ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ

ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ

25.02.2015 Aufrufe

30 สงครามโลกทั้งสองครั้งในชวงตนศตวรรษที่ ๒๐ มีสวนสําคัญในการเรงการพัฒนาเทคโนโลยีใน หลายๆ ดาน และคลื่นวิทยุไดถูกนํามาใชในการนําทางเครื่องบินทิ้งระเบิดระยะไกลอยางไดผล โดยรูปแบบแรก ของระบบนําทางดวยคลื่นวิทยุเรียกวาระบบ A-N ซึ่งใชการสงสัญญาณมอรส A (• –) และ N (– •) จากเสา อากาศสองแหงพรอมกัน หากนักบินรักษาระยะระหวางเสาอากาศทั้งสองแหงเทากันก็จะไดยินเสียงสัญญาณ มอรส A และ N ซอนกันเปนโทนสัญญาณคงที่ แตถานักบินอยูใกลเสาอากาศเสาใดเสาหนึ่งมากกวาก็จะไดยิน สัญญาณมอรสจากเสานั้นดังกวา โดยฝายเยอรมันไดใชระบบนําทางดวยคลื่นวิทยุนี้ในการนําเครื่องบินไป ทิ้ง ระเบิดบนเกาะอังกฤษ ทําใหสามารถทิ้งระเบิดโจมตีอังกฤษไดแมในเวลากลางคืน ระบบ A-N สามารถใหแบริ่งคงที่ไดเพียงแบริ่งเดียวจากเสาอากาศหนึ่งคู ซึ่งเหมาะกับการนําเครื่องบิน เขาหาที่หมาย แตไมเหมาะกับการเดินเรือในทะเล จึงไดมีการพัฒนาเครื่องวิทยุหาทิศ (RADIO DIRECTION FINDER – RDF) ขึ้น ซึ่งสามารถใชบอกแบริ่งจากสถานีสงไดทุกทิศทาง และนักเดินเรือสามารถหาที่เรือได จากจุดตัดระหวางเสนแบริ่งสองเสนจากสถานีสงสองแหง ระบบวิทยุหาที่เรืออีกประเภทหนึ่งเรียกวาระบบวิทยุหาที่เรือแบบไฮเปอรบอลิค (HYPERBOLIC RADIONAVIGATION) ไดถูกพัฒนาขึ้นในชวงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง ระบบวิทยุหาที่เรือประเภทนี้ อาศัยความตางของเวลาที่สัญญาณวิทยุจากสถานีสงสองแหงเดินทางมาถึงเครื่องรับ โดยคาความตางของเวลา จากสถานีสงหนึ่งคูจะใหเสนตําบลที่แบบไฮเปอรบอลิค (HYPERBOLIC LINE OF POSITION) หนึ่งเสน และตําบลที่เรือแนนอน (ELECTRONIC FIX) สามารถหาไดจากจุดตัดของเสนตําบลที่ไฮเปอรบอลิคสอง เสน โดยอาศัยสถานีสงสองคู (จากสถานีสงอยางนอยสามแหง) ระบบวิทยุหาที่เรือแบบไฮเปอรบอลิคแบบแรก ที่ถูกพัฒนาขึ้นคือระบบ GEE ของอังกฤษในป ค.ศ.๑๙๔๒ (พ.ศ.๒๔๘๕) ซึ่งใชยานความถี่ ๓๐ – ๘๐ เมกะเฮิรตซ และตอมาในป ค.ศ.๑๙๔๓ (พ.ศ.๒๔๘๖) สหรัฐอเมริกาก็ไดพัฒนาระบบ LORAN (ยอมาจาก LONG RANGE NAVIGATION) ซึ่งประกอบดวยสถานีสงกวา ๗๐ แหง สงสัญญาณในยานความถี่ ๑๘๕๐ – ๑๙๕๐ กิโลเฮิรตซ มีระยะทําการกวา ๖๐๐ ไมล ครอบคลุมพื้นที่เกือบ หนึ่งในสามของโลก การพัฒนาเทคโนโลยีวิทยุความถี่ต่ําหลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ ทําใหระบบ LORAN ไดถูกพัฒนา ตอมาเปน LORAN-C ในชวงตนทศวรรษที่ ๑๙๕๐ ระบบ LORAN-C ประกอบดวยกลุมสถานีสงหลายแหง หางกันหลายรอยไมลในหลายประเทศ โดยแตละกลุมประกอบดวยสถานีแม ๑ สถานีและสถานียอย ๒ – ๔ สถานี ซึ่งสถานีแมและสถานียอยนี้จะสงสัญญาณวิทยุแบบ PULSE ดวยความถี่ ๑๐๐ กิโลเฮิรตซ ออกมาตาม ลําดับ จากนั้นเครื่องรับบนเรือจะคํานวณคาความตางระหวางระยะทางถึงสถานีแมกับสถานียอยจากเวลาตาง ของคลื่นวิทยุที่ไดรับ และแสดงคาระยะตางนั้นสําหรับพลอตบนแผนที่พิเศษที่มีเสนไฮเปอรบอลิค หรือแสดงคา

