ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ

ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ

25.02.2015 Aufrufe

บทที่ 15 40 ระบบ GPS ระบบหาที่เรือดวยดาวเทียม GLOBAL POSITIONAL SYSTEM หรือ GPS ในปจจุบัน ถือกําเนิด มาจากการริเริ่มพัฒนาระบบ NAVSTAR GPS (NAVIGATION SYSTEM USING TIMING AND RANGING GLOBAL POSITIONING SYSTEM) โดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ในป ค.ศ.๑๙๗๓ (พ.ศ.๒๕๑๖) เพื่อใชเปนระบบหาตําบลที่แบบสามมิติที่ใหทั้งตําบลที่และความสูงไดอยางตอเนื่องสําหรับเรือ และอากาศยานในกองทัพ แทนระบบ TRANSIT ที่ใหตําบลที่เพียงสองมิติเปนระยะๆ ทุก ๓๕ – ๙๕ นาที ระบบ GPS ประกอบดวยดาวเทียม ๒๘ ดวง โคจรรอบโลกที่ความสูง ๑๐,๙๐๐ ไมล แตละดวงโคจร รอบโลกทุก ๑๒ ชั่วโมง สถานีภาคพื้น ๕ แหงทําหนาที่ติดตามดาวเทียมในวงโคจรและสงขอมูลใหกับสถานี ควบคุมหลักที่มลรัฐโคโลราโด และเครื่องรับสัญญาณทําหนาที่คํานวณหาตําบลที่ การหาตําบลที่ในระบบ GPS ใชหลักการ TIMING AND RANGING หรือการคํานวณระยะทาง จากเวลาที่สัญญาณจากดาวเทียมเดินทางมาถึงเครื่องรับ โดยดาวเทียมแตละดวงจะสงสัญญาณที่ความถี่ ๑๕๗๕.๔๒ เมกะเฮิรตซ (เรียกวาความถี่ L1) และความถี่ ๑๒๒๗.๖๐ เมกะเฮิรตซ (เรียกวาความถี่ L2) ขอมูลใน ความถี่ L1 ประกอบดวยสัญญาณหยาบ (COARSE ACQUISITION CODE – C/A CODE) สําหรับผูใช ทั่วไป (STANDARD POSITIONING SERVICE – SPS) และสัญญาณละเอียด (PRECISION CODE – P CODE) ซึ่งเขารหัสสําหรับใชในกองทัพสหรัฐฯ เทานั้น (PRECISE POSITIONING SERVICE – PPS) สวนขอมูลในความถี่ L2 ประกอบดวยสัญญาณ P CODE เพียงอยางเดียว การสงสัญญาณ P CODE ใน สองความถี่ทําใหเครื่องรับสามารถเปรียบหาผลกระทบจากบรรยากาศชั้น IONOSPHERE เพื่อลดความคลาด เคลื่อนจากการรบกวนของชั้นบรรยากาศ ลักษณะวงโคจรของดาวเทียม GPS ถูกออกแบบมาใหทุกพื้นที่บนโลกสามารถมองเห็น ดาวเทียมได อยางนอย ๔ ดวงตลอดเวลา โดยสัญญาณจากดาวเทียมหนึ่งดวงจะใหเสนตําบลที่หนึ่งเสนที่เกิดจากจุดตัด ระหวางพื้นผิวโลกกับทรงกลมที่มีรัศมีเทากับระยะทางจากดาวเทียม ตําบลที่แบบสองมิติจะไดจากจุดตัด ระหวางทรงกลมรัศมีจากดาวเทียม ๒ ดวงกับพื้นผิวโลก แตเนื่องจากนาฬิกาในเครื่องรับอาจมีความคลาดเคลื่อน ได ดังนั้นจึงตองใชดาวเทียมดวงที่สามเพื่อแกคาความคลาดเคลื่อนแบบเดียวกับการหาที่เรือชายฝงดวยที่หมาย ๓ แหง และตําบลที่แบบสามมิติ (ตําบลที่และความสูง) จะหาไดจากดาวเทียมอยางนอย ๓ ดวง และใชดาวเทียม ดวงที่ ๔ เพื่อแกคาความคลาดเคลื่อน

41 ระบบ GPS มีมาตรการที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยอยู ๒ มาตรการ คือการเติมคาความคลาดเคลื่อน ลงใน C/A CODE เพื่อลดความถูกตองแมนยํา เรียกวามาตรการ SELECTIVE AVAILABILITY และการ ปองกันการรบกวนและปลอมแปลงสัญญาณ P CODE เรียกวามาตรการ ANTI-SPOOFING ตอมาเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ค.ศ.๒๐๐๐ (พ.ศ.๒๕๔๓) รัฐบาลสหรัฐฯ ไดประกาศยุติการใชมาตรการ SELECTIVE AVAILABILITY ซึ่งเพิ่มความถูกตองของบริการ SPS สําหรับผูใชทั่วไป แตรัฐบาลสหรัฐฯ ยังคงมีขีดความ สามารถในการเริ่มใชมาตรการ SELECTIVE AVAILABILITY อีกเมื่อเห็นวามีความจําเปน การหา GPS ดวยการคํานวณคาความคลาดเคลื่อนของสัญญาณ GPS จากสถานีฝงที่ทราบตําบลที่ แน นอน จากนั้นสถานีฝงจะสงคาแกใหกับเครื่องรับในบริเวณใกลเคียง ระบบ DGPS สามารถใหตําบลที่ไดถูกตอง แมนยําเทียบเทากับบริการ PPS และสามารถแกคาความคลาดเคลื่อนจากมาตรการ SELECTIVE AVAILABILITY ได แตระบบ DGPS มีพื้นที่ครอบคลุมคอนขางจํากัด เนื่องจากเครื่องรับจะตองอยูภายใน รัศมีประมาณ ๑๐๐ ไมลจากสถานีฝง (ภาพประกอบ: ดาวเทียม GPS ) ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทที่ 15<br />

