25.02.2015 Aufrufe

ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ

ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ

ศิลป์และศาสตร์แห่งการเดินเรือ - โรงเรียนนายเรือ

MEHR ANZEIGEN
WENIGER ANZEIGEN

Sie wollen auch ein ePaper? Erhöhen Sie die Reichweite Ihrer Titel.

YUMPU macht aus Druck-PDFs automatisch weboptimierte ePaper, die Google liebt.

1<br />

ศิลปและศาสตรแหงการเดินเรือ<br />

จากที่เรือรายงานสูที่เรือดาวเทียม<br />

โดย กัปตันนีโม


สารบัญ<br />

2<br />

หนา<br />

บทที่ 1 บทนํา 3<br />

บทที่ 2 การเดินเรือรายงานและเดินเรือชายฝง 4<br />

บทที่ 3 ยุคแรกเริ่มของการเดินเรือดาราศาสตร 5 - 7<br />

บทที่ 4 การคนพบโลกใหม และการเดินทางรอบโลก 8 - 10<br />

บทที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือเดินเรือดาราศาสตรรุนตอมา 11 - 12<br />

บทที่ 6 กวาจะมาเปนแผนที่เดินเรือยุคใหม 13 - 14<br />

บทที่ 7 กลองสองทางไกลและเซ็กสแตนท 15 - 18<br />

บทที่ 8 การหาลองจิจูดในทะเล 19 - 23<br />

บทที่ 9 การเดินเรือดาราศาสตรสมัยใหม 24 - 26<br />

บทที่ 10 เขาสูยุคแหงการเดินเรืออิเล็กทรอนิกส 27 - 28<br />

บทที่ 11 ระบบวิทยุหาที่เรือ (RADIO NAVIGATION SYSTEM) 29 - 32<br />

บทที่ 12 ระบบเดินเรือดวยแรงเฉื่อย (INERTIAL NAVIGATION SYSTEM) 33 - 35<br />

บทที่ 13 ระบบหาที่เรือดวยดาวเทียม (SATELLITE NAVIGATION SYSTEM) 36 - 37<br />

บทที่ 14 ปรากฏการณ DOPPLER และระบบ NAVSAT 38 - 39<br />

บทที่ 15 ระบบ GPS 40 - 41<br />

บทที่ 16 ระบบหาที่เรือดวยดาวเทียมอื่นๆ 42 - 43<br />

บทที่ 17 ระบบแผนที่อิเล็กทรอนิกส 44 - 46<br />

บทที่ 18 บทสรุป 47


ศิลปและศาสตรแหงการเดินเรือ – จากที่เรือรายงานสูที่เรือดาวเทียม<br />

บทที่ 1<br />

บทนํา<br />

3<br />

ดวยเทคโนโลยีอันทันสมัยในปจจุบัน นักเดินเรือสามารถหาที่เรือกลางทะเลเปดไกลฝงไดอยางงายดาย<br />

และแมนยําดวยการอานคาละติจูดและลองจิจูดจากหนาจอเครื่อง GPS บนสะพานเดินเรือ นอกจากระบบหาที่<br />

เรือดวยดาวเทียมหรือระบบจีพีเอส (GPS – GLOBAL POSITIONING SYSTEM) แลว อุปกรณสมัยใหม<br />

อื่นๆ เชนเข็มทิศไยโร วิทยุสื่อสาร เรดาร และเครื่องหยั่งน้ํา ไดชวยทําใหการเดินเรือเปนเรื่องปลอดภัยและ ไม<br />

ยุงยากเทาในอดีต แตกวาจะมาถึงความสะดวกสบายและความปลอดภัยในปจจุบันได ศิลปและศาสตรแหงการ<br />

เดินเรือไดผานประวัติศาสตรอันยาวนาน การพัฒนาศิลปและศาสตรที่เกี่ยวของกับการเดินเรือจากอดีตมาจนถึง<br />

ปจจุบันนั้น ประกอบดวยเหตุการณที่นาสนใจมากมาย ซึ่งนอกจากจะเปนเกร็ดความรูทางประวัติศาสตรสําหรับ<br />

นักเดินเรือแลว ยังชวยเตือนใหนักเดินเรือสมัยใหมไดระลึกถึงอันตรายและความยากลําบากที่มีอยูคูกับชีวิตชาว<br />

เรือ แมวาเครื่องมือชวยในการเดินเรือจะถูกพัฒนามากขึ้นเพียงใดก็ตาม<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 2<br />

การเดินเรือรายงานและเดินเรือชายฝง<br />

4<br />

มนุษยตระหนักถึงความสําคัญและขอไดเปรียบเชิงปริมาณของการขนสงทางน้ํามาตั้งแตครั้งอดีตกาล<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งในสมัยที่การขนสงทางบกยังไมมีการพัฒนา แตถึงแมวาความรูทางดานดาราศาสตรและแผน<br />

ที่จะถูกบุกเบิกตั้งแตสมัยกรีกหลายรอยปกอนคริสตกาล นักเดินเรือ ในสมัยกอนศตวรรษที่ ๑๒ ยังคงใชเพียงวิธี<br />

การหาที่เรือรายงาน (DEAD RECKONING – DR) และที่เรือชายฝงเปนหลักในการเดินเรือ การเดินเรือใน<br />

สมัยนั้นมีความเปนศิลปมากกวาศาสตรเนื่องจากในสมัยนั้นยังไมมีเครื่องมือตางๆ ที่เหมาะสม เชน เข็มทิศแม<br />

เหล็ก เครื่องวัดดาว และนาฬิกาโครโนเมตร และนักเดินเรือตองใชการคาดคะเนที่ไมเที่ยงตรงนัก โดยใชวิธีการ<br />

คาดคะเนระยะทางที่เรือเดินทางไปไดจากความเร็วและเวลา และใชกระแสลม (ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงแนนอน<br />

ตามฤดูกาล) หรือการสังเกตดวงอาทิตยและดาวตางๆ ในการบอกทิศเมื่อเดินเรือในทะเลเปดไกลฝง นักเดินเรือ<br />

ในสมัยนั้นจึงไมสามารถเดินเรือหางฝงไดเปนระยะเวลานาน<br />

ตอมาในศตวรรษที่ ๑๒ ชาวยุโรปไดเรียนรูวิธีการประดิษฐเข็มทิศแมเหล็กจากชาวจีน และเริ่มนําเข็ม<br />

ทิศแมเหล็กมาใชอยางแพรหลายในการเดินเรือ ประกอบกับเทคนิคการหาที่เรือรายงานไดถูกพัฒนาขึ้นโดยการ<br />

โยนวัตถุลอยน้ําลงขางกราบและสังเกตความเร็วที่เรือเคลื่อนที่ผานระหวางจุด ที่ทําเครื่องหมายสองจุดบนเรือ<br />

และตอมาไดพัฒนาขึ้นเปนการโยนทอนไมที่ผูกเชือกเปนปมลง ทายเรือ และนับจํานวนปมเชือกที่ปลอยออกไป<br />

ขณะใชนาฬิกาทรายจับเวลา ซึ่งวิธีนี้เปนที่มาของ การนับหนวยความเร็วเรือเปนนอต (knot – ปมเชือก)<br />

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 3<br />

ยุคแรกเริ่มของการเดินเรือดาราศาสตร<br />

5<br />

หลักการของเสนตําบลที่ทองฟา (CELESTIAL LINE OF POSITION) ในเทคนิคการเดินเรือดารา<br />

ศาสตรสมัยใหมถูกคนพบโดยบังเอิญในป ค.ศ.๑๘๓๗ แตยุคแรกเริ่มของการเดินเรือดาราศาสตรเกิดขึ้นพรอม<br />

กับความรูทางคณิตศาสตรและวิทยาการในยุคฟนฟูศิลปะวิทยา หรือยุคเรเนซอง (RENAISSANCE) ใน<br />

ศตวรรษที่ ๑๔ ในยุคนี้ไดเกิดความแพรหลายของอุปกรณในการวัดดาวแบบตางๆ เชน ASTROLABE และ<br />

QUADRANT ซึ่งการเดินเรือดาราศาสตรในสมัยนั้นนักเดินเรือจะใชเครื่องมือเหลานี้ในการคํานวนหาละติจูด<br />

โดยนําเรือใหอยูบนละติจูดของเมืองทาหรือเกาะที่ตองการไปถึง จากนั้นจะถือเข็มตะวันตกหรือตะวันออกในทิศ<br />

ทางของเมืองทาหรือเกาะไปเรื่อยๆ จนถึงเมืองทาหรือเกาะนั้น<br />

การหาละติจูดในซีกโลกเหนือเปนสิ่งที่ทําไดไมยากนักดวยการวัดมุมสูงของดาวเหนือ (POLARIS)<br />

ดาวเหนือจะอยูที่ประมาณขอบฟาที่ละติจูด ๐ องศา (เสนศูนยสูตร) และอยูเกือบตรงศีรษะที่ละติจูด ๙๐ องศา<br />

เหนือ (ขั้วโลกเหนือ) มุมสูงของดาวเหนือจึงใชบอกละติจูดอยางคราวๆได สวนในซีกโลกใตซึ่งมองไมเห็นดาว<br />

เหนือ และไมสามารถหาละติจูดดวยวิธีดังกลาวได นักเดินเรือจึงตองหาวิธีใหมในการหาละติจูดโดยไมใชดาว<br />

เหนือ ในชวงศตวรรษที่ ๑๔ – ๑๕ ซึ่งเปนชวงขยายตัวของการคาขายระหวางยุโรปกับเอเชีย ชาวโปรตุเกสไดคิด<br />

คนวิธีหาละติจูดโดยไมใชดาวเหนือ ดวยการวัดมุมสูงของดวงอาทิตย ขณะที่ดวงอาทิตยกําลังผานเมอริเดียนที่<br />

มุมสูงสุด (MERIDIAN TRANSIT หรือ LOCAL APPARENT NOON) ซึ่งขณะนั้นดวงอาทิตยจะอยูตรง<br />

ทิศเหนือหรือใตของผูตรวจพอดี ผูตรวจสามารถคํานวณหาคาละติจูดไดโดยใชมุมสูงของดวงอาทิตยที่วัดได<br />

หากดวงอาทิตยอยูตรงเสนศูนยสูตรตลอดเวลา การหาคาละติจูดจะสามารถทําไดดวยวิธีคลายกับการหาละติจูด<br />

ดวยดาวเหนือ (ดวงอาทิตยจะอยูตรงศีรษะที่เสนศูนยสูตร และอยูตรงขอบฟาที่ขั้วโลก) แตเนื่องจากแกนหมุน<br />

ของโลกเอียงและดวงอาทิตยไมไดอยูตรงเสนศูนยสูตร การหาละติจูดดวยวิธีนี้จึงตองแกคามุมของดวงอาทิตย<br />

จากเสนศูนยสูตร (คา DECLINATION)<br />

ในศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๓ ซึ่งเปนชวงปลายยุคมืด ชาวยุโรปไดรูจักกับเครื่องมือวัดมุมสูงของวัตถุทองฟา<br />

เรียกวา ASTROLABE จากชาวมุสลิมในระหวางการขยายอํานาจของอาณาจักรอิสลามในยุโรป สวนประกอบ<br />

หลักของเครื่อง ASTROLABE ประกอบดวยแผนกลมหรือวงแหวนที่ทําเครื่องหมายขนาดมุมไวโดยรอบ<br />

และแขนที่หมุนรอบศูนยกลางของวงแหวนสําหรับใชวัดมุมสูงของวัตถุทองฟา เมื่อผูใชเล็งปลายแขนทั้งสอง<br />

ขางกับวัตถุทองฟาก็จะสามารถอานคามุมไดจากเครื่องหมายขนาดมุมบนวงแหวนที่ปลายแขนชี้ โดยเวลาใชงาน<br />

จะแขวนตัววงแหวนไวเพื่ออาศัยแรงโนมถวงของโลกถวงเครื่อง ASTROLABE ใหไดมุมตั้งตรงกับพื้น<br />

โลกตลอดเวลา


6<br />

(ภาพประกอบ: เครื่อง ASTROLABE)<br />

เครื่องมือวัดมุมสูงของวัตถุทองฟาอีกแบบหนึ่งที่เริ่มมีใชในชวงศตวรรษที่ ๑๓ คือ QUADRANT<br />

ซึ่งเปนเครื่องวัดมุมสูงอยางงายที่อาศัยแรงโนมถวงของโลกเชนเดียวกับ ASTROLABE โดย QUADRANT<br />

ประกอบดวยแผนหนึ่งในสี่ของวงกลม (ชื่อ QUADRANT แปลวาหนึ่งในสี่) ที่ทําเครื่องหมายขนาดมุมตาม<br />

สวนโคง และน้ําหนักถวงผูกอยูกับมุมของแผนหนึ่งในสี่วงกลม ผูใช QUADRANT วัดมุมสูงของวัตถุทอง<br />

ฟาโดยการเล็งดานขางของ QUADRANT กับดาวที่ตองการวัด และอานคามุมจากเครื่องหมายบนดานโคงที่<br />

ตรงกับเชือกผูกน้ําหนัก<br />

(ภาพประกอบ: QUADRANT)


7<br />

การที่ ASTROLABE และ QUADRANT ตองอาศัยน้ําหนักและแรงโนมถวงของโลกในการวัดมุม<br />

ทําใหเกิดความคลาดเคลื่อนในการวัดเมื่อมีการเคลื่อนไหว เชน บนเรือที่โคลง (เครื่องมือทั้งสองแบบถูกใชโดย<br />

นักดาราศาสตรบนบกเปนหลัก) และยังไมมีการคิดประดิษฐเครื่องมือวัดมุมสูงของวัตถุทองฟาที่เหมาะกับการ<br />

ใชในเรือไปอีกเกือบรอยป การเดินเรือรายงานจึงยังคงเปนวิธีหลักในการเดินเรือหางฝง และใชการเดินเรือดารา<br />

ศาสตรประกอบเพื่อหาละติจูด<br />

จะเห็นไดวา การเดินเรือในสมัยศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๕ เริ่มมีความเปนศาสตรขึ้นมาบาง แตก็ยังมีความ<br />

เปนศิลปมากกวาศาสตรเนื่องจากขาดอุปกรณที่เที่ยงตรง แตดวยความตองการเครื่องเทศและสินคาจากเอเชีย<br />

การขยายอํานาจทางเศรษฐกิจและการเผยแผศาสนาคริสต ทําใหมีนักเดินเรือจํานวนมากออกเดินทางเพื่อสํารวจ<br />

และคนหาเสนทางใหมๆ และในยุคนี้ก็ไดมีเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรของการเดินเรืออยูสองเหตุการณ<br />

ที่เกิดขึ้นไลเลี่ยกัน นั่นคือการเดินเรือขามมหาสมุทรแอตแลนติก และการเดินเรือรอบโลกเปนครั้งแรก<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 4<br />

การคนพบโลกใหม และการเดินทางรอบโลก<br />

8<br />

ในปลายศตวรรษที่ ๑๕ นักเดินเรือในโปรตุเกสชื่อคริสโตเฟอร โคลัมบัส ไดคิดแผนการที่จะออกเดิน<br />

