภท<br />

w/o emulsion ในปจจุบันยังไดมีการนํ า cholesterol ผสมรวมกับ phospholipid ตาง ๆ<br />

เพื่อเตรียม<br />

liposomes ในผลิตภัณฑเครื่องสํ<br />

าอางตาง ๆ อีกดวย<br />

11) Sodium Alginate เปนสารประกอบของโซเดียมของ alginic acid เปนสารธรรมชาติที่เตรียมจาก<br />

สาหรายทะเล มีอีกชื่อหนึ่งวา<br />

Kelgin สวนใหญจะเปนสารใชเพิ่มปริมาณ<br />

เพิ่มความหนืดและ<br />

เพิ่มความคงตัวใน<br />

emulsion และอาหารประเภทนม แตในทางเครื่องสํ<br />

าอางมักใชนอยมาก<br />

โลหะแคลเซียมจะทํ าใหสารละลาย sodium alginate ตกตะกอนเปน hydrated calcium alginate<br />

และกรดอิสระ alginic acid ตามปกติจะตองเติมสารกันบูดในสารละลาย sodium alginate<br />

ดวยทุกครั้ง<br />

12) สารลดแรงตึงผิวอื่น<br />

ๆ จากธรรมชาติ ในปจจุบันไดมีการนํ าสารลดแรงตึงผิวทั้งที่จากธรรม<br />

ชาติ และจากการสังเคราะหมากมายมาใชในผลิตภัณฑยาและเครื่องสํ<br />

าอางตาง ๆ นอกเหนือ<br />

จาก conventional surfactants ตาง ๆ ที่กลาวมาแลว<br />

เชน อนุพันธจากพืช สารสกัดจากสาหราย<br />

ทะเล<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-4<br />

สารลดแรงตึงผิว


2. ดานการตลาด<br />

โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

2.1 ภาวะตลาดทั่วไป<br />

ตลาดของสารลดแรงตึงผิวจะอยูในกลุมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑเครื่องสํ<br />

าอางและผลิตภัณฑ<br />

ทํ าความสะอาดตางๆ กลาวคือ สารลดแรงตึงผิวเปนสวนประกอบสํ าคัญประเภทหนึ่งที่มีอยูใน<br />

ผลิตภัณฑทั้ง<br />

2 กลุมขางตน<br />

ดังนั้นภาวะการเปลี่ยนแปลงของตลาดสารลดแรงตึงผิวจะแปรไป<br />

ตามภาวะตลาดเครื่องสํ<br />

าอาง และผลิตภัณฑทํ าความสะอาด<br />

ทั้งนี้ในปจจุบันแนวโนมทิศทางการตลาดของเครื่องสํ<br />

าอาง และผลิตภัณฑทํ าความสะอาด<br />

เปนไปในทิศทางบวก ตามการขยายตัวของสังคม และจํ านวนประชากร เนื่องจากเปนผลิตภัณฑ<br />

เครื่องใชอุปโภคในชีวิตประจํ<br />

าวัน ใชแลวหมดไป กอใหเกิดความตองการอยางตอเนื่องไมสิ้นสุด<br />

ซึ่งสงผลใหมีความตองการในสารลดแรงตึงผิวเพิ่มขึ้นไปดวยเชนกัน<br />

ปจจุบันมีผูผลิตผลิตภัณฑเครื่องสํ<br />

าอาง และผลิตภัณฑทํ าความสะอาดจํ านวนมากกวา<br />

200 ราย อันจัดเปนกลุมเปาหมายที่มีขนาดใหญ<br />

และเปนกลุมตลาดที่มีศักยภาพสํ<br />

าหรับ<br />

สารลดแรงตึงผิว<br />

พิจารณาระดับความตองการใชสารลดแรงตึงผิวภายในประเทศไดจากมูลคาการนํ าเขาสาร<br />

ลดแรงตึงผิวจากตางประเทศเปรียบเทียบกับมูลคาการสงออกของประเทศไทย (ดังตารางที่<br />

1 และ<br />

2 ในภาคผนวก) ซึ่งแสดงใหเห็นไดวา<br />

ยังมีความตองการสารลดแรงตึงผิวอีกเปนจํ านวนมากจึงทํ า<br />

ใหมูลคาการนํ าเขาสูงกวามูลคาการสงออกถึงประมาณ 4 เทา กลาวคือ ในป 2544 มีการนํ าเขาสูงถึง<br />

