14.11.2014 Aufrufe

องค์ความรู้และนวัตกรรมด้านเกษตรอินทรีย์ ปี พ.ศ. 2552-2553 - สำนักงาน ...

องค์ความรู้และนวัตกรรมด้านเกษตรอินทรีย์ ปี พ.ศ. 2552-2553 - สำนักงาน ...

องค์ความรู้และนวัตกรรมด้านเกษตรอินทรีย์ ปี พ.ศ. 2552-2553 - สำนักงาน ...

MEHR ANZEIGEN
WENIGER ANZEIGEN

Erfolgreiche ePaper selbst erstellen

Machen Sie aus Ihren PDF Publikationen ein blätterbares Flipbook mit unserer einzigartigen Google optimierten e-Paper Software.

องคความรูและนวัตกรรม<br />

ดานเกษตรอินทรีย<br />

ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong><br />

<strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ<br />

กระทรวงวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยี


สารบัญ<br />

รายชื่อองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong><br />

กลุมที่ 1: ขาว ............................................................................................................................. 7<br />

กลุมที่ 2: ผักและผลไม .............................................................................................................. 15<br />

กลุมที่ 3: ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและประมง...................................................................................................... 39<br />

กลุมที่ 4: แปรรูป ....................................................................................................................... 53<br />

กลุมที่ 5: ปจจัยการผลิต ............................................................................................................ 65<br />

กลุมที่ 6: มาตรฐาน .................................................................................................................. 91<br />

กลุมที่ 7: รูปแบบการผลิต ......................................................................................................... 97<br />

กลุมที่ 8: อื่นๆ .........................................................................................................................103


รายชื่อองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย<br />

ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong> (เรียงตามประเภทผลงาน)<br />

รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ<br />

1. การเ<strong>พ</strong>าะปลูกขาวหอมมะลิ105 เกษตรอินทรียสมบูรณแบบ ขาว ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร<br />

บริเวณเขตภาคกลางของประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน<br />

2. ขาวอินทรียและการผลิตดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสม ขาว มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ<br />

3. การ<strong>ศ</strong>ึกษาวิธีการเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิตของขาวดวยระบบปลูก ขาว คณะเทคโนโลยีและการ<strong>พ</strong>ัฒนาชุมชน<br />

แบบ SRI ในจังหวัด<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

4. การทำนาขาวอินทรีย ขาว สถาบันการ<strong>พ</strong>ัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย<br />

จังหวัดสุ<strong>พ</strong>รรณบุรี และ<strong>สำนักงาน</strong>ปลัด<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

5. อิทธิ<strong>พ</strong>ลของจุลินทรียที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> (Effective Microorganisms, ขาว คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร<br />

EM) ที่มีตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสาย<strong>พ</strong>ันธุ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

ขาวดอกมะลิ 105ในดินชุดรอยเอ็ด<br />

6. การ<strong>ศ</strong>ึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวขาวดอกมะลิ 105 โดย ขาว คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร<br />

วิธีการผลิตแบบอินทรียและแบบทั่วไป ในจังหวัดอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

7. ความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบเกษตรอินทรีย ขาว คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร<br />

ที่จะเปนอาชี<strong>พ</strong>ทางเลือกที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการแกไขปญหาความ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

ยากจนสำหรับเกษตรกรภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง<br />

8. การเ<strong>พ</strong>าะปลูกผักเกษตรอินทรียสมบูรณเ<strong>พ</strong>ื่อการสงออก ผักและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร<br />

ตลาดโลกของประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน<br />

9. สาย<strong>พ</strong>ันธุถั่วเหลืองที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการตรึงไนโตรเจนสูง ผักและผลไม สถานีวิจัยเขาหินซอน สถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯ<br />

มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร<br />

10. การเ<strong>พ</strong>าะปลูกขาวโ<strong>พ</strong>ดหวานเกษตรอินทรียสมบูรณ เ<strong>พ</strong>ื่ออุตสาหกรรม ผักและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร<br />