ทางคนหาเสนทางไปยังทวีปเอเชียโดยการขามมหาสมุทรแอตแลนติก แทนการออมใตทวีปแอฟริกา ซึ่งเปนเสน<br />

ทางปกติในสมัยนั้น โดยโคลัมบัสคํานวณระยะทางไปยังเอเชียไดประมาณ ๓,๐๐๐ ไมล<br />

จากการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตรและขนาดเสนผาศูนยกลางโลกจากตําราสมัยกรีก ประกอบกับ<br />

ขอมูลขนาดของทวีปเอเชียจากบันทึกสมัยปลายศตวรรษที่ ๑๓ ของมารโค โปโล โคลัมบัสไดเสนอแผนดังกลาว<br />

ตอกษัตริยจอหนที่สองแหงโปรตุเกสเพื่อขอรับทุนสนับสนุน แตกษัตริยจอหนที่สองไมสนใจแผนของโคลัมบัส<br />

หลายปตอมาโคลัมบัสเดินทางไปยังเสปนและไดเสนอแผนการคนหาเสนทางไปยังเอเชียตอพระราชินี<br />

ISABELLA และกษัตริย FERDINAND ใน ครั้งนี้แผนของโคลัมบัสไดรับการสนับสนุน (หลังจากที่เกือบจะ<br />

ถูกปฏิเสธ) โคลัมบัสออกเดินทางจากเสปน ในปลายป ค.ศ.๑๔๙๒ (พ.ศ.๒๐๓๕ – ตรงกับสมัยสมเด็จพระรามา<br />

ธิบดีที่ ๒ ในชวงอยุธยาตอนตน) ใชเวลาเดินทางขามมหาสมุทรแอตแลนติกกวา ๒ เดือน เปนระยะทางกวา ๔,<br />

๐๐๐ ไมล ซึ่งเกินกวาระยะทางที่โคลัมบัสไดคํานวณไวลวงหนา แตที่จริงแลวเขายังไปไดไมถึงครึ่งของเสนทาง<br />

สูเอเชียดวยซ้ํา โคลัมบัสใชวิธีเดินเรือรายงานเปนหลัก (เชนเดียวกับนักเดินเรือสวนมากในสมัยนั้น) โดยเครื่อง<br />

มือเดินเรือที่ โคลัมบัสใชเปนหลักคือเข็มทิศแมเหล็ก และนาฬิกาทราย โดยถือเข็มไปทางตะวันตกและหาที่เรือ<br />

รายงานจากการคํานวณความเร็วเรือทุกชั่วโมงดวยนาฬิกาทราย จากหลักฐานปูมเรือเดินของโคลัมบัส โคลัมบัส<br />

ไดใช ASTROLABE เพื่อพยายามหาละติจูดอยูสามถึงสี่ครั้งตลอดการเดินทาง แตผลออกมาไมเปนที่นาพอใจ<br />

นัก โคลัมบัสจึงไมไดหาที่เรือ ดาราศาสตรอีกเลย โคลัมบัสเดินทางมาถึงหมูเกาะบาฮามาส (ซึ่งเขาเรียกวาหมู<br />

เกาะอินเดียตะวันตก) ทางตะวันออกของคิวบาในปจจุบัน และทําการสํารวจอยูเกือบสามเดือน ในระหวางการ<br />

สํารวจเขาเสียเรือไป ๑ ลํา จากการเกยหินโสโครก จากนั้นจึงออกเดินทางกลับเสปนในเดือนมกราคมของป<br />

ค.ศ.๑๔๙๓ ใชเวลาเดินทางขากลับเกือบสองเดือน<br />

ถึงแมโคลัมบัสจะไมพบเสนทางไปยังทวีปเอเชีย การคนพบแผนดินทางตะวันตกของมหาสมุทรแอต<br />

แลนติกทําใหมีนักเดินเรือ และนักสํารวจจํานวนมากเดินทางขามมหาสมุทร แอตแลนติกเพื่อสํารวจโลกใหม<br />

และคนหาเสนทางไปยังทวีปเอเชียผานโลกใหม


9<br />

(ภาพประกอบ: คริสโตเฟอร โคลัมบัส)<br />

หนึ่งในนั้นคือนักเดินเรือชาวโปรตุเกส ชื่อเฟอรดินาน แมเจลแลน (FERDINAND MAGELLAN)<br />

๒๕ ปหลังจากการขามมหาสมุทรแอตแลนติกของโคลัมบัส หรือในป ค.ศ.๑๕๑๗ (พ.ศ. ๒๐๖๐ – ยังคงอยูใน<br />

สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒) แมเจลแลนเสนอแผนการที่จะคนหาเสนทางลัดไปยังทวีปเอเชียโดยออมทางใต<br />

ของโลกใหม (หรือทวีปอเมริกาใตในปจจุบัน) ตอกษัตริยชารลสที่หนึ่ง (CHARLES I) แหงเสปน โดยแมเจล<br />

แลนคาดการณวาเมื่อเดินทางออมใตโลกใหมไปแลวเขาสามารถเดินทางไปถึงหมูเกาะ เครื่องเทศ ซึ่งเปน<br />

ประเทศอินโดนีเซียในปจจุบันไดภายในเวลาไมกี่สัปดาห แผนการเดินทางของแมแจลแลนเปนที่สนใจของ<br />

กษัตริยเสปนเปนอยางมาก เนื่องจากในขณะนั้นโปรตุเกสกําลังควบคุมเสนทางเดินเรือไปยังเอเชียผานทางทวีป<br />

แอฟริกา เสปนจึงตองการเสนทางไปยังเอเชียของ ตนเอง และกษัตริยชารลสที่หนึ่ง ไดมอบเรือจํานวน ๕ ลํา<br />

พรอมลูกเรือ ใหกับแมเจแลน โดยมีขอแมวาแมเจลแลน (ซึ่งเปนชาวโปรตุเกส) จะตองใชลูกเรือชาวเสปนเปน<br />

สวนใหญ<br />

แมเจลแลนออกเดินทางจากเสปนในปลายป ค.ศ. ๑๕๑๙ แตการคนหาเสนทางผาน แผนดินใหญ (แม<br />

เจลแลนนําเรือหลงเขาไปในแมน้ําและอาวปดหลายครั้ง) และความหนาวเย็นของทะเลใกลขั้วโลกใต ทําใหแม<br />

เจลแลนเสียเวลาจนถึงปลายป ค.ศ.๑๕๒๐ กวาจะผานชองแคบ (ซึ่ง ตอมาตั้งชื่อวาชองแคบแมเจลแลน เพื่อเปน<br />

เกียรติแกผูคนพบ) ออกสูมหาสมุทรแปซิฟก ซึ่งในระหวางการเดินทางในชวงตนนั้นแมเจลแลนเสียเรือไป ๒ ลํา<br />

หลังจากที่ผานปลายใตสุดของทวีปอเมริกาใต แมเจลแลนเดินทางรวมสองเดือนโดยไมเห็นฝงหรือเกาะเลย การ<br />

ที่แมเจลแลนใชเวลาขามมหาสมุทรแปซิฟกนานกวาที่ประมาณไวมากทําใหปริมาณอาหารและน้ําจืดไมเพียงพอ<br />

ในระหวางนี้แมเจลแลนสูญเสียลูกเรือไปอีก ๑๙ คน ในเดือนมีนาคม ค.ศ.๑๕๒๑ แมเจลแลนเดินทางมาถึง หมู<br />

เกาะซึ่งเปนประเทศฟลิปปนสในปจจุบัน ใชเวลาขามมหาสมุทรแปซิฟกทั้งหมดกวาสามเดือน


10<br />

(ภาพประกอบ: เฟอรดินาน แมเจลแลน)<br />

แมเจลแลนเสียชีวิตลงที่ฟลิปปนสจากการเขาไปเกี่ยวของกับความขัดแยงระหวางคน พื้นเมือง แตถึงแม<br />

จะเสียผูนําใหญไป ลูกเรือทั้งหมดก็รูวาตนไดเดินทางมาถึงเอเชียแลว จึงไดเดินทางตอไปยังหมูเกาะเครื่องเทศ<br />

(อินโดนีเซียในปจจุบัน) กอนที่จะกลับเสปนตามแผนเดิมของแมเจลแลนดวยลูกเรือที่เหลืออยู ๑๑๕ คน กับเรือ<br />

๒ ลํา (เรือลําที่สามถูกเผาทิ้งเนื่องจากจํานวนคนไมพอที่จะเดินเรือทั้งสามลํา) ภายใตการนําของ เซบาสเตียน<br />

เดลคาโน เมื่อถึงหมูเกาะเครื่องเทศแลว เดลคาโนตัดสินใจที่จะแยกเรือทั้งสองลํา โดยใหลําหนึ่งเดินทางตอไปยัง<br />

เสปนผานทวีปแอฟริกา สวนอีกลําเดินทางกลับทางเดิมผานทวีปอเมริกาใต ในที่สุดจากเรือทั้งหมด ๕ ลํา กับลูก<br />

เรือกวา ๒๐๐ คน มีเพียงเรือ ๑ ลํา (ลําที่เดลคาโนนําผานทวีปแอฟริกา) กับลูกเรือ ๑๘ คนที่รอดกลับไปถึงเสปน<br />

ไดในเดือนกันยายน ค.ศ.๑๕๒๒ รวมเวลาเดินทางทั้งสิ้นเกือบ ๓ ป<br />

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 5<br />

การพัฒนาเครื่องมือเดินเรือดาราศาสตรรุนตอมา<br />

11<br />

เครื่องมือเดินเรือดาราศาสตรในยุคของโคลัมบัสและแมเจลแลนตองอาศัยแรงโนมถวงของโลก<br />

ในการวัดมุมสูงของวัตถุทองฟา จึงทําใหการวัดมุมบนเรือที่โคลงทําไดไมเที่ยงตรงนัก อยางไรก็ดี นักดารา<br />

ศาสตรบนบกไดคิดคนเครื่องมือวัดดาวที่ไมตองอาศัยแรงโนมถวงของโลกไดหลายสิบปกอนการเดินทางของ<br />

โคลัมบัส เครื่องมือดังกลาวคือ CROSS STAFF ซึ่งใชหลักการตรีโกณในการวัดมุมระหวางดาวสองดวง หรือ<br />

ระหวางดาวกับขอบฟา โดย CROSS STAFF ประกอบดวยไมสองชิ้นวางเปนมุมตั้งฉาก ไมชิ้นสั้นเปนแขน<br />

หรือฐานของสามเหลี่ยมดานเทา และไมชิ้นยาวเปนแกนหรือความสูงของสามเหลี่ยม ซึ่งทําเครื่องหมายบอกมุม<br />

ไวตามความยาวของแกน CROSS STAFF ใชวัดมุมระหวาง ดาวสองดวงหรือมุมสูงของดาวโดยการเล็งแกน<br />

ไปที่ตรงกลางระหวางดาวสองดวง หรือระหวางดาวกับขอบฟา แลวเลื่อนแขนไปจนกวาจุด สองจุดที่ตองการวัด<br />

อยูตรงปลายแขนทั้งสองขาง และอานคามุมจากตําแหนงของแขนบนแกน<br />

(ภาพประกอบ: CROSS STAFF)<br />

นักเดินเรือเริ่มใช CROSS STAFF บนเรืออยางแพรหลายในชวงกลางศตวรรษที่ ๑๖ แตเครื่องมือทั้ง<br />

หมดที่กลาวถึงยังมีปญหาอีกประการหนึ่ง คือเมื่อจะใชวัดมุมสูงของดวงอาทิตย ผูใชงานจะตองเล็งเครื่องมือไป<br />

ที่ดวงอาทิตยโดยตรง ซึ่งอาจทําใหตาบอดได จึงไดมีการพยายามคิดประดิษฐเครื่องมือที่ผูใชไมตองเล็งไปที่ดวง<br />

อาทิตยโดยตรง ในป ๑๕๙๕ จอหน เดวิส ชาวอังกฤษ ไดประดิษฐเครื่องวัดมุมสูงของดวงอาทิตยขึ้น โดยใช


หลักการตรีโกณเชนเดียวกับ CROSS STAFF แตดัดแปลงใหผูใชงานหันหลังใหดวงอาทิตย และเล็งแกน<br />

ไปที่ขอบฟา กับเลื่อนแขนใหเงาของปลายแขนตรงกับปลายแกน โดยเรียกเครื่องมือใหมนี้วา BACK STAFF<br />

(ตอมานิยมเรียกเครื่องมือนี้วา DAVIS QUADRANT ตามชื่อของจอหน เดวิส)<br />

12<br />

(ภาพประกอบ: BACK STAFF)<br />

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 6<br />

กวาจะมาเปนแผนที่เดินเรือยุคใหม<br />

13<br />

เมื่อ ๒๐๐ กวาปกอนคริสตกาล นักปราชญ ERATOSTHENES ชาวโรมัน คนพบวาโลกกลมและใช<br />

หลักการตรีโกณคํานวณรัศมีของโลกจากความแตกตางของเงาในตําบลที่ตางกัน ตอมา PTOLEMY ไดปรับ<br />

ปรุงการคํานวณของ ERATOSTHENES และนํามาประกอบการทําแผนที่ การคํานวณของ<br />

ERATOSTHENES ไดผลใกลเคียงกับรัศมีจริงของโลก แตการ “ปรับปรุง” ของ PTOLEMY ทําใหรัศมีของ<br />

โลกที่คํานวณไดเล็กลงและคลาดเคลื่อนไปจากความเปนจริง (เปนเหตุใหโคลัมบัสคิดวาเอเชียอยูหางไปทาง<br />

ตะวันตกเพียง ๓,๐๐๐ ไมล) ไมกี่ปตอมา HIPPARCHUS ไดริเริ่มการใชเสนละติจูดและลองจิจูดในการแสดง<br />

ตําบลที่บนแผนที่ แตความรูเกี่ยวกับภูมิศาสตรและการทําแผนที่ในสมัยกรีกไดสาบสูญไปจากยุโรปไปเกือบพัน<br />

ปในชวงยุคมืด<br />

จนกระทั่งในยุค เรเนซอง ความรูตางๆ ในสมัยกรีกไดถูกฟนฟูขึ้นอีกครั้ง ในสมัยนั้นชาวโปรตุเกสมีชื่อ<br />

เสียงทางดานการทําแผนที่ แตแผนที่ในยุคนั้นยังมีปญหาในการแสดงพื้นผิวทรงกลมลงบนระนาบแผนกระดาษ<br />

จนกระทั่งในป ค.ศ.๑๕๖๙ (เกือบ ๕๐ ปหลังจากการเดินทางรอบโลกของแมเจลแลน - ตรงกับชวงเสียกรุงศรี<br />

อยุธยาครั้งที่หนึ่ง) เจอรราด เครเมอร (GERRARD KREMER) หรือเจอรราด เมอรเคเตอร (GERARD<br />

MERCATOR) ไดคิดคนการฉายภาพจากทรงกลมลงบนพื้นราบ โดยวิธีการฉายภาพดังกลาวแสดงเสนเกลียว<br />