5,622 ลานบาท ขณะที่มีการสงออกเพียง<br />

1,423 ลานบาท โดยในการนํ าเขาสารลดแรงตึงผิวมัก<br />

จะนํ าเขาจากกลุมประเทศพัฒนาแลว<br />

เชน ญี่ปุน<br />

สหรัฐอเมริกา สิงคโปร เยอรมนี และไตหวัน<br />

เปนตน<br />

จากการไมสามารถตอบสนองความตองการใชภายในประเทศไดของการผลิตภายใน<br />

ประเทศ ณ ปจจุบัน จึงยังมีโอกาสใหกับนักลงทุนใหมเขามาเพื่อทํ<br />

าการผลิตเพื่อตอบสนองตอความ<br />

ตองการดังกลาว โดยเปนการผลิตเพื่อทดแทนการนํ<br />

าเขาจากตางประเทศ รวมทั้งอาจจะมีการขยาย<br />

การผลิตออกไปเพื่อการสงออกดวยก็ได<br />

โดยตลาดสงออกของไทยที่มีแนวโนมดี<br />

ไดแก<br />

ตลาดในกลุมประเทศอาเซียน<br />

คือ มาเลเซีย เวียดนาม สิงคโปร กัมพูชา และฟลิปปนส เปนตน<br />

นอกจากนี้ปจจุบันมีแนวโนมวาจะมีการหันมาใชสารลดแรงตึงผิวที่ทํ<br />

ามาจากพืช<br />

หรือจากอนุพันธพืชซึ่งเปนวัตถุดิบตามธรรมชาติที่ไมกอใหเกิดมลภาวะ<br />

ซึ่งมีพืชหลายๆ<br />

ชนิดที่มีอยู<br />

อยางอุดมสมบูรณในประเทศไทย เชน ปาลม ซึ่งปจจุบันประสบปญหาไมสามารถจํ<br />

าหนายได<br />

ราคาตกตํ่<br />

า ดังนั้นถาสามารถนํ<br />

าปาลมมาใชเปนวัตถุดิบในการผลิตเปนสารลดแรงตึงผิวได นอกจาก<br />

จะชวยปญหาดังกลาวแลว ยังเปนการผลิตที่สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับประเทศสูงกวาการ<br />

จํ าหนายเพียงปาลมหรือนํ้<br />

ามันปาลมหลายเทาทีเดียว<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-5<br />

สารลดแรงตึงผิว


โครงการศึกษาและจัดทํ าแบอยางการลงทุน อุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

2.2 จํ านวนผูผลิต/ผูประกอบการสารลดแรงตึงผิว<br />

ปจจุบันมีผูประกอบการที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม<br />

เพื่อทํ<br />

าการผลิตสารลด<br />

แรงตึงผิวเปนจํ านวนเพียง 2 ราย (ขอมูลจากกรมโรงงาน ณ สิงหาคม 2545) ได บริษัท โรเดีย<br />

พีพีเอ็มซี (ประเทศไทย) จํ ากัด และบริษัท เฮงเค็ลไทย จํ ากัด ดังรายละเอียดในตารางที่<br />

1<br />

ตารางที่<br />

1 รายละเอียดผูประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิตสารลดแรงตึงผิว<br />

้<br />

ชื่อโรงงาน<br />

/ ทะเบียนโรงงาน สถานที่ตั้ง<br />

/ โทรศัพท ประกอบกิจการ<br />

1. บริษัท โรเดีย พีพีเอ็มซี 84/2 ม. 4<br />

ผลิตโปลีเมอรเรซิ่น<br />

นํายาซักฟอก<br />

และ<br />

(ประเทศไทย) จํ ากัด ถ.ธนบุรี-ปากทอ(พระราม 2) ต.บางโทรัด สารลดแรงตึงผิว ไดปละ 1800 ตัน<br />