ละติจูดและลองจิจูดโดยตรง ระบบ LORAN-C ใหตําบลที่ที่มีความถูกตอง (ACCURACY) และความ แมนยํา (PRECISION) สูง โดยมีคาความถูกตอง ๐.๑ – ๐.๒ ไมล และความแมนยํา ๕๐ เมตร 31 (ภาพประกอบ: เสน HYPERBOLIC ระหวางสถานีสงหนึ่งคู) ระบบวิทยุหาที่เรือที่สําคัญอีกระบบคือระบบ OMEGA ซึ่งถูกริเริ่มพัฒนาขึ้นโดย ทร.สหรัฐฯ ในป ค.ศ.๑๙๔๗ (กอนหนาระบบ LORAN-C เล็กนอย) แตเนื่องจากปญหาความยุงยากทางเทคนิค ทําใหตองใช เวลากวา ๒๐ ป กวาจะเริ่มใชงานได และสามารถใชงานไดโดยสมบูรณใน ป ค.ศ.๑๙๘๒ (พ.ศ.๒๕๒๕) ระบบ OMEGA ประกอบดวยสถานีสง ๘ สถานีทั่วโลก แตละสถานีตั้งอยูหางกัน ๕,๐๐๐ – ๖,๐๐๐ ไมล สงสัญญาณ วิทยุในยานความถี่ต่ํามาก (๑๐ – ๑๔ กิโลเฮิรตซ) ใหระยะครอบคลุมทั่วโลก ระบบ OMEGA เปนระบบวิทยุหา ที่เรือแบบไฮเปอรบอลิคเชนเดียวกับระบบ LORAN-C แตตางกันตรงที่ระบบ OMEGA สงสัญญาณแบบ CW ความถี่ต่ํามาก ๔ ความถี่ และใชการเปรียบเทียบเฟสของคลื่น CW ในการคํานวณหาตําบลที่ ระบบ OMEGA ใหที่เรือที่มีความถูกตองแมนยํา ๑ – ๒ ไมล ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ทั่วโลก (ภาพประกอบ: เสน HYPERBOLIC สองชุดระหวางสถานีสงสามแหง)

30<br />

สงครามโลกทั้งสองครั้งในชวงตนศตวรรษที่ ๒๐ มีสวนสําคัญในการเรงการพัฒนาเทคโนโลยีใน<br />

หลายๆ ดาน และคลื่นวิทยุไดถูกนํามาใชในการนําทางเครื่องบินทิ้งระเบิดระยะไกลอยางไดผล โดยรูปแบบแรก<br />

ของระบบนําทางดวยคลื่นวิทยุเรียกวาระบบ A-N ซึ่งใชการสงสัญญาณมอรส A (• –) และ N (– •) จากเสา<br />

อากาศสองแหงพรอมกัน หากนักบินรักษาระยะระหวางเสาอากาศทั้งสองแหงเทากันก็จะไดยินเสียงสัญญาณ<br />

มอรส A และ N ซอนกันเปนโทนสัญญาณคงที่ แตถานักบินอยูใกลเสาอากาศเสาใดเสาหนึ่งมากกวาก็จะไดยิน<br />

สัญญาณมอรสจากเสานั้นดังกวา โดยฝายเยอรมันไดใชระบบนําทางดวยคลื่นวิทยุนี้ในการนําเครื่องบินไป ทิ้ง<br />