(RHUMB LINE) เปนเสนตรงบนแผนที่ ซึ่งเปนประโยชนอยางมากในการเดินเรือ ถึงแมวาเสนเกลียวจะมี<br />

ระยะทางมากกวาเสนวงใหญ (GREAT CIRCLE) แตการเดินเรือตามเสนเกลียวทําไดงายกวาดวยการถือเข็ม<br />

คงที่ จึงเหมาะสําหรับการนําเรือดวยเข็มทิศ (เสนเกลียวคือเสนที่ทํามุมคงที่กับเสนละติจูดและลองจิจูด และจะ<br />

วนเปนเกลียวเขาไปหาขั้วโลก) แผนที่แบบนี้เรียกวาแผนที่เมอรเคเตอร (MERCATOR PROJECTION) ซึ่ง<br />

ยังคงใชเปนแผนที่เดินเรืออยูในปจจุบัน<br />

(ภาพประกอบ: แผนที่โลกของเมอรเคเตอร)


14<br />

(ภาพประกอบ: แผนที่เมอรเคเตอร)<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 7<br />

กลองสองทางไกลและเซ็กสแตนท<br />

15<br />

ชวงศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ นับไดวาเปนยุคทองของการพัฒนาทางฟสิกส ดาราศาสตร และวิทยาศาสตร<br />

ผลงานของนักวิทยาศาสตรและนักดาราศาสตรเชน กาลิเลโอ (GALILEO GALILEI), เคปเลอร<br />

(JOHANNES KEPLER), เดคารต (RENE’ DESCARTES) และนิวตัน (ISAAC NEWTON) ทําใหการ<br />

พัฒนาเครื่องมือเดินเรือในยุคนี้เปนไปอยางรวดเร็ว<br />

ในป ค.ศ. ๑๖๐๘ (พ.ศ.๒๑๕๑ – สมัยสมเด็จ พระเอกาทศรถ) ชางทําแวนชาวเนเธอรแลนดชื่อ HANS<br />

LIPPERHY ไดยื่นขอจดทะเบียนลิขสิทธิ์กลองสองทางไกลแบบหักเหดวยการประกอบเลนสนูน (CONVEX<br />

LENSE) และเลนสเวา (CONCAVE LENSE) เขาดวยกันในกระบอก แต LIPPERHY ไมไดรับลิขสิทธิ์<br />

เนื่องจากมีผูอางวาตนเปนคนคิดประดิษฐกลองสองทางไกลหลายคนในเวลาไลเลี่ยกัน ความไมยุงยากซับซอน<br />

ในการผลิตทําใหกลองสองทางไกลแพรกระจายไปทั่วยุโรปภายในเวลาไมถึงหนึ่งป ตอมาในป ค.ศ.๑๖๐๙ กาลิ<br />

เลโอ ไดประดิษฐกลองสองทางไกลกําลังสูง (กลองโทรทัศน) ขึ้น กาลิเลโอใชกลองดังกลาวสองดูวัตถุทองฟา<br />

และเขียนบรรยายภาพพื้นผิวดวงจันทรและอธิบายการคนพบดวงจันทรของดาวพฤหัสเปนคนแรก ในป<br />

ค.ศ.๑๖๑๑<br />

(ภาพประกอบ: กลองสองทางไกลของกาลิเลโอ)


16<br />

ตอมา เคปเลอรไดแสดงใหเห็นวาสามารถใชเลนสนูนสองชิ้นประกอบกันเปนกลองสองทางไกลได<br />

อยางไรก็ดี การพัฒนากลองสองทางไกลและกลองโทรทัศนแบบหักเหไดมาถึงทางตันในอีกไมกี่ปตอมาเนื่อง<br />

จากปญหาของการเกิดปรากฏการณ ABERRATION (ปรากฏการณที่แสงที่มีความยาวคลื่นไมเทากันทํามุมหัก<br />

เหผานตัวกลางไมเทากัน ซึ่งเปนหลักการเดียวกันกับการใชปริซึมแยกแสงออกเปนสีรุง) ทําใหตองใชเลนสที่มี<br />

ความยาวโฟกัสสูงเพื่อลดปญหาปรากฏการณ ABERRATION<br />

(ภาพประกอบ: ปรากฏการณ ABERRATION)<br />

แตการใชเลนสที่มีความยาวโฟกัสสูงทําใหตัวกลองมีขนาดความยาวมากไปดวย ตอมาเดคารตไดใชกฎ<br />

ของสเนล (WILLEBRORD SNELL) วาดวยการหักเหของแสงและดัชนีหักเห อธิบายปรากฏการณ<br />

ABERRATION ในกลองโทรทัศนแบบหักเหและเสนอวิธีแกไขดวยการใชเลนสที่มีสวนโคงแบบไฮเปอรบอ<br />

ลิคแทนที่เลนสที่มีสวนโคงแบบทรงกลม แตนักทําเลนสในสมัยนั้นยังไมมีความสามารถในการผลิตเลนสแบบ<br />

ไฮเปอรบอลิคได จนกระทั่งในป ค.ศ.๑๖๗๒ (พ.ศ.๒๒๑๕ – ตรงกับสมัยสมเด็จพระนารายณ) นิวตันไดตีพิมพ<br />

ผลงานวาดวยสเปกตรัมและการหักเหของแสง และสรางกลองโทรทัศนแบบสะทอน โดยใชกระจกสะทอนสอง<br />

ชิ้น (DOUBLE REFLECTING MIRROR) ประกอบดวยกระจกโคงที่ปลายกลองทําหนาที่สะทอนแสงเขา<br />

สูกระจกเรียบขนาดเล็ก ซึ่งชวยแกปญหา ABERRATION ในกลองโทรทัศนแบบหักเหได<br />

หลักการใชกระจกสะทอนสองชิ้นหรือ DOUBLE REFLECTING MIRROR ของนิวตันนอกจากจะแก<br />

ปญหาของกลองโทรทัศนแบบหักเหไดแลว ยังเปนประโยชนตอการพัฒนากลองสองทางไกลในยุคตอๆมา


17<br />

(ภาพประกอบ: ทางเดินของแสงในกลองโทรทัศนแบบสะทอนของนิวตัน)<br />

การประดิษฐเซ็กสแตนทหรือเครื่องวัดดาวในปจจุบัน: ในป ค.ศ.๑๗๓๑ (พ.ศ.๒๒๗๔ – ตรงกับสมัย<br />

สมเด็จ พระเจาอยูหัวทายสระในชวงอยุธยาตอนปลาย) นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษชื่อ จอหน ฮาดลีย (JOHN<br />

HADLEY) ไดประยุกตหลักการ DOUBLE REFLECTING MIRROR ของนิวตันมาประดิษฐเครื่องวัด<br />

ดาว OCTANT โดย HADLEY ใชหลักที่วากระจกสะทอนสองชิ้นมีขนาดเปนครึ่งหนึ่งของมุมระหวางวัตถุ<br />

สองชิ้นที่สะทอนผานกระจกนั้น สรางเครื่องวัดดาว OCTANT ที่มีขนาดมุมเพียง ๔๕ องศา (หรือหนึ่งในแปด<br />

ของ วงกลม – OCTANT แปลวาหนึ่งในแปด) แตสามารถวัดมุมไดถึง ๙๐ องศา หรือเทากับ QUADRANT<br />

และในปเดียวกัน ทอมัส กอดเฟรย (THOMAS GODFREY) ชาวอเมริกันไดประดิษฐเครื่องวัดดาวที่สามารถ<br />

วัดมุมไดถึง ๑๘๐ องศา โดยใชหลักการ DOUBLE REFLECTING MIRROR เชนเดียวกัน แตเครื่องวัดดาว<br />

ของ GODFREY ไมเปนที่นิยมเทาของ HADLEY เนื่องจากมีขนาดใหญเทอะทะและมีน้ําหนักมาก<br />

(ภาพประกอบ: หลักการทํางานของเซ็กสแตนท)


ตอมาในป ค.ศ. ๑๗๕๗ จอหน เบิรด (JOHN BIRD) ชาวอังกฤษ ไดปรับปรุงเครื่องวัดดาว<br />

OCTANT โดยขยายขนาดมุมออกเปน ๖๐ องศา (หรือหนึ่งในหกของวงกลม) ใหสามารถวัดมุมไดถึง ๑๒๐<br />

องศา เพื่อใชวัดมุมระหวางดวงจันทรกับดาวฤกษหรือดาวเคราะหอื่นๆ ในวิธีการหาลองจิจูดดวยวิธี LUNAR<br />

DISTANCE (ซึ่งจะกลาวถึงในบทตอไป) เครื่องมือวัดดาวแบบของเบิรดก็คือตนแบบของเซ็กสแตนทแบบที่มี<br />

ใชในปจจุบันนั่นเอง (เซ็กสแตนทแปลวาหนึ่งในหก) ตอมาถึงแมวา เซ็กสแตนทในปจจุบันจะมีขนาดมุมมาก<br />

กวา ๖๐ องศา เพื่อใหสามารถวัดมุมไดกวางขึ้น ชื่อเซ็กสแตนทก็ยังคงใชเรียกเครื่องมือวัดดาวแบบนี้อยู<br />

18<br />

(ภาพประกอบ: เครื่องวัดดาว OCTANT)<br />

จะเห็นไดวา การเดินเรือในสมัยศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๕ เริ่มมีความเปนศาสตรขึ้นมาบาง แตก็ยังมีความ<br />

เปนศิลปมากกวาศาสตรเนื่องจากขาดอุปกรณที่เที่ยงตรง แตดวยความตองการเครื่องเทศและสินคาจากเอเชีย<br />

การขยายอํานาจทางเศรษฐกิจและการเผยแผศาสนาคริสต ทําใหมีนักเดินเรือจํานวนมากออกเดินทางเพื่อสํารวจ<br />

และคนหาเสนทางใหมๆ และในยุคนี้ก็ไดมีเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรของการเดินเรืออยูสองเหตุการณ<br />

ที่เกิดขึ้นไลเลี่ยกัน นั่นคือการเดินเรือขามมหาสมุทรแอตแลนติก และการเดินเรือรอบโลกเปนครั้งแรก<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 8<br />

การหาลองจิจูดในทะเล<br />

19<br />

นักเดินเรือรูจักวิธีหาละติจูดในทะเลโดยการวัดมุมสูงของดาวเหนือและดวงอาทิตย (หรือดาวฤกษที่<br />

ทราบ DECLINATION) มานานนับพันป แตก็ยังไมมีเครื่องมือและวิธีการที่เหมาะสมสําหรับการวัดลองจิจูด<br />

ในทะเลไดจนถึงศตวรรษที่ ๑๘ การหาละติจูดทําไดไมยากนักเนื่องจากมุมสูงของดาวที่ใชหาละติจูดไมขึ้นอยู<br />

กับเวลาที่ทําการวัด แตการหาลองจิจูดจําเปนตองใชเวลามาตรฐานเขามาเกี่ยวของ เนื่องจากตําแหนงของดาว ณ<br />

เวลาทองถิ่น ๑๙๐๐ ที่ลองจิจูด ๑๐๐ องศา นั้นไมตางจากตําแหนงของดาว ณ เวลาทองถิ่น ๑๙๐๐ ที่ลองจิจูดใดๆ<br />

วิธีการหนึ่งที่สามารถใชหาลองจิจูดได คือการเทียบเวลาทองถิ่นที่หาไดกับเวลามาตรฐาน (เชน GMT) เนื่อง<br />

จากใน ๑ วัน หรือ ๒๔ ชั่วโมง โลกหมุนรอบตัวเองได ๓๖๐ องศา สวนตางของเวลาที่หาได ๑ ชั่วโมง จึงเทากับ<br />

สวนตางของลองจิจูด ๑๕ องศา<br />

อยางไรก็ดี ในชวงปลายศตวรรษที่ ๑๗ ถึงตนศตวรรษที่ ๑๘ ยังไมมีผูประดิษฐนาฬิกาที่สามารถเดินได<br />

เที่ยงตรงบนเรือที่โคลง เนื่องจากในสมัยนั้นมีแตนาฬิกาลูกตุมซึ่งใชแรงโนมถวงของโลกในการแกวงลูกตุม<br />

และการโคลงของเรือทําใหอัตราการแกวงของลูกตุมไมคงที่ ในยุคนี้นัก ดาราศาสตรและนักคณิตศาสตรจึงได<br />

พยายามคิดคนวิธีหาละติจูดในทะเลโดยไมตองใชนาฬิกาเทียบเวลามาตรฐาน วิธีหนึ่งที่ใชหาลองจิจูดไดโดยไม<br />

ใชนาฬิกาเทียบเวลามาตรฐานคือวิธี LUNAR DISTANCE ซึ่งใชการวัดมุมระหวางดวงจันทรกับดวงอาทิตย<br />

หรือวัตถุทองฟาอื่นๆ แตวิธีนี้ตองใชการคํานวณที่คอนขางซับซอน และความคลาดเคลื่อนเพียงเล็กนอยในการ<br />

วัดมุมอาจทําใหตําบลที่ผิดไปหลายสิบไมล วิธีนี้จึงไมเปนที่นิยมนัก และในป ค.ศ.๑๙๐๗ ปฏิทินเดินเรือ<br />

(NAUTICAL ALMANAC) ก็ไดหยุดการตีพิมพตารางสําหรับคํานวณหาลองจิจูดดวยวิธี LUNAR<br />

DISTANCE<br />

ในระหวางป ค.ศ. ๑๖๙๐ – ๑๗๐๗ ราชนาวีอังกฤษไดเสียเรือไปหลายลําจากความ คลาดเคลื่อนในการ<br />

หาตําบลที่เรือ เปนเหตุใหทางรัฐบาลตองการหาวิธีวัดหรือคํานวณลองจิจูดในทะเลสําหรับนักเดินเรือโดยเร็ว<br />

(ฝรั่งเศสและเสปนก็กําลังพยายามหาวิธีคํานวณลองจิจูดอยูเชนกัน) และในป ค.ศ.๑๗๑๔ (พ.ศ.๒๒๕๗ – ตรง<br />

กับสมัยสมเด็จพระเจาอยูหัวทายสระในชวงอยุธยา ตอนปลาย) รัฐบาลอังกฤษไดเสนอรางวัลถึง ๒๐,๐๐๐ ปอนด<br />

ใหกับผูที่สามารถคิดวิธีหาลองจิจูดไดดวยความแมนยําภายใน ๓๐ ลิปดา (เทียบเทาเวลาคลาดเคลื่อนไมเกิน ๒<br />

นาที) โดยวิธีดังกลาวจะตองเหมาะสมกับการใชงานในทะเล<br />

ทั้งนักคณิตศาสตรและนักดาราศาสตรตางก็พยายามคิดคนวิธีหาลองจิจูดเปนเวลานับสิบปเพื่อหวังเอา<br />