เกษตรและการสงออกตลาดโลกโดยประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน<br />

11. ความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท ผักและผลไม คณะวิ<strong>ศ</strong>วกรรมละอุตสาหกรรมเกษตร<br />

ของสารสกัดจากผักอินทรีย<br />

มหาวิทยาลัยแมโจ<br />

12. การปลูกผักรวมกับปอเทือง ผักและผลไม <strong>ศ</strong>ูนยฝกอบรมวิ<strong>ศ</strong>วกรรมเกษตร บาง<strong>พ</strong>ูน<br />

13. ผลของการใชจุลินทรียอีเอ็ม(Em) ตอการเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิต ผักและผลไม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย<br />

เห็ดโคนญี่ปุนในฟางขาว<br />

14. ขาวโ<strong>พ</strong>ดหวานอินทรีย ผักและผลไม สถาบันวิจัยและเทคโนโลยีการเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยเทคดนโลยีราชมงคลลานนา<br />

15. ชาอินทรีย ผักและผลไม สำนักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง<br />

16. การเจริญเติบโตและผลผลิตเมล็ดของถั่วเขียว ผักและผลไม ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตรกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

ที่ไดจากการปลูกโดยใชปุยอินทรียและปุยเคมี มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

17. อิทธิ<strong>พ</strong>ลของ<strong>พ</strong>ันธุและระยะปลูกตอการผลิต ผักและผลไม ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตรกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

เมล็ด<strong>พ</strong>ันธุถั่วเขียวตามระบบเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

18. อิทธิ<strong>พ</strong>ลของปุยอินทรียและปุยเคมีตอการเจริญเติบโต ผักและผลไม ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตรกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

และการสรางผลผลิตของผักชี<br />

มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

19. การเปรียบเทียบผลผลิตและคุณภา<strong>พ</strong>ของเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุถั่วเหลืองและ ผักและผลไม ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตรกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

ถั่วงอกหัวโตที่ไดจากการผลิตแบบเกษตรอินทรียและแบบใชสารเคมี มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกำแ<strong>พ</strong>งแสน


4<br />

<strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ<br />

20. ผลผลิตและคุณภา<strong>พ</strong>ผลผลิตของขาวโ<strong>พ</strong>ดฝกออน<strong>พ</strong>ันธุการคา 4 ผักและผลไม ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตรกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

<strong>พ</strong>ันธุที่ผลิตแบบระบบเกษตรดีที่เหมาะสมและระบบเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

21. การประเมินความตานทานไวรัสเสนใบเหลืองและผลผลิต ผักและผลไม ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตรกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

ของ<strong>พ</strong>ันธุลูกชั่วที่2 และ<strong>พ</strong>ันธุลูกผสมกระเจี๊ยบเขียว มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

22. ผลของปุยอินทรียอผลผลิต และคุณภา<strong>พ</strong>ของหนอไมฝรั่ง ผักและผลไม ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตรกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

23. ผลของปุยชีวภา<strong>พ</strong>ตอการสรางผลผลิตของคะนา ผักและผลไม ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตรกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

24. การ<strong>ศ</strong>ึกษาอิทธิ<strong>พ</strong>ลของปุยอินทรียและปุยชีวภา<strong>พ</strong> ผักและผลไม ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตรกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

ตอการสรางผลผลิตผักบุงจีน มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

25. การ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การผลิต การขนสง และการตลาด ผักและผลไม สถาบันวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนา<br />

ผักอินทรียตามมาตรฐานสากลเ<strong>พ</strong>ื่อการสงออก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี<br />

26. การ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การผลิตผักอินทรียและแนวทาง ผักและผลไม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี<br />

การสรางรูปแบบความสัม<strong>พ</strong>ันธระหวางภาคการผลิต<br />

และการตลาดผักอินทรียอยางครบวงจร<br />

27. โครงการนำรองการใชบรรจุภัณฑ<strong>พ</strong>ลาสติกชีวภา<strong>พ</strong> ผักและผลไม <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

