ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ

ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ

25.02.2015 Aufrufe

16 ตอมา เคปเลอรไดแสดงใหเห็นวาสามารถใชเลนสนูนสองชิ้นประกอบกันเปนกลองสองทางไกลได อยางไรก็ดี การพัฒนากลองสองทางไกลและกลองโทรทัศนแบบหักเหไดมาถึงทางตันในอีกไมกี่ปตอมาเนื่อง จากปญหาของการเกิดปรากฏการณ ABERRATION (ปรากฏการณที่แสงที่มีความยาวคลื่นไมเทากันทํามุมหัก เหผานตัวกลางไมเทากัน ซึ่งเปนหลักการเดียวกันกับการใชปริซึมแยกแสงออกเปนสีรุง) ทําใหตองใชเลนสที่มี ความยาวโฟกัสสูงเพื่อลดปญหาปรากฏการณ ABERRATION (ภาพประกอบ: ปรากฏการณ ABERRATION) แตการใชเลนสที่มีความยาวโฟกัสสูงทําใหตัวกลองมีขนาดความยาวมากไปดวย ตอมาเดคารตไดใชกฎ ของสเนล (WILLEBRORD SNELL) วาดวยการหักเหของแสงและดัชนีหักเห อธิบายปรากฏการณ ABERRATION ในกลองโทรทัศนแบบหักเหและเสนอวิธีแกไขดวยการใชเลนสที่มีสวนโคงแบบไฮเปอรบอ ลิคแทนที่เลนสที่มีสวนโคงแบบทรงกลม แตนักทําเลนสในสมัยนั้นยังไมมีความสามารถในการผลิตเลนสแบบ ไฮเปอรบอลิคได จนกระทั่งในป ค.ศ.๑๖๗๒ (พ.ศ.๒๒๑๕ – ตรงกับสมัยสมเด็จพระนารายณ) นิวตันไดตีพิมพ ผลงานวาดวยสเปกตรัมและการหักเหของแสง และสรางกลองโทรทัศนแบบสะทอน โดยใชกระจกสะทอนสอง ชิ้น (DOUBLE REFLECTING MIRROR) ประกอบดวยกระจกโคงที่ปลายกลองทําหนาที่สะทอนแสงเขา สูกระจกเรียบขนาดเล็ก ซึ่งชวยแกปญหา ABERRATION ในกลองโทรทัศนแบบหักเหได หลักการใชกระจกสะทอนสองชิ้นหรือ DOUBLE REFLECTING MIRROR ของนิวตันนอกจากจะแก ปญหาของกลองโทรทัศนแบบหักเหไดแลว ยังเปนประโยชนตอการพัฒนากลองสองทางไกลในยุคตอๆมา

17 (ภาพประกอบ: ทางเดินของแสงในกลองโทรทัศนแบบสะทอนของนิวตัน) การประดิษฐเซ็กสแตนทหรือเครื่องวัดดาวในปจจุบัน: ในป ค.ศ.๑๗๓๑ (พ.ศ.๒๒๗๔ – ตรงกับสมัย สมเด็จ พระเจาอยูหัวทายสระในชวงอยุธยาตอนปลาย) นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษชื่อ จอหน ฮาดลีย (JOHN HADLEY) ไดประยุกตหลักการ DOUBLE REFLECTING MIRROR ของนิวตันมาประดิษฐเครื่องวัด ดาว OCTANT โดย HADLEY ใชหลักที่วากระจกสะทอนสองชิ้นมีขนาดเปนครึ่งหนึ่งของมุมระหวางวัตถุ สองชิ้นที่สะทอนผานกระจกนั้น สรางเครื่องวัดดาว OCTANT ที่มีขนาดมุมเพียง ๔๕ องศา (หรือหนึ่งในแปด ของ วงกลม – OCTANT แปลวาหนึ่งในแปด) แตสามารถวัดมุมไดถึง ๙๐ องศา หรือเทากับ QUADRANT และในปเดียวกัน ทอมัส กอดเฟรย (THOMAS GODFREY) ชาวอเมริกันไดประดิษฐเครื่องวัดดาวที่สามารถ วัดมุมไดถึง ๑๘๐ องศา โดยใชหลักการ DOUBLE REFLECTING MIRROR เชนเดียวกัน แตเครื่องวัดดาว ของ GODFREY ไมเปนที่นิยมเทาของ HADLEY เนื่องจากมีขนาดใหญเทอะทะและมีน้ําหนักมาก (ภาพประกอบ: หลักการทํางานของเซ็กสแตนท)

16<br />

ตอมา เคปเลอรไดแสดงใหเห็นวาสามารถใชเลนสนูนสองชิ้นประกอบกันเปนกลองสองทางไกลได<br />

อยางไรก็ดี การพัฒนากลองสองทางไกลและกลองโทรทัศนแบบหักเหไดมาถึงทางตันในอีกไมกี่ปตอมาเนื่อง<br />

จากปญหาของการเกิดปรากฏการณ ABERRATION (ปรากฏการณที่แสงที่มีความยาวคลื่นไมเทากันทํามุมหัก<br />

เหผานตัวกลางไมเทากัน ซึ่งเปนหลักการเดียวกันกับการใชปริซึมแยกแสงออกเปนสีรุง) ทําใหตองใชเลนสที่มี<br />

ความยาวโฟกัสสูงเพื่อลดปญหาปรากฏการณ ABERRATION<br />

(ภาพประกอบ: ปรากฏการณ ABERRATION)<br />

แตการใชเลนสที่มีความยาวโฟกัสสูงทําใหตัวกลองมีขนาดความยาวมากไปดวย ตอมาเดคารตไดใชกฎ<br />

ของสเนล (WILLEBRORD SNELL) วาดวยการหักเหของแสงและดัชนีหักเห อธิบายปรากฏการณ<br />

ABERRATION ในกลองโทรทัศนแบบหักเหและเสนอวิธีแกไขดวยการใชเลนสที่มีสวนโคงแบบไฮเปอรบอ<br />

ลิคแทนที่เลนสที่มีสวนโคงแบบทรงกลม แตนักทําเลนสในสมัยนั้นยังไมมีความสามารถในการผลิตเลนสแบบ<br />

ไฮเปอรบอลิคได จนกระทั่งในป ค.ศ.๑๖๗๒ (พ.ศ.๒๒๑๕ – ตรงกับสมัยสมเด็จพระนารายณ) นิวตันไดตีพิมพ<br />

ผลงานวาดวยสเปกตรัมและการหักเหของแสง และสรางกลองโทรทัศนแบบสะทอน โดยใชกระจกสะทอนสอง<br />

ชิ้น (DOUBLE REFLECTING MIRROR) ประกอบดวยกระจกโคงที่ปลายกลองทําหนาที่สะทอนแสงเขา<br />

สูกระจกเรียบขนาดเล็ก ซึ่งชวยแกปญหา ABERRATION ในกลองโทรทัศนแบบหักเหได<br />

หลักการใชกระจกสะทอนสองชิ้นหรือ DOUBLE REFLECTING MIRROR ของนิวตันนอกจากจะแก<br />

ปญหาของกลองโทรทัศนแบบหักเหไดแลว ยังเปนประโยชนตอการพัฒนากลองสองทางไกลในยุคตอๆมา

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!