ชนะเงินรางวัล ๒๐,๐๐๐ ปอนด แตก็ไมประสบความสําเร็จ


20<br />

จนกระทั่งหลายคนเชื่อวาการหาลองจิจูดในทะเลอยางแมนยําเปนสิ่งที่เปนไปไมได แตในที่สุดก็มีชาง<br />

ทํานาฬิกาชาวอังกฤษชื่อ จอหน แฮริสัน (JOHN HARRISON) ไดเสนอที่จะสรางนาฬิกาที่สามารถเดินได<br />

อยางเที่ยงตรงบนเรือเพื่อใชรักษาเวลามาตรฐานสําหรับเทียบเวลาหาลองจิจูด แฮริสันไดรับการศึกษาเพียงแค<br />

จากการฝกงานทํานาฬิกาจากบิดา แตดวยความคิดริเริ่ม ความพยายาม และความชํานาญในวิชาชีพทําใหเขา<br />

สามารถแกปญหาลองจิจูดไดสําเร็จ แฮริสันสรางนาฬิกาลูกตุมแบบตั้งพื้นไดตั้งแตอายุ ๒๐ ป และเขาสามารถ<br />

แกปญหาการยืดและหดตัวของกานลูกตุมนาฬิกาตามอุณหภูมิดวยการประดิษฐกานลูกตุมผสมทําดวยเหล็กและ<br />

ทองเหลืองไดเมื่ออายุ ๓๔ ป ตอมาในป ค.ศ.๑๗๓๕ (พ.ศ.๒๒๗๘ – ตรงกับสมัยสมเด็จพระเจาบรมโกศในชวง<br />

อยุธยาตอนปลาย) แฮริสันไดนํานาฬิกาเรือนแรก ชื่อวา H1 มาเสนอตอคณะกรรมการ BOARD OF<br />

LONGITUDE โดยแฮริสันใชเวลาสราง H1 นานถึง ๕ ป ในการสรางนาฬิกา H1 แฮริสันแกปญหาแรงโนม<br />

ถวงกับอาการโคลงของเรือดวยการใช ลูกตุมสองชุดและใชสปริงในการควบคุมอัตราการแกวงของลูกตุม<br />

ในป ค.ศ. ๑๗๓๖ แฮริสันไดนํานาฬิกา H1 ไปทดลองบนเรือรบ HMS CENTURION และเรือรบ<br />

HMS ORFORD ซึ่งผลการทดลองออกมาเปนที่นาพอใจ แตแฮริสันเห็นวายังสามารถพัฒนาตอไปไดอีก ในป<br />

ตอมาเขาจึงไดขอรับเงินสนับสนุนจากคณะกรรมการ BOARD OF LONGITUDE เพื่อสรางนาฬิกาเรือนที่<br />

สองใหเสร็จภายในสองป โดยจะแกไขขอบกพรองของ H1 ใหเดินไดเที่ยงตรงมากขึ้นและมีขนาดเล็กลง<br />

(ภาพประกอบ: นาฬิกา H1 ของแฮริสัน)<br />

แฮริสันใชเวลาเกือบสามป ในการสราง นาฬิกาเรือนที่สอง (หรือ H2) ซึ่งใชหลักการทํางานเดียวกับ<br />

H1 แตมีขนาดใหญและหนักกวา ความเที่ยงตรงของ H2 ยังไมเปนที่พอใจของแฮริสัน เนื่องจากการแกวงของ<br />

ลูกตุมยังไดรับผลกระทบจากอาการโคลงของเรือ เขาจึงไดใชเวลาอีกเกือบ ๒๐ ป เพื่อสราง H3 แฮริสันพบวา


21<br />

แกนลูกตุมติดสปริงแบบเดิมไมสามารถแกไขปญหาเนื่องจากอาการโคลงของเรือไดทั้งหมด จึงไดเปลี่ยนแกน<br />

ลูกตุมเปนแบบวงแหวน และไดเพิ่มแหวนแบริ่งเพื่อลดความเสียดทาน แต H3 ก็ยังไมประสบความสําเร็จ<br />

ในป ค.ศ. ๑๗๕๕ แฮริสันขอรับเงินสนับสนุนจากคณะกรรมการ BOARD OF LONGITUDE อีกครั้ง เพื่อ<br />

สรางนาฬิกาเรือนใหมอีกหนึ่งเรือน ในครั้งนี้แฮริสันเริ่มออกแบบ H4 ใหมทั้งหมด เนื่องจากเขาเชื่อวาหลักการ<br />

ใชสปริงเพื่อ ควบคุมการแกวงของลูกตุมใน H1 ถึง H3 ไมสามารถแกปญหาเนื่องจากอาการโคลงของเรือได<br />

อยางสมบูรณ<br />

(ภาพประกอบ: นาฬิกา H3 ของแฮริสัน)<br />

โดยแฮริสันไดความคิดในการออกแบบ H4 จากนาฬิกาพกขนาดเล็กที่เขาใชในการตรวจสอบความ<br />

เที่ยงตรงของ H3 โดยเพิ่มการปรับปรุงอีกเล็กนอย ทําให H4 มีขนาดเพียง ๑๓ เซนติเมตร และมีน้ําหนัก<br />

ประมาณ ๑.๔๕ กิโลกรัม (H1 มีน้ําหนักกวา ๓๐ กิโลกรัม) แฮริสันใชเวลาสราง H4 นาน ๔ ป และในป<br />

ค.ศ.๑๗๖๑ วิลเลี่ยม แฮริสัน ซึ่งเปนลูกชายของแฮริสัน ไดนํา H4 ไปทดลองบนเรือ DEPTFORD โดยเดินทาง<br />

จากอังกฤษไปยังจาไมกา ผลการทดลองออกมาเปนที่นาพอใจ โดยนาฬิกา H4 เดินชาไปเพียง ๕ วินาที ตลอด<br />

ระยะเวลา ๒ เดือนในทะเล และตอมาวิลเลี่ยมไดนํา H4 ไปทดลองในทะเลอีกครั้งในป ค.ศ. ๑๗๖๔ ในครั้งนี้<br />

นาฬิกา H4 เดินชาไป ๓๙ วินาที ซึ่งผานเกณฑ ๒ นาที ที่คณะกรรมการ BOARD OF LONGITUDE<br />

กําหนดไวในเงื่อนไขสําหรับเงินรางวัล ๒๐,๐๐๐ ปอนด แตคณะกรรมการ BOARD OF LONGITUDE ยัง<br />

ไมยอมจายเงินรางวัลใหกับแฮริสัน โดยตั้งเงื่อนไขเพิ่มเติมวาแฮริสันจะตองมอบนาฬิกา H4 ใหกับคณะ<br />

กรรมการฯ พรอมทั้งเปดเผยหลักการทํางาน ภายในทั้งหมด และแฮริสันจะตองสรางนาฬิกาแบบเดียวกับ H4<br />

อีก ๒ เรือน


22<br />

ในป ค.ศ. ๑๗๖๕ แฮริสันไดรับเงินรางวัลครึ่งแรกจํานวน ๑๐,๐๐๐ ปอนด หลังจากเปดเผยการทํางาน<br />

ภายในของ H4 และมอบนาฬิกาใหกับคณะกรรมการ BOARD OF LONGITUDE ซึ่งคณะกรรมการฯ ได<br />

มอบหมายให ลารคัม เคนดัล (LARCUM KENDALL) สรางนาฬิกาเลียนแบบ H4 ขึ้น เคนดัลสรางนาฬิกา<br />

เลียนแบบ H4 (เรียกวา K1) เสร็จในป ค.ศ.๑๗๖๙ พรอมกับนาฬิกา H5 ของ แฮริสัน และในป ค.ศ.๑๗๗๐<br />

คณะกรรมการฯ ไดทดสอบนาฬิกาทั้งสองเรือนจนเปนที่พอใจ แฮริสันไดขอใหคณะกรรมการฯ นับ K1 และ<br />

H5 เปนนาฬิกา ๒ เรือน ตามเงื่อนไขใหม แตคณะกรรมการฯ ยังยืนยันใหแฮริสัน (ซึ่งในขณะนั้นมีอายุ ๗๗ ป)<br />

สราง H6 กอนจะไดรับเงินรางวัลที่เหลือ ในป ค.ศ.๑๗๗๒ แฮริสันจึงเขียนจดหมายรองเรียนถึงกษัตริยจอรจที่<br />

สาม แหงอังกฤษ และไดรับเงินรางวัลที่เหลือในที่สุดในป ค.ศ.๑๗๗๓ สรุปวาแฮริสันตองพยายามอยูถึง ๑๒ ป<br />

หลังจากที่เขาสราง H4 จึงไดรับการยอมรับจากคณะกรรมการฯ วาเปนผูที่แกปญหาลองจิจูดไดสําเร็จ<br />

(ภาพประกอบ: นาฬิกา H4 ของแฮริสัน)<br />

ในขณะที่แฮริสันกําลังรองเรียนตอคณะกรรมการ BOARD OF LONGITUDE ในป ค.ศ.๑๗๗๒<br />

เจมส คุก (JAMES COOK) ชาวอังกฤษ ไดออกเดินทางสํารวจมหาสมุทรแปซิฟกตอนใต พรอมกับนํานาฬิกา<br />

K1 ของเคนดัลไปดวย คุกมีชื่อเสียงในฐานะนักเดินเรือที่มีความเปนชาวเรือสูง และเปนที่ไววางใจของกษัตริย<br />

ใหทําการสํารวจมหาสมุทรแปซิฟกถึงสามครั้ง โดยการสํารวจในป ค.ศ. ๑๗๗๒ เปนการสํารวจมหาสมุทรแปซิ<br />

ฟกและการเดินเรือรอบโลกครั้งที่สองของคุก นอกจากนี้คุกยังเปนกัปตันคนแรกที่เห็นความสําคัญของสุข<br />

อนามัยของลูกเรือ โดยเขาบังคับใหลูกเรืออาบน้ํา และรับประทานผักและผลไมเพื่อปองกันโรคขาดสารอาหาร<br />

ซึ่งเปนสาเหตุการตายอันดับตนๆ ของลูกเรือเดินสมุทรในสมัยนั้น คุกเดินทางกลับมาถึงอังกฤษในป ค.ศ.<br />

๑๗๗๕ ตลอดการเดินทางสํารวจมหาสมุทรแปซิฟกเปนเวลากวาสามป


คุกไดใชนาฬิกา K1 ในการหาลองจิจูดดวยอัตราความ เที่ยงตรงเฉลี่ยไมเกิน ๘ วินาที (เทียบเทากับ<br />

ระยะทางไมเกิน ๒ ไมล) การเดินทางสํารวจของคุกถือเปนการใชงานจริงของนาฬิกาเพื่อหาที่เรือในทะเลเปน<br />

ครั้งแรก และหลังจากที่คุกเดินทางกลับมาไดหนึ่งป แฮริสันก็เสียชีวิตลงดวยอายุ ๘๓ ป<br />

23<br />

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 9<br />

การเดินเรือดาราศาสตรสมัยใหม<br />

24<br />

ในชวงศตวรรษที่ ๑๗ – ๑๘ การเดินเรือดาราศาสตรไดพัฒนาทั้งดานเครื่องมือวัดและดานวิธีการ<br />

คํานวณจนนักเดินเรือสามารถหาที่เรือไดแมนยําภายในระยะไมกี่ไมล และไดกลายเปนวิธีหลักสําหรับการเดิน<br />

เรือในมหาสมุทรหรือทะเลเปดไกลฝงในยุคนั้น แตหลักการของการเดินเรือ ดาราศาสตรในศตวรรษที่ ๑๘ นั้น<br />

ไมเหมือนกับการเดินเรือดาราศาสตรในปจจุบันเสียทีเดียว กลาวคือที่เรือในสมัยนั้นไดมาจากการหาละติจูดและ<br />

ลองจิจูดจากการวัดวัตถุทองฟาโดยตรง โดยคาละติจูดหาไดจากการวัดดาวเหนือ (ในซีกโลกเหนือ) หรือการวัด<br />

ดวงอาทิตยขณะผานเมอริเดียน สวนคาลองจิจูดหาไดจากวิธี LUNAR DISTANCE หรือการวัดดวงอาทิตย<br />

เพื่อหาเวลาทองถิ่น (LOCAL APPARENT TIME) แลวคํานวณหาคาลองจิจูดโดยใชเวลามาตรฐานประกอบ<br />

กับคาละติจูดที่หาไดกอนหนา<br />

หลักการของเสนตําบลที่ทองฟา (CELESTIAL LINE OF POSITION) และวิธี ALTITUDE<br />

INTERCEPT ที่นักเดินเรือในปจจุบันคุนเคย ยังไมไดถูกคิดคนในศตวรรษที่ ๑๘ ทั้งที่นักเดินเรือในสมัยนั้นใช<br />

วิธีเดินเรือดาราศาสตรเปนวิธีหลักในการเดินเรือในทะเลหางฝงมานับรอยป จนกระทั่งในป ค.ศ.๑๘๓๗<br />

(พ.ศ.๒๓๘๐ – ตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ในชวง รัตนโกสินทรตอนตน) ธอมัส ซัมเนอร<br />

(THOMAS SUMNER) ชาวอังกฤษ ไดคนพบหลักการ เสนตําบลที่ทองฟาโดยบังเอิญขณะนําเรือเขาชอง<br />

แคบ ST. GEORGE ระหวางไอรแลนดกับเวลส อยางไรก็ดี การคนพบของซัมเนอรไมไดอาศัยเพียงโชคและ<br />

จังหวะความบังเอิญเพียงอยางเดียว แตตองอาศัยความชางสังเกตและความเปนชาวเรือของซัมเนอรเองดวย ซึ่ง<br />

การคนพบของซัมเนอรจัดไดวาเปนพื้นฐานสําคัญของการเดินเรือดาราศาสตรสมัยใหมในปจจุบัน<br />

ซัมเนอรออกเดินทางจากชารลสตัน (CHARLSTON, SOUTH CAROLINA) ในปลายเดือน<br />

พฤศจิกายน ค.ศ.๑๘๓๗ เพื่อเดินทางไปยังกรีนอค (GREENOCK, SCOTLAND) บนฝงตะวันตกของเกาะ<br />

อังกฤษ เรือของซัมเนอรใชเวลา ๒๒ วัน เดินทางมาถึงหนาชองแคบ ST. GEORGE ในกลางเดือนธันวาคม แต<br />

สภาพอากาศปดทําใหซัมเนอรไมสามารถหาที่เรือดาราศาสตรได ตองอาศัยเพียงที่เรือรายงานมาหลายวัน ซัม<br />

เนอรจึงรอใหสวางกอนจึงเริ่มเปลี่ยนเข็มไปทางตะวันออก เฉียงเหนือเพื่อเขาชองแคบ ซึ่งมีความกวางประมาณ<br />

๔๐ ไมล<br />

ในตอนเชาของวันรุงขึ้นทองฟาเริ่มเปดพอใหซัมเนอรวัดดวงอาทิตยเพื่อหาคาลองจิจูดได แตเขายังไมมี<br />

คาละติจูดสําหรับใชในการคํานวณหาเวลาทองถิ่น ซัมเนอรจึงประมาณคาละติจูดจากที่เรือรายงาน โดยเขาทํา<br />