40<br />

ระบบ GPS<br />

ระบบหาที่เรือดวยดาวเทียม GLOBAL POSITIONAL SYSTEM หรือ GPS ในปจจุบัน ถือกําเนิด<br />

มาจากการริเริ่มพัฒนาระบบ NAVSTAR GPS (NAVIGATION SYSTEM USING TIMING AND<br />

RANGING GLOBAL POSITIONING SYSTEM) โดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ในป ค.ศ.๑๙๗๓<br />

(พ.ศ.๒๕๑๖) เพื่อใชเปนระบบหาตําบลที่แบบสามมิติที่ใหทั้งตําบลที่และความสูงไดอยางตอเนื่องสําหรับเรือ<br />

และอากาศยานในกองทัพ แทนระบบ TRANSIT ที่ใหตําบลที่เพียงสองมิติเปนระยะๆ ทุก ๓๕ – ๙๕ นาที<br />

ระบบ GPS ประกอบดวยดาวเทียม ๒๘ ดวง โคจรรอบโลกที่ความสูง ๑๐,๙๐๐ ไมล แตละดวงโคจร<br />

รอบโลกทุก ๑๒ ชั่วโมง สถานีภาคพื้น ๕ แหงทําหนาที่ติดตามดาวเทียมในวงโคจรและสงขอมูลใหกับสถานี<br />

ควบคุมหลักที่มลรัฐโคโลราโด และเครื่องรับสัญญาณทําหนาที่คํานวณหาตําบลที่<br />

การหาตําบลที่ในระบบ GPS ใชหลักการ TIMING AND RANGING หรือการคํานวณระยะทาง<br />

จากเวลาที่สัญญาณจากดาวเทียมเดินทางมาถึงเครื่องรับ โดยดาวเทียมแตละดวงจะสงสัญญาณที่ความถี่<br />

๑๕๗๕.๔๒ เมกะเฮิรตซ (เรียกวาความถี่ L1) และความถี่ ๑๒๒๗.๖๐ เมกะเฮิรตซ (เรียกวาความถี่ L2) ขอมูลใน<br />

ความถี่ L1 ประกอบดวยสัญญาณหยาบ (COARSE ACQUISITION CODE – C/A CODE) สําหรับผูใช<br />

ทั่วไป (STANDARD POSITIONING SERVICE – SPS) และสัญญาณละเอียด (PRECISION CODE<br />

– P CODE) ซึ่งเขารหัสสําหรับใชในกองทัพสหรัฐฯ เทานั้น (PRECISE POSITIONING SERVICE –<br />

PPS) สวนขอมูลในความถี่ L2 ประกอบดวยสัญญาณ P CODE เพียงอยางเดียว การสงสัญญาณ P CODE ใน<br />

สองความถี่ทําใหเครื่องรับสามารถเปรียบหาผลกระทบจากบรรยากาศชั้น IONOSPHERE เพื่อลดความคลาด<br />

เคลื่อนจากการรบกวนของชั้นบรรยากาศ<br />

ลักษณะวงโคจรของดาวเทียม GPS ถูกออกแบบมาใหทุกพื้นที่บนโลกสามารถมองเห็น ดาวเทียมได<br />

อยางนอย ๔ ดวงตลอดเวลา โดยสัญญาณจากดาวเทียมหนึ่งดวงจะใหเสนตําบลที่หนึ่งเสนที่เกิดจากจุดตัด<br />

ระหวางพื้นผิวโลกกับทรงกลมที่มีรัศมีเทากับระยะทางจากดาวเทียม ตําบลที่แบบสองมิติจะไดจากจุดตัด<br />

ระหวางทรงกลมรัศมีจากดาวเทียม ๒ ดวงกับพื้นผิวโลก แตเนื่องจากนาฬิกาในเครื่องรับอาจมีความคลาดเคลื่อน<br />

ได ดังนั้นจึงตองใชดาวเทียมดวงที่สามเพื่อแกคาความคลาดเคลื่อนแบบเดียวกับการหาที่เรือชายฝงดวยที่หมาย<br />

๓ แหง และตําบลที่แบบสามมิติ (ตําบลที่และความสูง) จะหาไดจากดาวเทียมอยางนอย ๓ ดวง และใชดาวเทียม<br />

ดวงที่ ๔ เพื่อแกคาความคลาดเคลื่อน

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!