3-42(1)-2/36 สค<br />

อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000 เครื่องจักร<br />

2,400.36 HP<br />

ประเภทโรงงานหลัก 04201 โทร. 4877380<br />

เงินทุน 72,500,000 บาท<br />

คนงาน 17 คน<br />

2. บริษัท เฮงเค็ลไทย จํ ากัด<br />

น 3-42(1)-18/40 ชบ<br />

ประเภทโรงงานหลัก 04201<br />

ที่มา<br />

: กรมโรงงานอุตสาหกรรม<br />

อุตสาหกรรมทั่วไป<br />

ซ.นิคม-<br />

อุตสาหกรรมบางปะกง<br />

ต.บางปลาสรอย<br />

อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000<br />

ผลิตเคมีภัณฑ เชนสารลดแรงตึงผิว<br />

สารตัวเติมเครื่องสํ<br />

าอาง<br />

เครื่องจักร<br />

.00 HP<br />

เงินทุน 442,940,000บาท<br />

คนงาน 237 คน<br />

สวนผูประกอบการที่มิไดจดทะเบียนผลิตสารลดแรงตึงผิวกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม<br />

แตเปนผูประกอบการที่อยูในบัญชีรายชื่อของผูสงออกสารลดแรงตึงผิวกับกรมศุลกากรมีทั้งสิ้น<br />

369 ราย โดยสวนใหญจะเปนผูประกอบการที่ทํ<br />

าการผลิตผลิตภัณฑเครื่องสํ<br />

าอาง หรือผลิตภัณฑ<br />

ทํ าความสะอาด ซึ่งมักจะทํ<br />

าการผลิตสารลดแรงตึงผิวรวมดวย เพื่อเปนสวนประกอบใน<br />

การผลิตสินคาของตน<br />

โดยผูสงออกสารลดแรงตึงผิวรายสํ<br />

าคัญ ไดแก<br />

1) บริษัท โรหม แอนด ฮาสส เคมิคอล (ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

2) บริษัท แอลเอฟดี แมนูแฟคเจอริ่ง<br />

จํ ากัด<br />

3) บริษัท ซีบา สเปเชียลตี้<br />

เคมิคอลส (ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

4) บริษัท คลาเรียนท อีมัลชั่นส<br />

(ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

5) บริษัท ที เอฟ แอล (ไทยแลนด) จํ ากัด<br />

6) หจก. โกลด โอเชี่ยน<br />

เทรดดิ้ง<br />

7) บริษัท ซีบา สเปเชียลตี้<br />

เคมิคอลส (ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

8) บริษัท ทรอย เอเชีย จํ ากัด<br />

9) บริษัท คาโอ อินดัสเตรียล (ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-6<br />

สารลดแรงตึงผิว


โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

สวนผูประกอบการที่นํ<br />

าเขาสินคากลุมสารลดแรงตึงผิวมีจํ<br />

านวน 96 ราย โดยผูนํ<br />

าเขาราย<br />

สํ าคัญ ไดแก<br />

1) บริษัท ค็อกนิสไทย จํ ากัด<br />

2) บริษัท ยูนิลีเวอร ไทย โฮลดิ้งส<br />

จํ ากัด<br />

3) บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จํ ากัด<br />

4) บริษัท คาโอ อินดัสเตรียล (ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

5) บริษัท พีซีทีที จํ ากัด<br />

6) บริษัทโปรสตาร เอเชีย จํ ากัด<br />

7) บริษัท โซลารเลนส จํ ากัด<br />

8) บริษัท แอมเวย (ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

9) บริษัท คอลเกต.ปาลมโอลีฟ (ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