การคํานวณ ๓ – ๔ ครั้งดวยคาละติจูดที่ตางกันเพื่อหาคาเฉลี่ย แตผลที่ไดทําใหซัมเนอรประหลาดใจเมื่อตําบลที่


25<br />

ที่ไดจากการคํานวณทั้งหมดเรียงกันเปนเสนตรงพอดี นอกจากนี้ซัมเนอรยังโชคดีที่เสนตรงดังกลาวลากเกือบ<br />

ผานกระโจมไฟ SMALL’S LIGHT ซึ่งอยูหางออกไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ ๒๐ – ๓๐ ไมล ซึ่ง<br />

ณ เวลานั้นซัมเนอรเขาใจสิ่งที่เขาไดคนพบนั้นเปนเพียงความบังเอิญ แตดวยความชางสังเกตและไหวพริบทําให<br />

ซัมเนอรพบวาเขาสามารถใชเสนนี้แทนเสนตําบลที่ได ซึ่งที่เรือจะตองอยูที่ใดที่หนึ่งบนเสนนี้ และหากเขานําเรือ<br />

ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือตามเสนนี้ไปเรื่อยๆ ก็จะเห็นกระโจมไฟ SMALL’S LIGHT ในที่สุด และสมมุติ<br />

ฐานของซัมเนอรก็ไดรับการยืนยันเมื่อเรือของเขาผานกระโจมไฟ SMALL’S LIGHT จริง ซึ่งหากซัมเนอรไม<br />

ทันฉุกคิดเรื่องเสนตําบลที่ หรือเกิดซุมซามนําเรือไปเกยหินเสียกอน การพัฒนาการเดินเรือดาราศาสตรก็อาจตอง<br />

ใชเวลานานกวานี้<br />

ตอมาซัมเนอรไดศึกษาเหตุการณที่ชองแคบ ST.GEORGE เพิ่มเติม และพบวาเสนตําบลที่ ที่ไดนั้นไม<br />

ใชความบังเอิญ นอกจากนั้นเสนตําบลที่ดังกลาวยังทํามุมตั้งฉากกับมุม AZIMUTH ของดวงอาทิตย และในป<br />

ค.ศ.๑๘๔๓ ซัมเนอรไดตีพิมพหนังสืออธิบายวิธีหาที่เรือดวยการตัดกันของเสนตําบลที่ดาราศาสตรสองเสนโดย<br />

เสนตําบลที่เสนแรกไดมาจากการวัดดาว ๑ ดวง แลวคํานวณหาลองจิจูดจากคาละติจูดที่ไดจากที่เรือรายงาน ๒<br />

ครั้ง (เชนเดียวกับที่ซัมเนอรทําที่ชองแคบ ST.GEORGE) สวนเสนตําบลที่ดาราศาสตรอีกเสนอาจไดมาจาก<br />

การวัดดาวอีก ๑ ดวง หรือการวัดดาวดวงเดิมในเวลาตอมา<br />

อันที่จริงแลว เสนตําบลที่ที่ซัมเนอรคนพบไมไดเปนเสนตรง แตเปนสวนโคงของวงกลมที่มีรัศมีกวาง<br />

มาก เมื่อนําแคสวนเล็กของสวนโคงดังกลาวมาพลอตบนแผนที่จึงออกมาเกือบเปนเสนตรง ซึ่งไมวาตําบลที่ใด<br />

บนเสนนี้จะวัดมุมสูงของวัตถุทองฟาไดเทากัน จึงเรียกวงกลมนี้วาวงสูงเทา<br />

การคนพบของซัมเนอรถือไดวาเปนพื้นฐานสําคัญของการเดินเรือดาราศาสตรสมัยใหม และตอมาชาว<br />

ฝรั่งเศสชื่อ ADOLPHE-LAURENT-ANATOLE MARCQ DE BLONDE DE SAINT-HILAIRE ได<br />

ศึกษาการคนพบของซัมเนอรและหลักการวงสูงเทาเพิ่มเติม และพบวามุมสูงของวัตถุทองฟาที่วัดไดสามารถใช<br />

บอกรัศมีของวงสูงเทาได กลาวคือที่มุม ๙๐ องศา วงสูงเทาจะมีรัศมีเปนศูนย (ผูตรวจอยูใตดาวพอดี) และมุมที่<br />

ลดลงทุก ๑ ลิปดา จะเทากับรัศมีที่เพิ่มขึ้น ๑ ไมล และ SAINT-HILAIRE ไดอาศัยหลักการดังกลาวในการคิด<br />

คนวิธีการหาที่เรือดาราศาสตรแบบ ALTITUDE INTERCEPT และไดตีพิมพเปนหนังสือในป ค.ศ.๑๘๗๕<br />

(พ.ศ.๒๔๑๘) หรือ ๓๘ ป หลังจากการคนพบของซัมเนอร วิธีการหาที่เรือดาราศาสตรแบบ ALTITUDE<br />

INTERCEPT ของ SAINT-HILAIRE นับเปนตนแบบของวิธีที่ใชในปจจุบัน และถือไดวาเปนขั้นสูงสุดของ<br />

การพัฒนาทฤษฎีการเดินเรือดาราศาสตร แตสูตรการคํานวณที่ใชคอนขางยุงยากและซับซอน ตอมาในชวงตน<br />

ศตวรรษที่ ๒๐ นาย OGURA ชาวญี่ปุน จึงไดริเริ่มการใชตาราง SIGHT REDUCTION ซึ่งเปนวิธีที่ใชมา<br />

จนถึงปจจุบัน


26<br />

(ภาพประกอบ: เสนตําบลที่ซัมเนอรหาได)<br />

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 10<br />

เขาสูยุคแหงการเดินเรืออิเล็กทรอนิกส<br />

27<br />

วิธี ALTITUDE INTERCEPT ของ SAINT-HILAIRE ทําใหการเดินเรือดาราศาสตรไดพัฒนามา<br />

จนถึงขั้นสูงสุด และนักเดินเรือไดใชวิธีนี้เปนหลักในการเดินเรือมานับรอยป ในยุคนี้การเดินเรือเริ่มเขาสูยุคแหง<br />

ความเปนศาสตรมากขึ้น ทั้งในดานของเครื่องมือและอุปกรณ เชน เครื่องวัดดาว และนาฬิกาโครโนเมตร และใน<br />

ดานความรูทางดาราศาสตร คณิตศาสตร และเทคนิคการคํานวณหาที่เรือ<br />

ในชวงปลายศตวรรษที่ ๑๙ ถึงตนศตวรรษที่ ๒๐ การพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเนนหนักไป<br />

ทางการพัฒนาระบบขับเคลื่อนเรือมากกวาการเดินเรือและการหาที่เรือ โดยการพัฒนาระบบขับเคลื่อนเรือเริ่มมา<br />

จากการนําเครื่องจักรไอน้ําที่ใชเชื้อเพลิงถานหินมาใชแทนใบเรือในชวงกลางศตวรรษที่ ๑๙ ทําใหนักเดินเรือไม<br />

ตองพึ่งพากระแสลมและกระแสน้ําตามธรรมชาติอีกตอไป (THOMAS NEWCOMEN และ JAMES<br />

WATT ไดประดิษฐและพัฒนาเครื่องจักรไอน้ําในศตวรรษที่ ๑๘) จากนั้นระบบขับเคลื่อนเรือก็ไดถูกพัฒนา<br />

เรื่อยมาจากเครื่องจักรไอน้ํา มาจนถึงเครื่องยนตดีเซลและเครื่องยนตกังหันไอน้ํา<br />

การเดินเรือดาราศาสตรไดพัฒนามาจนสามารถหาที่เรือไดความแมนยําภายในระยะไมกี่ไมล แตเมฆ<br />

และสภาพอากาศปดอาจทําใหนักเดินเรือไมสามารถหาที่เรือในทะเลไดเปนเวลานานหลายวัน อยางไรก็ดีการใช<br />

ที่เรือรายงานประกอบกับที่เรือดาราศาสตรยังคงเพียงพอในยุคของเรือใบซึ่งเรือมีความเร็วต่ํา ตอมาการพัฒนา<br />

ระบบขับเคลื่อนเรือสงผลใหเรือมีความเร็วสูงขึ้นมาก และเรือเดินสมุทรไดกลายเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญที่<br />

ตองการความแมนยําและความปลอดภัยสูง ประกอบกับการพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกสในชวงตนศตวรรษที่<br />

๒๐ ทําใหการเดินเรือและระบบหาตําบลเรือที่ไดผานวิวัฒนาการอีกขั้นหนึ่งเขาสูยุคแหงการเดินเรือ<br />

อิเล็กทรอนิกสที่สามารถหาที่เรือไดอยางแมนยําในทุกสภาพอากาศ


28<br />

(ภาพประกอบ: เรือไอน้ําสมัยกลางศตวรรษที่ ๑๙ - สังเกตเสาสําหรับกางใบ<br />

แสดงใหเห็นถึงชวงตอระหวางยุคของเรือใบกับยุคของเรือไอน้ํา)<br />

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


29<br />

บทที่ 11<br />

ระบบวิทยุหาที่เรือ (RADIO NAVIGATION SYSTEM)<br />

ระบบวิทยุหาที่เรือใชการแพรคลื่นวิทยุในการหาตําบลที่เรือ โดยแบงออกไดเปนสองประเภทใหญๆ<br />

คือระบบวิทยุหาทิศซึ่งใหคาแบริ่งจากการสงคลื่นวิทยุเปนบีมเสนตรง (ระบบ A-N) หรือการใชเสาอากาศแบบ<br />

หาทิศ (RADIO DIRECTION FINDER) และระบบไฮเปอรบอลิค (HYPERBOLIC RADIO<br />

NAVIGATION) ซึ่งใหเสนตําบลที่จากการเปรียบเทียบเวลาหรือเฟสจากสถานีสงสามแหงขึ้นไป<br />

ความเปนมาของการคนพบคลื่นวิทยุ เริ่มขึ้นเมื่อป ค.ศ. ๑๘๓๒ (พ.ศ.๒๓๘๕ – ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๓) ไมเคิล<br />

ฟาราเดย (MICHAEL FARADAY) ชาวอังกฤษไดเสนอทฤษฎีวาดวยคลื่น พลังงานที่เกิดจากความสัมพันธ<br />

ระหวางกระแสไฟฟาและสนามแมเหล็ก<br />

แตความรูทางคณิตศาสตรและฟสิกสในสมัยนั้นยังไมสามารถพิสูจนทฤษฎีของฟาราเดยได ตอมาในป<br />

ค.ศ. ๑๘๕๕ (พ.ศ.๒๓๙๘ – ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๔) เจมส แมกซเวลล (JAMES MAXWELL) ชาวอังกฤษ<br />

ไดพิสูจนทฤษฎี ความสัมพันธระหวางไฟฟาและสนามแมเหล็กของฟาราเดยไดดวยสมการทางคณิตศาสตร แต<br />

ก็ยังไมมาใครสามารถพิสูจนทฤษฎีและสมการ ดังกลาวไดดวยการทดลอง จนกระทั่งในป ค.ศ.๑๘๘๗<br />

(พ.ศ.๒๔๓๐ – ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๕) ไฮนริค เฮิรตซ (HEINRICH HERTZ) ชาวเยอรมัน ไดออกแบบการ<br />

ทดลองแพรคลื่นแมเหล็กไฟฟา หรือคลื่นวิทยุ โดยใชไฟฟากระแสสลับ ความถี่สูง และสามารถวัด<br />

ความยาวคลื่นและความถี่ไดตรงตาม การคํานวณดวยสมการของแมกซเวลล<br />

(ภาพประกอบ: เครื่องมือทดลองแพรคลื่นวิทยุของเฮิรตซ)


30<br />

สงครามโลกทั้งสองครั้งในชวงตนศตวรรษที่ ๒๐ มีสวนสําคัญในการเรงการพัฒนาเทคโนโลยีใน<br />

หลายๆ ดาน และคลื่นวิทยุไดถูกนํามาใชในการนําทางเครื่องบินทิ้งระเบิดระยะไกลอยางไดผล โดยรูปแบบแรก<br />

ของระบบนําทางดวยคลื่นวิทยุเรียกวาระบบ A-N ซึ่งใชการสงสัญญาณมอรส A (• –) และ N (– •) จากเสา<br />

อากาศสองแหงพรอมกัน หากนักบินรักษาระยะระหวางเสาอากาศทั้งสองแหงเทากันก็จะไดยินเสียงสัญญาณ<br />

มอรส A และ N ซอนกันเปนโทนสัญญาณคงที่ แตถานักบินอยูใกลเสาอากาศเสาใดเสาหนึ่งมากกวาก็จะไดยิน<br />

สัญญาณมอรสจากเสานั้นดังกวา โดยฝายเยอรมันไดใชระบบนําทางดวยคลื่นวิทยุนี้ในการนําเครื่องบินไป ทิ้ง<br />

ระเบิดบนเกาะอังกฤษ ทําใหสามารถทิ้งระเบิดโจมตีอังกฤษไดแมในเวลากลางคืน<br />

ระบบ A-N สามารถใหแบริ่งคงที่ไดเพียงแบริ่งเดียวจากเสาอากาศหนึ่งคู ซึ่งเหมาะกับการนําเครื่องบิน<br />

เขาหาที่หมาย แตไมเหมาะกับการเดินเรือในทะเล จึงไดมีการพัฒนาเครื่องวิทยุหาทิศ (RADIO DIRECTION<br />

FINDER – RDF) ขึ้น ซึ่งสามารถใชบอกแบริ่งจากสถานีสงไดทุกทิศทาง และนักเดินเรือสามารถหาที่เรือได<br />

จากจุดตัดระหวางเสนแบริ่งสองเสนจากสถานีสงสองแหง<br />

ระบบวิทยุหาที่เรืออีกประเภทหนึ่งเรียกวาระบบวิทยุหาที่เรือแบบไฮเปอรบอลิค (HYPERBOLIC<br />

RADIONAVIGATION) ไดถูกพัฒนาขึ้นในชวงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง ระบบวิทยุหาที่เรือประเภทนี้<br />

อาศัยความตางของเวลาที่สัญญาณวิทยุจากสถานีสงสองแหงเดินทางมาถึงเครื่องรับ โดยคาความตางของเวลา<br />

จากสถานีสงหนึ่งคูจะใหเสนตําบลที่แบบไฮเปอรบอลิค (HYPERBOLIC LINE OF POSITION) หนึ่งเสน<br />

และตําบลที่เรือแนนอน (ELECTRONIC FIX) สามารถหาไดจากจุดตัดของเสนตําบลที่ไฮเปอรบอลิคสอง<br />

เสน โดยอาศัยสถานีสงสองคู (จากสถานีสงอยางนอยสามแหง) ระบบวิทยุหาที่เรือแบบไฮเปอรบอลิคแบบแรก<br />

ที่ถูกพัฒนาขึ้นคือระบบ GEE ของอังกฤษในป ค.ศ.๑๙๔๒ (พ.ศ.๒๔๘๕) ซึ่งใชยานความถี่ ๓๐ – ๘๐<br />