สำหรับลำไยอินทรีย<br />

28. หลักสูตรการปลูกกลวยไขและมะละกออินทรียวิทยาลัยชุมชน ผักและผลไม วิทยาลัยชุมชนแ<strong>พ</strong>ร<br />

29. <strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การปลูกสละ “<strong>พ</strong>ันธุเนินวง” ดวยระบบ ผักและผลไม คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

เกษตรอินทรียในจังหวัดอุบลราชธานี<br />

30. การเ<strong>พ</strong>าะปลูกผลไมเกษตรอินทรียสมบูรณ ผักและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร<br />

เ<strong>พ</strong>ื่อการสงออกตลาดโลกของประเท<strong>ศ</strong>ไทย มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน<br />

31. น้ำนมอินทรียที่มีปริมาณ CLA และ OMEGA 3 สูง ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

ประมง<br />

32. การเลี้ยงไกไข (อินทรีย) ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ <strong>ศ</strong>ูนยเรียนรูชุมชนปลักไมลาย จังหวัดนครปฐม<br />

ประมง และ<strong>สำนักงาน</strong>ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

33. น้ำนมแ<strong>พ</strong>ะอินทรีย ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ <strong>สำนักงาน</strong>ป<strong>ศ</strong>ุสัตวจังหวัดภูเก็ต<br />

ประมง<br />

34. เปดไขอินทรียเชียงใหม ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ สำนักสุข<strong>ศ</strong>าสตรสัตวและสุขอนามัยที่ 5<br />

ประมง<br />

35. เครือขายป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรียบานทั<strong>พ</strong>ไท สุรินทร ตัวอยาง ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ สำนักสุข<strong>ศ</strong>าสตรสัตวและสุขอนามัยที่ 3<br />

การ<strong>พ</strong>ัฒนาชนบทดวยเกษตรอินทรียครบวงจร<br />

ประมง<br />

36. การปรับเปลี่ยนการเลี้ยงโคนมสูมาตรฐานโคนมอินทรีย ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ <strong>ศ</strong>ูนยป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรีย กรมป<strong>ศ</strong>ุสัตว<br />

ประมง<br />

37. การ<strong>ศ</strong>ึกษาประสิทธิภา<strong>พ</strong>ของ<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>รไทยในการยับยั้งการ ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ ภาควิชาสัตว<strong>ศ</strong>าสตร คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร<br />

เจริญเติบโตของเชื้อ อี.โคไล ชนิดกอโรคในทางเดินอาหาร ประมง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

38. การ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การเลี้ยงสุกรกึ่งชีวภา<strong>พ</strong> ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติ<br />

เ<strong>พ</strong>ื่อประยุกตใชสำหรับเกษตรกรรายยอย ประมง และสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยนเร<strong>ศ</strong>วร<br />

39. การผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ืชอาหารสัตวอินทรียในนาราง ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม<br />

จังหวัดสุราษฎรธานี ประมง วิทยาเขตสุราษฎรธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร<br />

40. การผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ืชอาหารสัตวอินทรีย ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ กองอาหารสัตว กรมป<strong>ศ</strong>ุสัตว<br />

เ<strong>พ</strong>ื่อใชเปนอาหารสัตวอินทรีย ประมง<br />

41. น้ำผึ้งอินทรียทางการแ<strong>พ</strong>ทย ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

ประมง<br />

42. โครงการเลี้ยงปลาเบญจ<strong>พ</strong>รรณอินทรีย ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและ วิทยาลัยชุมชนยโสธร<br />

ประมง


องคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong> 5<br />

รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ<br />

43. ผลิตภัณฑอินทรียสำหรับทำความสะอาดและดูแลผิวเด็ก แปรรูป <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

จากน้ำมันหอมระเหยที่สกัดดวยวิธีของเหลวยิ่งยวด<br />

44. “Lum Lum” ซอส<strong>พ</strong>ริกอินทรียที่มีไลโค<strong>พ</strong>ีนสูง แปรรูป <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