10) บริษัท ยูเนียนคารไบด ไทยแลนด จํ ากัด<br />

11) บริษัท อีสตเอเชียติ๊ก<br />

(ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

12) บริษัท ลอกซเลย จํ ากัด (มหาชน)<br />

13) บริษัท คลาเรียนท อีมัลชั่นส<br />

(ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

14) บริษัท ซีบา สเปเชียลตี้<br />

เคมิคอลส (ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

15) บริษัท ไลออน (ประเทศไทย) จํ ากัด<br />

2.3 ชองทางการจํ าหนาย และระดับราคาจํ าหนาย<br />

- ชองทางการจํ าหนาย<br />

เนื่องจากสารลดแรงตึงผิวเปนสินคาขั้นกลาง<br />

หรือสินคาที่เปนวัตถุดิบในการผลิตของอุตสาหกรรม<br />

อื่นๆ<br />

โดยเฉพาะผลิตภัณฑเครื่องสํ<br />

าอาง และผลิตภัณฑทํ าความสะอาดตางๆ วิธีในการจํ าหนาย<br />

ที่เหมาะสมมีอยู<br />

2 วิธีหลักๆ คือ<br />

(1) การจํ าหนายตรงเขาสูโรงงาน<br />

การจํ าหนายตรงเขาสูโรงงาน<br />

ใชกับกลุมลูกคาเปาหมายที่มีกิจการขนาดใหญ<br />

สั่งซื้อในปริมาณมาก<br />

ในแตละครั้ง<br />

โดยจํ าแนกกลุมลูกคาออกเปน<br />

2 กลุม<br />

คือ กลุมผลิตภัณฑเครื่องสํ<br />

าอาง และกลุมผลิตภัณฑ<br />

ทํ าความสะอาด เนื่องจากผลิตภัณฑทั้ง<br />

2 กลุมนี้<br />

มีลักษณะความแตกตางของตัวผลิตภัณฑ ทํ าใหสารลดแรง<br />

ตึงผิวที่จะนํ<br />

ามาใชกับผลิตภัณฑดังกลาวมีความแตกตางกันไปดวย<br />

การจํ าหนายสารลดแรงตึงผิวใหกับโรงงานผูผลิตเครื่องสํ<br />

าอาง และผลิตภัณฑทํ าความสะอาด มัก<br />

มุงเนนในดานการบริการทางดานเทคนิค<br />

โดยมีการชวยทํ าการวิจัยและพัฒนาในผลิตภัณฑสารลดแรงตึงผิว<br />

ใหเหมาะสมกับผลิตภัณฑของลูกคาอยางตอเนื่อง<br />

หรืออยางนอยตองสามารถพัฒนาสารลดแรงตึงผิวของ<br />

ตนใหไดทันกับการพัฒนาผลิตภัณฑของลูกคา เพื่อใหสามารถสรางความสัมพันธทางการคาไดในระยะยาว<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-7<br />

สารลดแรงตึงผิว


โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

(2) การจํ าหนายผานตัวแทนจํ าหนาย<br />

การจํ าหนายผานตัวแทนการจํ าหนาย ควรมุงเนนในกลุมลูกคาเปาหมายที่มีกิจการขนาดเล็ก<br />

มีปริมาณการสั่งซื้อตอครั้งไมมากนัก<br />

เชน ผูประกอบการผลิตในระดับครัวเรือน และผูผลิตระดับ<br />

กลุมแมบาน เปนตน ซึ่งการจํ<br />

าหนายผานตัวแทนใหกับลูกคากลุมเหลานี้<br />

จะทํ าใหผูผลิตสามารถกระจาย<br />

สินคาในตลาดไดรวดเร็วและกวางขวางมากกวาการกระจายสินคาดวยตนเองทั้งหมด<br />

- ระดับราคา<br />

ระดับราคาจํ าหนายสารลดแรงตึงผิวจะขึ้นลงเปลี่ยนแปลงเปนฤดูกาล<br />

โดยปกติราคาจํ าหนายจะอยู<br />

เฉลี่ยตันละประมาณ<br />

700 - 800 เหรียญดอลลารสหรัฐ หรือประมาณกิโลกรัมละ 32 บาทซึ่งในการจํ<br />

าหนาย<br />

จะมีการจํ าหนายทั้งเปนกิโลกรัม<br />

เปนลิตร บรรจุในถังพลาสติกประเภท PE<br />

3. ดานการผลิต<br />

3.1 วัตถุดิบที่ใชในการผลิต<br />

การผลิตสารลดแรงตึงผิวสามารถผลิตไดจากทั้งปโตรเคมี<br />

และจากธรรมชาติ ทั้งจากพืช<br />

และสัตว ซึ่งสารลดแรงตึงผิวในปจจุบันที่ใชในผลิตภัณฑเครื่องสํ<br />

าอางและผลิตภัณฑทํ า<br />

ความสะอาดในครัวเรือนตางๆ สวนใหญไดจากปโตรเคมี สวนผลิตภัณฑเครื่องสํ<br />

าอางที่เนนจาก<br />

ธรรมชาติจะหันมาใชสารลดแรงตึงผิวที่มีผลิตมาจากพืช<br />

เชน ปาลม สารสกัดจากเปลือกทุเรียน<br />

เปนตน สวนวัตถุดิบอื่นๆ<br />

ไดแก กํ ามะถัน<br />

3.2 อุปกรณ เครื่องมือ<br />

และเครื่องจักรที่ใชในการผลิต<br />

เครื่องจักรที่ใชผลิตสารลดแรงตึงผิวที่สํ<br />

าคัญที่ไดจากนํ้<br />

ามันปาลม เปนเครื่องจักรระบบครบ<br />

วงจร โดยเปนเทคโนโลยีการผลิตของประเทศอิตาลี และสหรัฐอเมริกา และเปนเครื่องจักรประเภท<br />