เมกะเฮิรตซ และตอมาในป ค.ศ.๑๙๔๓ (พ.ศ.๒๔๘๖) สหรัฐอเมริกาก็ไดพัฒนาระบบ LORAN (ยอมาจาก<br />

LONG RANGE NAVIGATION) ซึ่งประกอบดวยสถานีสงกวา ๗๐ แหง สงสัญญาณในยานความถี่ ๑๘๕๐<br />

– ๑๙๕๐ กิโลเฮิรตซ มีระยะทําการกวา ๖๐๐ ไมล ครอบคลุมพื้นที่เกือบ หนึ่งในสามของโลก<br />

การพัฒนาเทคโนโลยีวิทยุความถี่ต่ําหลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ ทําใหระบบ LORAN ไดถูกพัฒนา<br />

ตอมาเปน LORAN-C ในชวงตนทศวรรษที่ ๑๙๕๐ ระบบ LORAN-C ประกอบดวยกลุมสถานีสงหลายแหง<br />

หางกันหลายรอยไมลในหลายประเทศ โดยแตละกลุมประกอบดวยสถานีแม ๑ สถานีและสถานียอย ๒ – ๔<br />

สถานี ซึ่งสถานีแมและสถานียอยนี้จะสงสัญญาณวิทยุแบบ PULSE ดวยความถี่ ๑๐๐ กิโลเฮิรตซ ออกมาตาม<br />

ลําดับ จากนั้นเครื่องรับบนเรือจะคํานวณคาความตางระหวางระยะทางถึงสถานีแมกับสถานียอยจากเวลาตาง<br />

ของคลื่นวิทยุที่ไดรับ และแสดงคาระยะตางนั้นสําหรับพลอตบนแผนที่พิเศษที่มีเสนไฮเปอรบอลิค หรือแสดงคา


ละติจูดและลองจิจูดโดยตรง ระบบ LORAN-C ใหตําบลที่ที่มีความถูกตอง (ACCURACY) และความ<br />

แมนยํา (PRECISION) สูง โดยมีคาความถูกตอง ๐.๑ – ๐.๒ ไมล และความแมนยํา ๕๐ เมตร<br />

31<br />

(ภาพประกอบ: เสน HYPERBOLIC ระหวางสถานีสงหนึ่งคู)<br />

ระบบวิทยุหาที่เรือที่สําคัญอีกระบบคือระบบ OMEGA ซึ่งถูกริเริ่มพัฒนาขึ้นโดย ทร.สหรัฐฯ ในป<br />

ค.ศ.๑๙๔๗ (กอนหนาระบบ LORAN-C เล็กนอย) แตเนื่องจากปญหาความยุงยากทางเทคนิค ทําใหตองใช<br />

เวลากวา ๒๐ ป กวาจะเริ่มใชงานได และสามารถใชงานไดโดยสมบูรณใน ป ค.ศ.๑๙๘๒ (พ.ศ.๒๕๒๕) ระบบ<br />

OMEGA ประกอบดวยสถานีสง ๘ สถานีทั่วโลก แตละสถานีตั้งอยูหางกัน ๕,๐๐๐ – ๖,๐๐๐ ไมล สงสัญญาณ<br />

วิทยุในยานความถี่ต่ํามาก (๑๐ – ๑๔ กิโลเฮิรตซ) ใหระยะครอบคลุมทั่วโลก ระบบ OMEGA เปนระบบวิทยุหา<br />

ที่เรือแบบไฮเปอรบอลิคเชนเดียวกับระบบ LORAN-C แตตางกันตรงที่ระบบ OMEGA สงสัญญาณแบบ CW<br />

ความถี่ต่ํามาก ๔ ความถี่ และใชการเปรียบเทียบเฟสของคลื่น CW ในการคํานวณหาตําบลที่ ระบบ OMEGA<br />

ใหที่เรือที่มีความถูกตองแมนยํา ๑ – ๒ ไมล ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ทั่วโลก<br />

(ภาพประกอบ: เสน HYPERBOLIC สองชุดระหวางสถานีสงสามแหง)


การคนพบคลื่นวิทยุของเฮิรตซนอกจากจะทําใหเกิดการพัฒนาระบบหาที่เรือดวยวิทยุแลว คลื่นวิทยุ<br />

ยังไดถูกนํามาใชในการตรวจจับวัตถุในระยะไกล ในป ค.ศ. ๑๙๓๕ (พ.ศ.๒๔๗๘) ROBERT WATSON-<br />

WATT ชาวอังกฤษไดคิดคนระบบตรวจจับเครื่องบินดวยการแพรคลื่นวิทยุออกไปแลวตรวจจับคลื่นที่สะทอน<br />

กลับมา และในป ค.ศ.๑๙๓๙ อังกฤษไดสรางสถานีเรดารขึ้นหลายแหงตามแนวฝงตะวันออกเพื่อตรวจจับเครื่อง<br />

บินทิ้งระเบิดที่จะมาโจมตีเกาะอังกฤษ โดยแตละสถานีจะโทรศัพทแจงขอมูลเปาไปยังศูนยรวบรวมขอมูลกลาง<br />

ซึ่งทําหนาที่พลอตติดตามสถานการณรวม และอีกไมกี่ปตอมาไดมีการพัฒนาหลอด MAGNETRON ทําให<br />

เรดารมีความยาวคลื่นสั้นลงและมีกําลังสงสูงขึ้น สงผลใหเสาอากาศมีขนาดเล็กลงจนกระทั่งสามารถนํามาติดตั้ง<br />

บนเรือได จึงไดเกิดการพัฒนาเรดารเดินเรือขึ้น<br />

32<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 12<br />

33<br />

ระบบเดินเรือดวยแรงเฉื่อย (INERTIAL NAVIGATION SYSTEM)<br />

ระบบเดินเรือดวยแรงเฉื่อยถูกพัฒนาขึ้นในปลายทศวรรษที่ ๑๙๕๐ เพื่อใชกับเรือดําน้ํา ทําใหเรือดําน้ํา<br />

สามารถทราบตําบลที่ไดโดยไมตองโผลขึ้นมาเหนือน้ํา และตอมาระบบเดินเรือดวยแรงเฉื่อยไดถูกนํามาใชกับ<br />

เรือ และอากาศยาน โดยระบบเดินเรือดวยแรงเฉื่อยติดตามการเคลื่อนที่ของเรือโดยไมตองอาศัยแหลงอางอิงจาก<br />

ภายนอก (เชนสัญญาณวิทยุหรือดาวตางๆ) ดวยการวัดอัตราเรงของเรือและนํามาคํานวณเปนการเคลื่อนที่ของ<br />

เรือ ดังนั้นระบบเดินเรือดวยแรงเฉื่อยจึงอาจเรียกไดวาเปนระบบเดินเรือรายงานที่สามารถตรวจจับการเคลื่อนที่<br />

ของเรือไดอยางแมนยําดวยอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ซับซอนนั่นเอง<br />

ที่มาของระบบเดินเรือดวยแรงเฉื่อยเริ่มตนมาจากการประดิษฐไยโร (GYROSCOPE) โดย ผูที่คิด<br />

ประดิษฐไยโรเปนคนแรกคือนักฟสิกสชาวฝรั่งเศสชื่อ JEAN BERNARD LEON FOUCAULT<br />

เมื่อป ค.ศ. ๑๘๕๒ (พ.ศ.๒๓๙๕ – ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๔) โดยสรางเปนลูกขางที่มีแกนหมุนอยูในวงแหวนที่<br />

หมุนไดโดยอิสระ เพื่อใชเปนแกนอางอิงในการศึกษาการหมุนของโลก เนื่องจากลูกขางไยโร (หรือมวลที่หมุน<br />

รอบแกนดวยความเร็วสูง) มีคุณสมบัติในการรักษาแนวแกนหมุนใหคงที่เมื่อไมมีแรงกระทําจาก ภายนอก อยาง<br />

ไรก็ดี FOUCAULT ไมประสบความสําเร็จนักในการใชไยโรเพื่อวัดการหมุนของโลกเนื่องจากปญหาแรงเสียด<br />

ทานในแกนหมุนและวงแหวน เขาจึงไดหันไปใชการแกวงของลูกตุมยาวเพื่อวัดการหมุนของโลกแทน<br />

ในป ค.ศ. ๑๘๙๐ (พ.ศ.๒๔๓๓ – ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๕) G.M. HOPKINS ไดคิดประดิษฐไยโรที่หมุนดวย<br />

มอเตอรไฟฟา และอีกเพียงสิบกวาปตอมา นักประดิษฐชาวเยอรมันและอเมริกันก็ไดประดิษฐเข็มทิศไยโรขึ้นใน<br />

เวลาไลเลี่ยกัน ในป ค.ศ.๑๙๐๓ (พ.ศ.๒๔๔๖) HERMAN ANSCHUTZ ชาวเยอรมันไดประดิษฐเข็มทิศไยโร<br />

(หรือไยโรที่มีแกนหมุนชี้ไปยังทิศเหนือตลอดเวลา) ขึ้นเพื่อแกปญหาผลกระทบจากอํานาจแมเหล็กเรือตอเข็ม<br />

ทิศแมเหล็ก เข็มทิศไยโรมีความ ซับซอนมากกวาไยโรธรรมดาเนื่องจากไยโรธรรมดาจะรักษาแกนหมุนใหคงที่<br />

โดยไมขึ้นกับการหมุนของโลก ทําใหแกนหมุนของไยโรชี้ผิดไปจากทิศเหนือจริงเมื่อโลกหมุน เข็มทิศไยโร<br />

อาศัยแรงปรากฏที่เกิดจากการหมุนรอบตัวเองของโลกในการรักษาแกนหมุนใหตรงกับทิศเหนือจริงตลอดเวลา<br />

ขนาดของแรงปรากฏนี้จะลดลงเมื่อเขาใกลแกนหมุนของโลก ดังนั้นเข็มทิศไยโรจึงไมสามารถใชการไดที่<br />

ละติจูดที่สูง (ใกลขั้วโลก) เนื่องจากขนาดของแรงปรากฏจากการหมุนของโลกไม เพียงพอ ในป ค.ศ.๑๙๐๘ เอล<br />

เมอร เสปอรรี่ (ELMER SPERRY) ชาวอเมริกันก็ไดประดิษฐเข็มทิศไยโรขึ้นเชนกันโดยใชหลักการเดียวกัน<br />

และเสปอรรี่ไดสรางเครื่องถือทายเรืออัตโนมัติ (AUTOPILOT) ขึ้นในป ค.ศ.๑๙๑๑ โดยอาศัยเข็มทิศไยโรใน<br />

การควบคุมทิศทาง เรียกวาเครื่อง METAL MIKE


34<br />

(ภาพประกอบ: ลูกขางไยโร)<br />

ระบบเดินเรือดวยแรงเฉื่อยอาศัยไยโรในการรักษาแกนอางอิงในการวัดอัตราเรงใหคงที่ โดยระบบเดิน<br />

เรือดวยแรงเฉื่อยประกอบดวยเครื่องวัดอัตราเรง (ACCELEROMETER) สองตัวสําหรับวัดอัตราเรงของเรือ<br />

ตามแนวเหนือ – ใต และตะวันออก – ตะวันตก และไยโรสําหรับรักษาแนวของเครื่องวัดอัตราเรงใหคงที่และ<br />

ขนานกับพื้นโลกตลอดเวลาโดยใชมอเตอรไฟฟาหมุนฐานของเครื่องวัดอัตราเรงใหตรงกับแกนหมุนของไยโร<br />

สามแกน โดยเครื่องวัดอัตราเรงสามารถวัดคาอัตราเรงไดจากแรงที่กระทําตอมวลตามกฎ F = MA ของนิวตัน<br />

จากนั้นระบบจะคํานวณการ เคลื่อนที่ของเรือจากผลรวมของอัตราเรงจากทั้งสองแกน อยางไรก็ดีแรงเสียดทาน<br />

และความไมสมบูรณเล็กนอยอื่นๆ ของระบบไยโรทําใหระบบเดินเรือดวยแรงเฉื่อยคอยๆ สะสมคาความ คลาด<br />

เคลื่อนทีละนอย ตําบลที่ที่ไดจึงจําเปนตองถูกตรวจสอบกับระบบหาที่เรือดวยวิทยุหรือ ดาวเทียมเปนระยะๆ<br />

เนื่องจากแรงเสียดทานของไยโรเปนสาเหตุสําคัญของการสะสมคาความคลาดเคลื่อนในระบบเดินเรือดวยแรง<br />

เฉื่อย จึงไดมีความพยายามที่จะแกปญหาแรงเสียดทางนี้ดวยการพัฒนาไยโรแบบ ESG หรือ<br />

ELECTROSTATIC GYRO ขึ้น (บางตําราก็วา ESG ยอมาจาก ELECTRICALLY STABILIZED<br />

GYRO) โดยไยโรแบบ ESG ลดแรงเสียดทางดวยใชแรงจากสนามไฟฟาในการ รองรับ “ลูกขาง” หรือมวลที่<br />

หมุนดวยความเร็วสูงภายในแทนสุญญากาศ ไยโรแบบ ESG ชวยลดคาความคลาดเคลื่อนสะสมในระบบเดิน<br />

เรือดวยแรงเฉื่อยไดในระดับหนึ่ง แตยังไมสามารถกําจัด คาความคลาดเคลื่อนสะสมนี้ไดทั้งหมด และตําบลที่ที่<br />

ไดจึงยังจําเปนตองถูกเปรียบเทียบตรวจสอบกับระบบหาที่เรืออื่นอยู


ระบบเดินเรือดวยแรงเฉื่อยแบบใหมใชเลเซอรไยโร (LASER GYRO หรือ RING LASER<br />

GYRO) แทนไยโรที่ใชมวลหมุนดวยความเร็วสูงแบบเดิม เลเซอรไยโรใชเสนทางเดินของแสงเลเซอรเปน วง<br />

แหวนรอบแกนในการวัดการหมุนรอบแกนนั้น โดยเครื่องกําเนิดแสงเลเซอรจะสรางลําแสงเลเซอรที่มี เฟสตรง<br />

กันสองลําในทิศทางตรงกันขามกันตามเสนทางเดินรอบแกน เมื่อมีการหมุนรอบแกน เสนทางเดินของลําแสงที่<br />

เคลื่อนที่ไปตามการหมุนจะทําใหลําแสงหนึ่งมีทิศทางเดียวกับการหมุน และลําแสงอีกลํามีทิศทางตรงกันขาม<br />

กับการหมุน และเกิดความแตกตางระหวางเฟสของลําแสงสองลําขึ้น ซึ่งขนาดของความแตกตางระหวางเฟสนี้<br />

จะขึ้นอยูกับความเร็วของการหมุน เนื่องจากเลเซอรไยโรไมไดอาศัยมวลที่หมุนดวยความเร็วสูงในการรักษา<br />

แกนอางอิง จึงไมมีปญหาคาความคลาดเคลื่อนสะสมเนื่องจากแรงเสียดทานแบบไยโรลูกขาง<br />