45. น้ำสมสายชูหมักจากเสาวรส แปรรูป วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการโนนดินแดง<br />

46. การแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของ แปรรูป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต<br />

ชุมชนโรงเรียน ตำรวจตระเวนชายแดน<br />

47. การถายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร แปรรูป คณะเทคโนโลยีคหกรรม<strong>ศ</strong>าสตร<br />

และเครื่องดื่มเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล<strong>พ</strong>ระนคร<br />

48. การปรับปรุงคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑปลาดุกรา แปรรูป คณะเทคโนโลยีและการ<strong>พ</strong>ัฒนาชุมชน<br />

ดวยการเติมสมุนไ<strong>พ</strong>รไทย<br />

มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

49. การ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑโจกขาวเจาหอมดำอินทรีย แปรรูป คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยี<br />

ผสมกึ่งสำเร็จรูป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต<br />

50. การ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑเครื่องดื่มจากขาวเจาหอมดำอินทรีย แปรรูป คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยี<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต<br />

51. การ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยดเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong> แปรรูป คณะเทคโนโลยีและการ<strong>พ</strong>ัฒนาชุมชน<br />

มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

52. น้ำมันรำขาวและจมูกขาวหอมมะลิอินทรีย แปรรูป สหกรณกรีนเนท จำกัด<br />

53. “ตะวัน คันไถ” ปุยอินทรียคุณภา<strong>พ</strong>สูง ปจจัยการผลิต <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

54. สารชีวภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อกำจัดเ<strong>พ</strong>ลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาขาว ปจจัยการผลิต <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

55. ชีวภัณฑจากจุลินทรียปฏิปกษ (PMOs) ปจจัยการผลิต คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ยับยั้งเชื้อกอโรคเหี่ยว (Ralstonia solanacearum) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม<br />

56. การใชสาร allelopathy จาก<strong>พ</strong>ืชและการคลุมดินในการ ปจจัยการผลิต ฝายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูก<strong>พ</strong>ืชทดลอง<br />

ควบคุมวัช<strong>พ</strong>ืชในแปลงปลูกผักระบบเกษตรอินทรีย<br />

มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกำแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

57. การผลิตเชื้อจุลินทรียสำหรับยอยสลายสาร ปจจัยการผลิต สถาบันบริการตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong>และ<br />

ในขยะและน้ำเสียเชิง<strong>พ</strong>าณิชย<br />

มาตรฐานผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยแมโจ<br />

58. การใชถั่วปุย<strong>พ</strong>ืชสดเปนปุยอินทรีย ปจจัยการผลิต วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

ในการผลิตขาว<strong>พ</strong>ันธุสังขหยด<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

59. การประยุกตใชเชื้อรา Beauveria bassiana สาย<strong>พ</strong>ันธุ ปจจัยการผลิต คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยี<br />

ทองถิ่นในการควบคุม<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชเ<strong>พ</strong>ื่อการผลิตผักวง<strong>ศ</strong>กะหล่ำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต<br />

ปลอดภัยจากสาร<strong>พ</strong>ิษในสภา<strong>พ</strong>ควบคุม<br />

60. การถายทอดเทคโนโลยีเชิงปฏิบัติการเรื่อง ปจจัยการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา<br />

การผลิตปุยหมักชีวภา<strong>พ</strong>จากวัสดุเหลือใช เขต<strong>พ</strong>ื้นที่เชียงราย<br />

61. โครงการอบรมการทำปุยอินทรียจากมูลสัตวและเ<strong>ศ</strong>ษกาก<strong>พ</strong>ืช ปจจัยการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา<br />

เขต<strong>พ</strong>ื้นที่เชียงราย<br />

62. การผลิตจุลินทรียที่เปนประโยชนจากปุยอินทรีย ปจจัยการผลิต คณะวิ<strong>ศ</strong>วกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยแมโจ<br />

63. หัวเชื้อจุลินทรีย 8<strong>พ</strong>ลัง (8เซียน) ปจจัยการผลิต ที่ปรึกษาชมรมเกษตรอินทรียแหงประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