อัตโนมัติ (Automatic)<br />

สวนการผลิตสารลดแรงตึงผิวที่ทํ<br />

าจากพืชชนิดอื่นๆ<br />

เชน เปลือกทุเรียน อุปกรณและ<br />

เครื่องมือที่ใชจะเปนเพียงเครื่องกวน<br />

เครื่องบด<br />

และเครื่องอบแหง<br />

(Freeze Dry)<br />

3.3 กรรมวิธีในการผลิต<br />

กรรมวิธีในการผลิตสารลดแรงตึงผิวจากนํ้<br />

ามันปาลม โดยหลักการแลวจะเริ่มตนจากการ<br />

นํ านํ้<br />

ามันปาลมที่สกัดคอนขางบริสุทธ<br />

(Fatty Alcohol) ไหลผานทอ เพื่อใหทํ<br />

าปฏิกิริยากับกรดซัลฟู<br />

ริคที่ไดจากการเผากํ<br />

ามะถันใหเกิดเปนไอแลวรวมตัวกับอากาศเกิดเปนกรดซัลฟูริค ซึ่งจะไดสารลด<br />

แรงตึงผิว ที่สามารถนํ<br />

ามาใชในการทํ าผลิตภัณฑเครื่องสํ<br />

าอางประเภททํ าความสะอาดรางกาย และ<br />

ผลิตภัณฑทํ าความสะอาดสํ าหรับครัวเรือน<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-8<br />

สารลดแรงตึงผิว


Oil<br />

and<br />

Fats<br />

โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

แผนภาพแสดงกรรมวิธีการผลิตสารลดแรงตึงผิวจากนํ้<br />

ามันปาลม<br />

Fatty<br />

Transesterification acid Hydrogenation<br />

methyl<br />

esters<br />

Fatty<br />

Alcohol<br />

Conversion<br />

to fatty<br />

alcohol<br />

sulfate<br />

สวนกรรมวิธีการผลิตสารลดแรงตึงผิวจากเปลือกทุเรียนหรือพืชชนิดอื่นๆเปนดังตอไปนี้<br />

1) นํ าเปลือกทุเรียนสดหรือวัตถุดิบที่สามารถใชในการผลิต<br />

เชน สาหรายทะเล, แร, เคลย,<br />

เปลือกสม, เปลือกแอปเปล<br />

มาทํ าความสะอาด บดละเอียด ตากหรืออบแหง<br />

2) สกัดสารเจลโพลีแซคคาไรดดวย acidic water โดยจะเหลือสวนของกากอยู<br />

3) นํ ามากรองเพื่อแยกกากออก<br />

จะไดสวนของเจลโพลีแซคคาไรด<br />

4) ผานกระบวนการเพื่อทํ<br />

าใหเปนกรดโพลีแซคคาไรด (acidic polysaccharide)<br />

5) ไดเจลโพลีแซคคาไรด (สารลดแรงตึงผิวที่ไดจากธรรมชาติ)หากตองการทํ<br />

าใหแหงจะตอง<br />

ผานการ Freeze dry อีก 1 ขั้นตอน<br />

3.4 บุคลากรและแรงงานที่ใชในการผลิต<br />

บุคลากรที่ใชในการผลิตสารลดแรงตึงผิวในระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญที่ทํ<br />

าจากนํ้<br />

ามัน<br />

ปาลม ซึ่งมีกํ<br />

าลังการผลิตถึง 300,000 ตัน/ป ใชคนงานถึง 100 คน กรณีการผลิตสารลดแรงตึงผิวที่<br />

ทํ าจากธรรมชาติ(เปลือกทุเรียน) ใชกํ าลังการผลิต 3-4 คนก็เพียงพอแลวเนื่องจากเปนอุตสาหกรรม<br />

ขนาดเล็กและผลิตตามฤดูกาลเทานั้น<br />

4. ดานการเงินและการลงทุน<br />

การลงทุนเพื่อผลิตสารลดแรงตึงผิวในระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญจากนํ้<br />