35<br />

(ภาพประกอบ: การเดินทางของแสงในเลเซอรไยโร)<br />

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 13<br />

36<br />

ระบบหาที่เรือดวยดาวเทียม (SATELLITE NAVIGATION SYSTEM)<br />

ระบบเดินเรือดวยแรงเฉื่อยดวยเลเซอรไยโรจะสามารถติดตามการเคลื่อนที่ของเรือได ถูกตองแมนยํา<br />

กวาการเดินเรือรายงานแบบดั้งเดิมมาก แตวิธีเดียวในการยืนยันความถูกตองของ ตําบลที่เรือยังคงตองอาศัยจุด<br />

อางอิงจากภายนอกตัวเรือ และดวยเหตุผลดานความปลอดภัย ระบบ เดินเรือดวยแรงเฉื่อยจึงมักถูกใชประกอบ<br />

กับระบบหาที่เรือที่อาศัยแหลงอางอิงจากภายนอก เชนระบบหาที่เรือดวยวิทยุ อยางไรก็ดีระบบหาที่เรือดวยวิทยุ<br />

ในชวงกลางศตวรรษที่ ๒๐ ยังมีขอจํากัดในดานพื้นที่ครอบคลุมและความถูกตองแมนยํา โดยระบบ LORAN-<br />

C ใหตําบลที่ที่มีความถูกตอง แมนยําสูง แตมีพื้นที่ครอบคลุมจํากัด และความถูกตองแมนยําจะลดลงเมื่อระยะ<br />

จากสถานีสง เพิ่มมากขึ้น สวนระบบ OMEGA ใชคลื่นวิทยุยานความถี่ต่ํามากซึ่งใหการครอบคลุมทั่วโลก แต<br />

การใชคลื่นวิทยุยานความถี่ต่ํามากซึ่งมีขนาดความยาวคลื่นกวาสิบไมลทําใหใหความถูกแมนยําลดลง<br />

การพัฒนาระบบหาที่เรือดวยดาวเทียมเกิดมาจากความตองการระบบที่สามารถใหตําบลที่ ที่มีความถูก<br />

ตองแมนยําสูงตลอด ๒๔ ชั่วโมง และมีพื้นที่ครอบคลุมทั่วโลก โดยแนวความคิดในการนําดาวเทียมมาใชหาที่<br />

เรือไดถือกําเนิดขึ้นมาพรอมๆ กับความสําเร็จในการสงดาวเทียมขึ้นสูวงโคจรเปนครั้งแรกในป ค.ศ. ๑๙๕๗<br />

(พ.ศ.๒๕๐๐) โดยนักวิทยาศาสตรที่สถาบันวิจัย APPLIED PHYSICS LABORATORY ณ มหาวิทยาลัย<br />

JOHNS HOPKINS ไดสังเกตปรากฏการณ DOPPLER ของสัญญาณวิทยุจากดาวเทียม SPUTNIK ของสห<br />

ภาพโซเวียตขณะที่ดาวเทียมเคลื่อนที่ผานฝงตะวันออกของสหรัฐอเมริกา และพบวาลักษณะของปรากฏการณ<br />

DOPPLER ของสัญญาณที่สงออกมาจากดาวเทียมผานสถานีภาคพื้นที่ทราบตําบลที่แนนอนนั้น สามารถนํามา<br />

ใชคํานวณหา วงโคจรของดาวเทียม ได และในทางกลับกัน ปรากฏการณ DOPPER จากดาวเทียมที่ทราบวง<br />

โคจรแนนอนสามารถนํามาใชคํานวณหาตําบลที่บน พื้นโลกได ในปตอมาสถาบันวิจัย APPLIED PHYSICS<br />

LABORATORY ไดรวมมือกับกองทัพเรือสหรัฐฯ ในการสรางระบบหาที่เรือดวยดาวเทียมขึ้น โดยอาศัยหลัก<br />

การของปรากฏการณ DOPPLER เรียกวาระบบ NAVSAT (NAVY NAVIGATION SATELLITE<br />

SYSTEM) หรือที่เปนที่รูจักในชื่อพลเรือนวาระบบ TRANSIT


37<br />

(ภาพประกอบ: ดาวเทียม SPUTNIK ของสหภาพโซเวียต)<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 14<br />

38<br />

ปรากฏการณ DOPPLER และระบบ NAVSAT<br />

ปรากฏการณ DOPPLER คือการที่ความถี่คลื่นเกิดการเปลี่ยนแปลงสูงขึ้นเมื่อแหลงกําเนิดคลื่นและผู<br />

รับมีการเคลื่อนที่สัมพันธเขาหากัน และความถี่คลื่นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงลดลงเมื่อแหลงกําเนิดคลื่นและผูรับ<br />

มีการเคลื่อนที่สัมพันธออกจากกัน โดยขนาดของการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยูกับความเร็วสัมพันธ<br />

ระบบ NAVSAT ใชลักษณะการเปลี่ยนแปลงความถี่ (DOPPLER SHIFT) ของสัญญาณที่สงออกมา<br />

จากดาวเทียมในการคํานวณหาตําบลที่ โดยการเปลี่ยนแปลงความถี่ของสัญญาณขณะที่ดาวเทียมเคลื่อนที่ผาน<br />

ตําบลที่ของเครื่องรับบนพื้นโลกแบงออกไดเปน ๓ ชวง ชวงแรกคือชวงที่ดาวเทียมกําลังเคลื่อนที่เขาหาเครื่อง<br />

รับ ความถี่ของสัญญาณที่รับไดจะมีคาสูงและคอยๆ ลดลงเมื่อดาวเทียมเคลื่อนที่เขาใกลเครื่องรับเนื่องจาก<br />

ความเร็วสัมพันธในการเคลื่อนที่เขาหาลดลง ชวงที่สองคือชวงที่ดาวเทียมผานเหนือเครื่องรับ ความถี่ของ<br />

สัญญาณที่รับไดจะมีคาเทากับความถี่ที่สงออกมาจริง และชวงที่สามคือชวงที่ดาวเทียมเคลื่อนที่ออกจากเครื่อง<br />

รับ ความถี่ของสัญญาณที่รับไดจะมีคาลดลงไปตามระยะหางจากเครื่องรับ<br />

ระบบ NAVSAT เริ่มใชในป ค.ศ.๑๙๖๔ (พ.ศ.๒๕๐๗) สวนประกอบหลักของระบบประกอบดวยดาว<br />

เทียม ๑๓ ดวง (สํารอง ๓ ดวง) โคจรรอบโลกที่ความสูง ๖๐๐ ไมล ดวยความเร็วประมาณ ๕ ไมลตอวินาที (ดาว<br />

เทียมแตละดวงโคจรรอบโลกทุก ๑๐๗ นาที) สถานีภาคพื้นทําหนาที่ติดตามดาวเทียมในวงโคจรและสงคาแก<br />

ตางๆ ใหกับดาวเทียม และเครื่องรับสัญญาณและคํานวณตําบลที่บนเรือ โดยดาวเทียมในระบบจะสงสัญญาณที่<br />

ความถี่ ๑๕๐ และ ๔๐๐ เมกะเฮิรตซ การเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความถี่จากดาวเทียมสองดวงจะใหเสน<br />

ตําบลที่ ๑ เสน สวนตําบลที่แนนอน (FIX) จะไดจากการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความถี่จากดาวเทียมอยาง<br />

นอย ๓ ดวง (ปกติจะใชดาวเทียม ๔ – ๗ ดวงเพื่อเพิ่มความถูกตอง) โดยวงโคจรของดาวเทียมแตละดวงจะ<br />

ครอบคลุมทุกจุดบนพื้นโลกอยางนอยวันละ ๒ ครั้ง และการหาตําบลที่แนนอนดวยดาวเทียม ๔ ดวงจะทําไดทุก<br />

๓๕ – ๙๕ นาที


39<br />

(ภาพประกอบ: ลักษณะการเปลี่ยนแปลงความถี่เมื่อดาวเทียมเคลื่อนที่ผาน)<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 15<br />

40<br />

ระบบ GPS<br />

ระบบหาที่เรือดวยดาวเทียม GLOBAL POSITIONAL SYSTEM หรือ GPS ในปจจุบัน ถือกําเนิด<br />

มาจากการริเริ่มพัฒนาระบบ NAVSTAR GPS (NAVIGATION SYSTEM USING TIMING AND<br />

RANGING GLOBAL POSITIONING SYSTEM) โดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ในป ค.ศ.๑๙๗๓<br />

(พ.ศ.๒๕๑๖) เพื่อใชเปนระบบหาตําบลที่แบบสามมิติที่ใหทั้งตําบลที่และความสูงไดอยางตอเนื่องสําหรับเรือ<br />

และอากาศยานในกองทัพ แทนระบบ TRANSIT ที่ใหตําบลที่เพียงสองมิติเปนระยะๆ ทุก ๓๕ – ๙๕ นาที<br />

ระบบ GPS ประกอบดวยดาวเทียม ๒๘ ดวง โคจรรอบโลกที่ความสูง ๑๐,๙๐๐ ไมล แตละดวงโคจร<br />

รอบโลกทุก ๑๒ ชั่วโมง สถานีภาคพื้น ๕ แหงทําหนาที่ติดตามดาวเทียมในวงโคจรและสงขอมูลใหกับสถานี<br />

ควบคุมหลักที่มลรัฐโคโลราโด และเครื่องรับสัญญาณทําหนาที่คํานวณหาตําบลที่<br />

การหาตําบลที่ในระบบ GPS ใชหลักการ TIMING AND RANGING หรือการคํานวณระยะทาง<br />

จากเวลาที่สัญญาณจากดาวเทียมเดินทางมาถึงเครื่องรับ โดยดาวเทียมแตละดวงจะสงสัญญาณที่ความถี่<br />

๑๕๗๕.๔๒ เมกะเฮิรตซ (เรียกวาความถี่ L1) และความถี่ ๑๒๒๗.๖๐ เมกะเฮิรตซ (เรียกวาความถี่ L2) ขอมูลใน<br />

ความถี่ L1 ประกอบดวยสัญญาณหยาบ (COARSE ACQUISITION CODE – C/A CODE) สําหรับผูใช<br />

ทั่วไป (STANDARD POSITIONING SERVICE – SPS) และสัญญาณละเอียด (PRECISION CODE<br />

– P CODE) ซึ่งเขารหัสสําหรับใชในกองทัพสหรัฐฯ เทานั้น (PRECISE POSITIONING SERVICE –<br />

PPS) สวนขอมูลในความถี่ L2 ประกอบดวยสัญญาณ P CODE เพียงอยางเดียว การสงสัญญาณ P CODE ใน<br />

สองความถี่ทําใหเครื่องรับสามารถเปรียบหาผลกระทบจากบรรยากาศชั้น IONOSPHERE เพื่อลดความคลาด<br />

เคลื่อนจากการรบกวนของชั้นบรรยากาศ<br />

ลักษณะวงโคจรของดาวเทียม GPS ถูกออกแบบมาใหทุกพื้นที่บนโลกสามารถมองเห็น ดาวเทียมได<br />

อยางนอย ๔ ดวงตลอดเวลา โดยสัญญาณจากดาวเทียมหนึ่งดวงจะใหเสนตําบลที่หนึ่งเสนที่เกิดจากจุดตัด<br />

ระหวางพื้นผิวโลกกับทรงกลมที่มีรัศมีเทากับระยะทางจากดาวเทียม ตําบลที่แบบสองมิติจะไดจากจุดตัด<br />

ระหวางทรงกลมรัศมีจากดาวเทียม ๒ ดวงกับพื้นผิวโลก แตเนื่องจากนาฬิกาในเครื่องรับอาจมีความคลาดเคลื่อน<br />

ได ดังนั้นจึงตองใชดาวเทียมดวงที่สามเพื่อแกคาความคลาดเคลื่อนแบบเดียวกับการหาที่เรือชายฝงดวยที่หมาย<br />

๓ แหง และตําบลที่แบบสามมิติ (ตําบลที่และความสูง) จะหาไดจากดาวเทียมอยางนอย ๓ ดวง และใชดาวเทียม<br />

ดวงที่ ๔ เพื่อแกคาความคลาดเคลื่อน


41<br />

ระบบ GPS มีมาตรการที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยอยู ๒ มาตรการ คือการเติมคาความคลาดเคลื่อน<br />

ลงใน C/A CODE เพื่อลดความถูกตองแมนยํา เรียกวามาตรการ SELECTIVE AVAILABILITY และการ<br />

ปองกันการรบกวนและปลอมแปลงสัญญาณ P CODE เรียกวามาตรการ ANTI-SPOOFING ตอมาเมื่อวันที่<br />

๑ พฤษภาคม ค.ศ.๒๐๐๐ (พ.ศ.๒๕๔๓) รัฐบาลสหรัฐฯ ไดประกาศยุติการใชมาตรการ SELECTIVE<br />

AVAILABILITY ซึ่งเพิ่มความถูกตองของบริการ SPS สําหรับผูใชทั่วไป แตรัฐบาลสหรัฐฯ ยังคงมีขีดความ<br />

สามารถในการเริ่มใชมาตรการ SELECTIVE AVAILABILITY อีกเมื่อเห็นวามีความจําเปน<br />

การหา GPS ดวยการคํานวณคาความคลาดเคลื่อนของสัญญาณ GPS จากสถานีฝงที่ทราบตําบลที่ แน<br />

นอน จากนั้นสถานีฝงจะสงคาแกใหกับเครื่องรับในบริเวณใกลเคียง ระบบ DGPS สามารถใหตําบลที่ไดถูกตอง<br />

แมนยําเทียบเทากับบริการ PPS และสามารถแกคาความคลาดเคลื่อนจากมาตรการ SELECTIVE<br />

AVAILABILITY ได แตระบบ DGPS มีพื้นที่ครอบคลุมคอนขางจํากัด เนื่องจากเครื่องรับจะตองอยูภายใน<br />

รัศมีประมาณ ๑๐๐ ไมลจากสถานีฝง<br />

(ภาพประกอบ: ดาวเทียม GPS )<br />

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 16<br />

ระบบหาที่เรือดวยดาวเทียมอื่นๆ<br />

42<br />

ระบบ GPS เปนระบบหาที่เรือที่มีผูใชมากที่สุดในปจจุบัน โดยผูใชสวนใหญใชสัญญาณ C/A CODE<br />

ซึ่งไมมีมาตรการปองกันการรบกวนสัญญาณ (ANTI-SPOOFING) เนื่องจากกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ เปนผู<br />

ควบคุมระบบ GPS เพื่อความมั่นคงของประเทศสหรัฐอเมริกาเปนหลัก ดวยเหตุนี้จึงมีหลายประเทศที่พยายาม<br />

จะสรางระบบหาที่เรือดวยดาวเทียมของตนเองเพื่อทดแทนระบบ GPS หรือเพื่อเสริมความถูกตองแมนยําใหกับ<br />

ระบบ GPS สําหรับผูใชทั่วไป<br />

ระบบหาที่เรือดวยดาวเทียมที่เปนคูแขงของระบบ GPS คือระบบ GLONASS หรือระบบ GLOBAL<br />