ระเบิดบนเกาะอังกฤษ ทําใหสามารถทิ้งระเบิดโจมตีอังกฤษไดแมในเวลากลางคืน<br />

ระบบ A-N สามารถใหแบริ่งคงที่ไดเพียงแบริ่งเดียวจากเสาอากาศหนึ่งคู ซึ่งเหมาะกับการนําเครื่องบิน<br />

เขาหาที่หมาย แตไมเหมาะกับการเดินเรือในทะเล จึงไดมีการพัฒนาเครื่องวิทยุหาทิศ (RADIO DIRECTION<br />

FINDER – RDF) ขึ้น ซึ่งสามารถใชบอกแบริ่งจากสถานีสงไดทุกทิศทาง และนักเดินเรือสามารถหาที่เรือได<br />

จากจุดตัดระหวางเสนแบริ่งสองเสนจากสถานีสงสองแหง<br />

ระบบวิทยุหาที่เรืออีกประเภทหนึ่งเรียกวาระบบวิทยุหาที่เรือแบบไฮเปอรบอลิค (HYPERBOLIC<br />

RADIONAVIGATION) ไดถูกพัฒนาขึ้นในชวงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง ระบบวิทยุหาที่เรือประเภทนี้<br />

อาศัยความตางของเวลาที่สัญญาณวิทยุจากสถานีสงสองแหงเดินทางมาถึงเครื่องรับ โดยคาความตางของเวลา<br />

จากสถานีสงหนึ่งคูจะใหเสนตําบลที่แบบไฮเปอรบอลิค (HYPERBOLIC LINE OF POSITION) หนึ่งเสน<br />

และตําบลที่เรือแนนอน (ELECTRONIC FIX) สามารถหาไดจากจุดตัดของเสนตําบลที่ไฮเปอรบอลิคสอง<br />

เสน โดยอาศัยสถานีสงสองคู (จากสถานีสงอยางนอยสามแหง) ระบบวิทยุหาที่เรือแบบไฮเปอรบอลิคแบบแรก<br />

ที่ถูกพัฒนาขึ้นคือระบบ GEE ของอังกฤษในป ค.ศ.๑๙๔๒ (พ.ศ.๒๔๘๕) ซึ่งใชยานความถี่ ๓๐ – ๘๐<br />

เมกะเฮิรตซ และตอมาในป ค.ศ.๑๙๔๓ (พ.ศ.๒๔๘๖) สหรัฐอเมริกาก็ไดพัฒนาระบบ LORAN (ยอมาจาก<br />

LONG RANGE NAVIGATION) ซึ่งประกอบดวยสถานีสงกวา ๗๐ แหง สงสัญญาณในยานความถี่ ๑๘๕๐<br />

– ๑๙๕๐ กิโลเฮิรตซ มีระยะทําการกวา ๖๐๐ ไมล ครอบคลุมพื้นที่เกือบ หนึ่งในสามของโลก<br />

การพัฒนาเทคโนโลยีวิทยุความถี่ต่ําหลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ ทําใหระบบ LORAN ไดถูกพัฒนา<br />

ตอมาเปน LORAN-C ในชวงตนทศวรรษที่ ๑๙๕๐ ระบบ LORAN-C ประกอบดวยกลุมสถานีสงหลายแหง<br />

หางกันหลายรอยไมลในหลายประเทศ โดยแตละกลุมประกอบดวยสถานีแม ๑ สถานีและสถานียอย ๒ – ๔<br />

สถานี ซึ่งสถานีแมและสถานียอยนี้จะสงสัญญาณวิทยุแบบ PULSE ดวยความถี่ ๑๐๐ กิโลเฮิรตซ ออกมาตาม<br />

ลําดับ จากนั้นเครื่องรับบนเรือจะคํานวณคาความตางระหวางระยะทางถึงสถานีแมกับสถานียอยจากเวลาตาง<br />

ของคลื่นวิทยุที่ไดรับ และแสดงคาระยะตางนั้นสําหรับพลอตบนแผนที่พิเศษที่มีเสนไฮเปอรบอลิค หรือแสดงคา

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!