ามันปาลมใช<br />

เงินลงทุนสูงถึง 20 ลานเหรียญสหรัฐ สวนกรณีใชวิธีการผลิตสารลดแรงตึงผิวจากเปลือกทุเรียน<br />

มีรายละเอียดตอไปนี้<br />

- คาใชจายในการลงทุน<br />

การลงทุนเพื่อทํ<br />

าการผลิตสารลดแรงตึงผิว ณ ขนาดการผลิตประมาณ 30 ตันตอป ตองใช<br />

เงินลงทุนขั้นตํ่<br />

าประมาณ 600,000 บาท โดยจํ าแนกเปนการลงทุนในเครื่องจักรอุปกรณที่ใชในการ<br />

ผลิตประมาณ 300,000 บาท หรือประมาณ 50% ของเงินลงทุนทั้งหมด<br />

และเงินทุนหมุนเวียน<br />

ประมาณ 300,000 บาท ทั้งนี้ในเงินทุนหมุนเวียนประกอบดวย<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-9<br />

สารลดแรงตึงผิว<br />

<strong>Surfactant</strong>s


โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

คาวัตถุดิบ ประมาณ 90% จํ าแนกเปน<br />

คาวัตถุดิบที่ใชในการผลิต<br />

(เปลือกทุเรียน กํ ามะถัน) 90%<br />

คาบรรจุภัณฑ 10%<br />

คาใชจายในการดํ าเนินการ (Operation Cost) ประมาณ 10%<br />

- ผลตอบแทนจากการลงทุน<br />

กรณีสามารถทํ าการจํ าหนายไดประมาณ 2,500 กิโลกรัมตอเดือน หรือ 30 ตันตอป โดยขาย<br />

ในราคาประมาณกิโลกรัมละ 30 บาท จะไดรับรายไดประมาณ 75,000 บาท/เดือน จะไดรับกํ าไร<br />

เฉลี่ยประมาณ<br />

66.7 % ของยอดขาย<br />

ทั้งนี้ถาสามารถทํ<br />

าการจํ าหนายไดประมาณ 30 ตันตอป ตลอดอายุโครงการ 2 ป จะสามารถ<br />

คืนทุน (Pay back period) ไดภายในระยะเวลา 1 ป โดยมีอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (IRR)<br />

ประมาณ 61.8%<br />

หมายเหตุ : รายละเอียดของการลงทุนเปนการประมาณการ<br />

5. ภาคผนวก<br />

1) หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของและใหการสนับสนุน<br />

(1) สถาบันการแพทยแผนไทย<br />

ที่อยู<br />

สํ านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท อ.<br />

เมือง<br />

จ.นนทบุรี 11000<br />

โทรศัพท 0-2591-2500, 0-2591-7686<br />

โทรสาร 0-2591-2500<br />

บทบาท บริการดานเอกสารวิชาการ และมีบทบาทเปนตัวกลางในการกระตุนให<br />

เกิดการผลิตสินคาจากสมุนไพร<br />

ติดตอ แพทยหญิง เพ็ญนภา ทรัพยเจริญ<br />

(2) คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

ที่อยู<br />

คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท 0-2218-8371, 0-2218-8367<br />

โทรสาร 0-2218-8368<br />

ติดตอ รศ.ดร.สุนันท พงษสามารถ และ อาจารยนิจศิริ<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-10<br />

สารลดแรงตึงผิว


โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

(3) สมาคมนักเคมีเครื่องสํ<br />

าอางแหงประเทศไทย<br />

โทรศัพท 0-2744-8384<br />

บทบาท บริการขอมูลวิชาการเรื่องสารเคมีที่ใชเปนสวนประกอบในเครื่องสํ<br />

าอาง<br />

ติดตอ คุณศิริมงคล<br />

(4) สํ านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม<br />

ที่อยู<br />

ถนนพระราม 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400<br />

โทรศัพท 0-2202-3300-4<br />

โทรสาร 0-2202-3415<br />

E-mail : thaistan@tisi.go.th<br />

Website http://www.tisi.go.th<br />

(5) กรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

ที่อยู<br />

สวนบริหารเงินทุน สํ านักพัฒนาอุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรมไทย อาคาร<br />