NAVIGATION SATELLITE SYSTEM ของอดีตสหภาพโซเวียต หรือรัสเซียในปจจุบัน ระบบ<br />

GLONASS ถูกออกแบบในชวงสงครามเย็นเพื่อทดแทนระบบ GPS ของสหรัฐอเมริกา โดยระบบ<br />

GLONASS มีความคลายคลึงกับระบบ GPS หลายประการ ทั้งทางดานสวนประกอบของระบบและหลักการ<br />

ทํางาน กลาวคือระบบ GLONASS ประกอบดวยดาวเทียม ๒๔ ดวง สถานี ภาคพื้นดินสําหรับติดตามและควบ<br />

คุมดาวเทียมในวงโคจร และเครื่องรับสัญญาณและคํานวณหาตําบลที่ ระบบ GLONASS ใชหลักการ<br />

TIMING AND RANGING เพื่อคํานวณหาตําบลที่ โดยใหบริการตําบลที่แบบปกติ (STANDARD<br />

PRECISION – SP) ดวยความถี่ L1 และบริการตําบลที่แบบละเอียด (HIGH PRECISION – HP) ดวย<br />

ความถี่ L1 และ L2 เชนเดียวกับระบบ GPS<br />

ดวยเหตุที่ทั้งระบบ GPS ของสหรัฐอเมริกา และระบบ GLONASS ของรัสเซียถูกควบคุมโดยหนวย<br />

งานเพื่อความมั่นคง ดังนั้นการใหบริการสําหรับผูใชทั่วไปอาจถูกระงับหรือลด ความเที่ยงตรงในยามสงคราม<br />

สหภาพยุโรป (EUROPEAN UNION) จึงไดพยายามพัฒนาระบบ หาตําบลที่ดวยดาวเทียมของตนเองขึ้น โดย<br />

ระบบดังกลาวจะเปนระบบหาตําบลที่ดวยดาวเทียม ระบบแรกที่ถูกสรางขึ้นเพื่อผูใชทั่วไปเปนหลัก และไมถูก<br />

ควบคุมดวยหนวยงานเพื่อความมั่นคง โครงการระบบหาตําบลที่ดวยดาวเทียมของยุโรป เปนโครงการความรวม<br />

มือระหวางสหภาพยุโรปกับองคการอวกาศยุโรป (EUROPEAN SPACE AGENCY)<br />

โครงการนี้แบงออกเปนสองชวง ในชวงแรกเปนโครงการระบบ ดาวเทียมแบบวงโคจรคงที่<br />

(GEOSTATIONARY ORBIT SATELLITE) เพื่อเสริมความถูกตองแมนยําใหกับระบบ GPS และระบบ<br />

GLONASS เรียกวาระบบ EGNOS (EUROPEAN GEOSTATIONARY NAVIGATION<br />

OVERLAY SYSTEM) ระบบ EGNOS ถูกพัฒนาขึ้นในชวงปลายทศวรรษที่ ๑๙๘๐ และจะเริ่มเปดให<br />

บริการในป ค.ศ.๒๐๐๔ (พ.ศ.๒๕๔๗) สวนประกอบสําคัญของระบบ ประกอบดวยดาวเทียมวงโคจรคงที่ ๓


ดวง ใหพื้นที่ครอบคลุมทวีปยุโรป แอฟริกา มหาสมุทร แอตแลนติก และบริเวณใกลเคียง โดยระบบ<br />

EGNOS ใชดาวเทียม ARTEMIS ขององคการอวกาศ ยุโรป รวมกับดาวเทียม INMARSAT-3 อีก๒ ดวง ทํา<br />

หนาที่สงตอ (RELAY) สัญญาณเวลาจากนาฬิกาอะตอม และสัญญาณคาความนาเชื่อถือของระบบ GPS จาก<br />

สถานีภาคพื้น ซึ่งสามารถใหคาตําบลที่ที่มีคาความถูกตองถึง ๕ เมตร<br />

43<br />

(ภาพประกอบ: พื้นที่ใหบริการของดาวเทียม EGNOS)<br />

ชวงที่สองของโครงการคือการสรางระบบหาตําบลที่ดวยดาวเทียมของยุโรป หรือระบบ GALILEO<br />

โดยสหภาพยุโรปไดประกาศเริ่มตนโครงการระบบ GALILEO อยางเปนทางการเมื่อ ป ค.ศ.๑๙๙๙<br />

(พ.ศ.๒๕๔๕) และมีกําหนดสงดาวเทียมขึ้นสูวงโคจรในป ค.ศ.๒๐๐๕ (พ.ศ.๒๕๔๙) ระบบ GALILEO<br />

ประกอบดวยดาวเทียม ๓๐ ดวง สถานีติดตามและควบคุมภาคพื้นดิน และ เครื่องรับสัญญาณและคํานวณหา<br />

ตําบลที่ ซึ่งสามารถรับสัญญาณจากดาวเทียม GPS และ GLONASS ไดดวย ระบบ GALILEO ยังเปนอีกขั้น<br />

หนึ่งของการรวมระบบหาตําบลที่ตางๆ เขาดวยกันเปนระบบ GNSS (GLOBAL NAVIGATION<br />

SATELLITE SYSTEM) ซึ่งการรวมดาวเทียมหาตําบลที่ทั้งหมดเขาเปนระบบเดียวจะทําใหเครื่องรับ<br />

สัญญาณสามารถใชดาวเทียมจํานวนมากกวาเดิมในการคํานวณหาตําบลที่ ซึ่งจะใหคาตําบลที่ที่มีความถูกตอง<br />

แมนยํามากกวาการใชระบบใดระบบหนึ่งเพียงลําพัง<br />

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


บทที่ 17<br />

ระบบแผนที่อิเล็กทรอนิกส<br />

44<br />

การพัฒนาระบบหาตําบลที่ดวยดาวเทียมทําใหนักเดินเรือสามารถทราบตําบลที่ของเรือในทะเลเปดหาง<br />

ฝงไดอยางถูกตองแมนยําและตอเนื่องเปนครั้งแรก นอกจากนั้นแลวความกาวหนาของระบบคอมพิวเตอรและ<br />

อิเล็กทรอนิกสในปจจุบัน ทําใหการรับสงขอมูลจากอุปกรณตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเดินเรือ และการแสดงภาพ<br />

สถานการณเปนไปไดอยางถูกตองและรวดเร็ว สงผลใหระบบ การรวบรวมขอมูลจากระบบตรวจจับและ<br />

อุปกรณตางๆ เขาดวยกันอยางบูรณาการ (INTEGRATED BRIDGE SYSTEM) มีความเปนไปไดใน<br />

ปจจุบัน ตลอดจนการนําขอมูลตางๆ ในแผนที่เดินเรือมา สรางเปนฐานขอมูลคอมพิวเตอร สามารถกระทําได<br />

อยางปลอดภัยเทียบเทากับการสรางแผนที่กระดาษแบบเดิม จึงไดมีหนวยงานของรัฐบาลและบริษัท เอกชนใน<br />

หลายๆ ประเทศ หันมาเริ่มพัฒนาระบบแผนที่อิเล็กทรอนิกสที่สามารถแสดงที่เรือและ ขอมูลประกอบอื่นๆ บน<br />

แผนที่ไดตลอดเวลา<br />

ระบบแผนที่อิเล็กทรอนิกสแบงออกไดเปน ๒ ประเภทใหญๆ คือระบบ ECS (ELECTRONIC<br />

CHARTING SYSTEM) กับระบบ ECDIS (ELECTRONIC CHART DISPLAY AND<br />

INFORMATION SYSTEM) โดยระบบทั้งสองมีความคลายกันคือการแสดงขอมูลตางๆ บนแผนที่<br />

อิเล็กทรอนิกส แตตางกันตรงที่ระบบ ECDIS มีมาตรฐานรับรองแนนอนจากองคการ ระหวางประเทศ และเปน<br />

ที่ยอมรับในทางกฎหมายวาสามารถนํามาใชไดอยางปลอดภัยเทียบเทา การใชแผนที่กระดาษกับการหาที่เรือ<br />

แบบเดิม ในขณะที่ระบบ ECS ไมไดผานการรับรอง และจําเปนตองใชรวมกับแผนที่กระดาษจึงจะถูกตองตาม<br />

กฎหมาย อยางไรก็ดีการที่ระบบ ECS ไมไดผาน การรับรองไมไดหมายความวาระบบ ECS ดอยกวาระบบ<br />

ECDIS เสมอไป ในปจจุบันมีระบบ ECS หลายระบบที่มีขีดความสามารถใกลเคียงหรือเทียบเทาระบบ<br />

ECDIS<br />

สวนประกอบหลักของระบบ แผนที่อิเล็กทรอนิกสประกอบดวยแผนที่อิเล็กทรอนิกสในรูปของฐานขอ<br />

มูลหรือไฟลคอมพิวเตอร จอแสดงผล และเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับประมวลผลขอมูลจากไฟลแผนที่<br />

อิเล็กทรอนิกสและทําหนาที่เชื่อมตอกับอุปกรณอื่นๆ ในเรือ เชนระบบหาที่เรือดวยดาวเทียม เข็มทิศไยโร เรดาร<br />

และเครื่องหยั่งน้ํา เปนตน โดยแผนที่อิเล็กทรอนิกสแบงออกไดเปน ๒ ประเภท ตามลักษณะการนําขอมูลมาส<br />

รางไฟลคอมพิวเตอร ไดแกแผนที่ RASTER และแผนที่ VECTOR สวนแผนที่ RASTER คือการแสกนแผน<br />

ที่กระดาษลงบนคอมพิวเตอร หรือการสรางแผนที่เปนไฟลภาพ และใสพิกัดตําบลที่ลงบนไฟลแผนที่นั้น วัตถุ<br />

และเสนตางๆ บนแผนที่ RASTER จะถูกแสดงดวยจุดสีที่เรียกวา PIXEL แผนที่แบบนี้สามารถสรางไดงาย<br />

และมีราคาถูก นอกจากนี้การใชสีและสัญลักษณตางๆ เหมือนกับแผนที่กระดาษ ทําใหอานงาย แตแผนที่


RASTER ใหขอมูลไดไมละเอียดเทาแผนที่ VECTOR และไมมีรายละเอียดเพิ่มเติมสําหรับวัตถุและ<br />

สัญลักษณตางๆ บนแผนที่เนื่องจากวัตถุและสัญลักษณเหลานั้นเปนเพียงจุดสีที่ประกอบขึ้นมาเปนภาพ<br />

45<br />

(ภาพประกอบ: ระบบแผนที่อีเลคทรอนิคสและ INTEGRATED BRIDGE SYSTEM<br />

จะทําใหสะพานเดินเรือในอนาคตเหลือพนักงานเพียงไมกี่คน)<br />

สวนแผนที่ VECTOR คือฐานขอมูลที่ประกอบดวยพิกัดตําบลที่ พรอมทั้งขอมูลรายละเอียดของวัตถุ<br />

และพื้นที่ตางๆ บนแผนที่นั้น โดยขอมูลในแผนที่ถูกจัดเปนชั้น (LAYER) ซึ่งผูใชสามารถเลือกแสดงหรือไม<br />

แสดงชั้นที่ตองการได นอกจากนี้ผูใชยังสามารถเรียกดูขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวัตถุตางๆ บนแผนที่ได แผนที่แบบ<br />

VECTOR ใหขอมูลที่ละเอียดกวาแผนที่ RASTER และเนื่องจาก ขอมูลตางๆ ถูกบรรจุอยูในฐานขอมูล การ<br />

ขยายขนาดแผนที่จึงทําใหเห็นรายละเอียดขอมูลมากขึ้น ตางจากแผนที่ RASTER ที่เปนไฟลภาพ แตการสราง<br />

แผนที่ VECTOR มีความยุงยากและมีราคา แพงกวา ทําใหแผนที่ RASTER ยังคงเปนที่แพรหลายอยู


46<br />

(ภาพประกอบ: สวนประกอบของระบบแผนที่อีเลคทรอนิคส)<br />

ในปจจุบันไดมีผูผลิตแผนที่อิเล็กทรอนิกสออกมาหลายรูปแบบ ทั้งแบบ RASTER และ VECTOR<br />

องคการอุทกศาสตรสากล (INTERNATIONAL HYDROGRAPHIC OFFICE - IHO) จึงไดกําหนด<br />

มาตรฐานควบคุมแผนที่อิเล็กทรอนิกสแบบ VECTOR สําหรับใชกับระบบ ECDIS โดยแผนที่แบบนี้เรียกวา<br />

แผนที่ ENC หรือ ELECTRONIC NAVIGATION CHART และองคการกิจการทางทะเลระหวางประเทศ<br />

(INTERNATIONAL MARITIME ORGANIZATION – IMO) ไดกําหนดมาตรฐานควบคุมระบบ<br />

ECDIS โดยรวม เพื่อใหสามารถนํามาใชงานไดอยางปลอดภัยเทียบเทาการใชแผนที่กระดาษตามสนธิสัญญาวา<br />

ดวยความปลอดภัยของชีวิตในทะเล (SAFETY OF LIFE AT SEA CONVENTION – SOLAS<br />

CONVENTION)<br />

(ภาพประกอบ: แผนที่ ENCหรือ ELECTRONIC NAVIGATION CHART)


บทที่ 18<br />

บทสรุป<br />

47<br />

ศิลปและศาสตรแหงการเดินเรือมีประวัติความเปนอันยาวนานนับพันปตั้งแตความอยากรูอยากเห็นทํา<br />

ใหมนุษยเริ่มออกทาทายมหาสมุทรอันเวิ้งวาง จนกระทั่งในปจจุบันทะเลไดกลายเปนเสนทางขนสงที่สําคัญและ<br />

คุมคาที่สุดในเชิงปริมาณ ซึ่งตลอดเวลาที่ผานมาการเดินเรือไดมีวิวัฒนาการมาเปนลําดับตามความกาวหนาทาง<br />

เทคโนโลยีของแตละยุคสมัย แตธรรมชาติของทะเลยังคงเต็มไปดวยความยากลําบากและอันตราย โดยเฉพาะ<br />

เมื่อนักเดินเรือประมาทและขาดการ เตรียมพรอมที่ดี และถึงแมวาเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสในปจจุบันจะชวยเพิ่ม<br />

ความสะดวกสบายใหกับนักเดินเรือ แตก็ไมไดเปนหลักประกันความปลอดภัยในการเดินเรือ นักเดินเรือสมัย<br />

ใหมจึงไมควร ละเลยความเขาใจและการฝกฝนวิธีการเดินเรือแบบตางๆ นอกเหนือจากการเดินเรือ<br />

อิเล็กทรอนิกส เพื่อไมใหตกเปนทาสของเครื่องมือและเทคโนโลยี เพราะวันหนึ่งเราอาจมีความจําเปนตองพึ่งวิธี<br />

การหาที่เรือแบบดั้งเดิมที่อาศัยเพียงเครื่องวัดดาวและการคํานวณเล็กนอยก็เปนได<br />

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!