กรมสงเสริมอุตสาหกรรม (ชั้น<br />

4) ในบริเวณกระทรวง อุตสาหกรรม ถนนพระรามที่<br />

6<br />

เขตราชเทวี กทม.<br />

โทรศัพท 0-2248-8098, 0-2202-4475-6, 0-2245-0140<br />

บทบาท เพื่อใหความชวยเหลือราษฎรและกลุมผูประกอบอาชีพอุตสาหกรรมใน<br />

ครอบครัวและหัตถกรรมไทยตามระเบียบกระทรวงอุตสาหกรรมวาดวยเงินทุนหมุน<br />

เวียนเพื่อการสงเสริมอาชีพอุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรมไทย<br />

พ.ศ.2525<br />

ในการจัดหาวัตถุดิบเครื่องมือ<br />

อุปกรณ การผลิต การจาง แรงงานในการผลิตและ<br />

แปรรูปผลิตภัณฑ และการใหกูยืมเงินเพื่อเปนทุนในการประกอบ<br />

อาชีพหรือขยายการ<br />

ผลิตอุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรมไทย<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-11<br />

สารลดแรงตึงผิว


2) ผูจํ<br />

าหนายเครื่องจักรอุปกรณและวัตถุดิบที่เกี่ยวของกับการผลิตสารลดแรงตึงผิว<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-12สารลดแรงตึงผิว<br />

โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

ประเภทเครื่องจักร<br />

ระดับราคา (บาท) ชื่อบริษัท<br />

ที่อยู<br />

ชื่อบุคคลที่ติดตอ<br />

โทรศัพท โทรสาร<br />

1 เครื่องจักรการผลิตแบบ<br />

Automatic<br />

ขึ้นกับกํ<br />

าลังการผลิต หจก. ฟารมา ซูติคอล แอนด เมดิคอล<br />

ซัพพลาย จํ ากัด<br />

551/32-9 ซ.สรรคสุข ถ.สาธุประดิษฐ<br />

เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120<br />

www.pharmamachine.com<br />

ฝายขาย 02-284-2159-62 02-294-6068<br />

บริษัท ไทยอาซาโก จก. 620/77-78 ถ.สาธุประดิษฐ แขวง คุณสมศรี ศรีวงศราช 0-2294-6329-31 -<br />

บางโพงพาง เขตยานนาวา กทม. 10120<br />

2 เครื่อง<br />

Freeze dry บริษัท ยูโรแพ็ค 566 อาคารรวมฤดี เพลินจิต ปทุมวัน กทม. ฝายขาย 0-2651-4995-8 0-2251-2350<br />

3 ตัวทํ าละลาย เชน<br />

คลอโรฟอรม<br />

อีเธอร เฮกเซน<br />

แอลกอฮอล<br />

์<br />

<br />

50 บาท/ กก. บริษัท ฮงฮวด จํ ากัด 41-5 ถนนจักรวรรดิ แขวง/เขตสัมพันธวงศ<br />

กรุงเทพฯ 10100<br />

คุณอิสระ 0-2225-0127 02-224-0954<br />

บริษัท ยูสเวสท ดีเวลลอปเมนท จํ ากัด 3/353 หมู 9 ถ.สุวินทวงศ แขวงลํ าผักชี<br />

เขตหนองจอก กรุงเทพฯ 10530<br />

คุณสมพร 0-2543-5220-3 02-543-5227<br />

บริษัท เฮงเคลไทย จํ ากัด 71/1 ถนนพญาไท แขวงพญาไท เขตราชเทวี<br />

กรุงเทพฯ 10400 ฝายขายเคมี 0-2250-0820-9 02-252-5010-8


โครงการศึกษาและจัดทํ าแบบอยางการลงทุนอุตสาหกรรมเฉพาะเรื่อง<br />

3) สถิติการนํ าเขา - สงออกสารลดแรงตึงผิว ประจํ าป 2543 - 2545 (ม.ค.-ก.ค.)<br />

ประเทศ<br />

ตารางที่<br />

1 แสดงมูลคาการนํ าเขาสารลดแรงตึงผิวของประเทศไทย<br />

2543 2544<br />

มูลคาการนํ าเขา (บาท) สัดสวน (รอยละ)<br />

2544<br />

(ม.ค.-ก.ค.)<br />

2545<br />

(ม.ค.-ก.ค.)<br />

2543 2544<br />

2544<br />

(ม.ค.-ก.ค.)<br />

ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

2-13<br />

สารลดแรงตึงผิว<br />

2545<br />

(ม.ค.-ก.ค.)<br />

1 ญี่ปุน<br />

1,335,213,875 1,496,988,510 890,991,302 908,004,626 26.74 26.63 26.55 26.05<br />

2 สหรัฐอเมริกา 1,100,589,702 1,151,601,005 690,720,143 700,458,557 22.04 20.48 20.58 20.10<br />

3 สิงคโปร 583,115,952 823,320,931 456,727,639 548,978,229 11.68 14.65 13.61 15.75<br />

4 เยอรมนี 514,025,508 535,925,132 308,276,334 385,531,300 10.29 9.53 9.19 11.06<br />

5 ไตหวัน 192,100,039 236,680,540 148,403,076 174,099,884 3.85 4.21 4.42 4.99<br />

6 อังกฤษ 158,680,975 189,764,091 112,400,820 90,719,425 3.18 3.38 3.35 2.60<br />

7 อินโดนีเซีย 87,281,644 122,541,824 76,265,109 81,854,213 1.75 2.18 2.27 2.35<br />

8 สวิสเซอรแลนด 125,650,474 120,335,855 68,650,420 81,584,449 2.52 2.14 2.05 2.34<br />

9 ออสเตรเลีย 92,551,609 99,724,548 69,068,249 71,535,885 1.85 1.77 2.06 2.05<br />

10 ฝรั่งเศส<br />

133,202,951 119,268,795 88,819,546 49,395,980 2.67 2.12 2.65 1.42<br />

11 อื่น<br />

ๆ 671,336,607 725,648,232 445,484,226 393,571,416 13.44 12.91 13.28 11.29<br />

รวมทั้งโลก<br />

4,993,749,336 5,621,799,463 3,355,806,864 3,485,733,964 100.00 100.00 100.00 100.00<br />

อัตราการขยายตัว - 12.58 -40.31 3.87<br />

ที่มา<br />

: กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย<br />

ประเทศ<br />

ตารางที่<br />

2 แสดงมูลคาการสงออกสารลดแรงตึงผิวของประเทศไทย<br />

2543 2544<br />

มูลคาการสงออก (บาท) สัดสวน (รอยละ)<br />

2544<br />

(ม.ค.-ก.ค.)<br />

2545<br />

(ม.ค.-ก.ค.)<br />

2543 2544<br />

2544<br />

(ม.ค.-ก.ค.)<br />

2545<br />

(ม.ค.-ก.ค.)<br />

1 มาเลเซีย 174,210,738 297,663,028 132,079,385 36,267,272 17.94 20.92 17.25 3.20<br />

2 เวียดนาม 80,663,384 148,311,677 81,883,757 119,557,885 8.31 10.42 10.69 10.54<br />

3 สิงคโปร 117,717,685 152,736,201 81,411,642 106,233,154 12.12 10.73 10.63 9.37<br />

4 กัมพูชา 69,384,224 129,551,648 77,505,107 73,174,541 7.14 9.10 10.12 6.45<br />

5 ไตหวัน 66,174,131 83,255,139 50,745,148 58,312,490 6.81 5.85 6.63 5.14<br />

6 ฟลิปปนส 102,201,320 101,061,949 55,537,328 56,688,145 10.52 7.10 7.25 5.00<br />

7 ออสเตรเลีย 26,788,591 47,314,197 23,137,104 48,955,394 2.76 3.33 3.02 4.32<br />

8 เกาหลีใต 16,603,549 28,325,519 18,120,384 48,683,352 1.71 1.99 2.37 4.29<br />

9 อินโดนีเซีย 22,407,967 62,007,119 33,244,298 47,096,207 2.31 4.36 4.34 4.15<br />

10 ฮองกง 97,904,021 83,112,651 51,630,037 43,254,803 10.08 5.84 6.74 3.81<br />

11 อื่น<br />

ๆ 197,130,802 289,579,720 160,371,702 495,688,044 20.30 20.35 20.95 43.71<br />

รวมทั้งโลก<br />

971,186,412 1,422,918,848 765,665,892 1,133,911,287 100.00 100.00 100.00 100.00<br />

อัตราการขยายตัว - 46.51 -46.19 48.09<br />

ที่มา<br />

: กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!