64. เชื้อสเตรปโตมัยซิส: จุลินทรียควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียของแตง ปจจัยการผลิต ภาควิชา<strong>พ</strong>ืช<strong>ศ</strong>าสตรและทรั<strong>พ</strong>ยากรการเกษตร<br />

คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

65. ปุยน้ำชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-1 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

66. ปุยน้ำชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-2 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

67. ปุยน้ำชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-3 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน


6<br />

<strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ<br />

68. ปุยน้ำชีวภา<strong>พ</strong> มข.1 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

69. การ<strong>ศ</strong>ึกษาประสิทธิภา<strong>พ</strong>ของเชื้อรา Pochonia chlamydosporia ปจจัยการผลิต คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

ตอการควบคุมไสเดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita<br />

70. การผลิตปุยอินทรียแบบเติมอากา<strong>ศ</strong> ปจจัยการผลิต คณะวิ<strong>ศ</strong>วกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร<br />

เ<strong>พ</strong>ื่อเปนปจจัยการผลิต<strong>พ</strong>ืชผักอินทรีย มหาวิทยาลัยแมโจ<br />

71. การผลิตปุยอินทรียไม<strong>พ</strong>ลิกกลับกองวิธีวิ<strong>ศ</strong>วกรรมแมโจ1 ปจจัยการผลิต คณะวิ<strong>ศ</strong>วกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยแมโจ<br />

72. การผลิตเชื้อจุลินทรียควบคุมเชื้อสาเหตุโรค<strong>พ</strong>ืช ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน<br />

โดยใชสารเรงซุปเปอร <strong>พ</strong>ด3.<br />

73. สารเรงซุปเปอร <strong>พ</strong>ด.7 สำหรับผลิตสารควบคุมแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน<br />

74. ปุยชีวภา<strong>พ</strong> <strong>พ</strong>ด.12 ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน<br />

75. จุลินทรียสำหรับ<strong>พ</strong>ืชปรับปรุงบำรุงดิน <strong>พ</strong>ด11. ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน<br />

76. การนำรองการใชถุง<strong>พ</strong>ลาสติกชีวภา<strong>พ</strong> PBS ในการคัดแยก ปจจัยการผลิต <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

ขยะอินทรียเ<strong>พ</strong>ื่อผลิตปุยอินทรียณ เกาะเสม็ด<br />

77. ‘Phaya-Hero’ ผลิตภัณฑกำจัดแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช ปจจัยการผลิต <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

จากสารสกัดสมุนไ<strong>พ</strong>รหนอนตายหยาก<br />

78. การจัดทำมาตรฐานเกษตรอินทรีย ป <strong>2553</strong> มาตรฐาน <strong>สำนักงาน</strong>มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร<br />

แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

79. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบการผลิตและมาตรฐาน มาตรฐาน <strong>สำนักงาน</strong>มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร<br />

ระบบการตรวจรับรองเกษตรอินทรียทองถิ่น แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

80. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาตลาดและระบบการตรวจรับรอง มาตรฐาน <strong>สำนักงาน</strong>มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร<br />

สินคาเกษตรอินทรีย<br />

แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

81. การใช IT ในการบริหารจัดการระบบควบคุมภายใน สำหรับ มาตรฐาน มูลนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท<br />

การตรวจสอบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียแบบกลุมผูผลิต<br />

82. ระบบ ICM สำหรับการผลิต<strong>พ</strong>ืชอินทรีย รูปแบบการผลิต <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

83. วิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืน เ<strong>พ</strong>ื่อประโยชนตอ รูปแบบการผลิต สถาบันบริการตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong>และ<br />

การ<strong>ศ</strong>ึกษาและการอนุรักษสิ่งแวดลอม : มิติใหมของ มาตรฐานผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยแมโจ<br />

การเกษตรเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>และความอยูรอด<br />

84. การ<strong>พ</strong>ัฒนาความสามารถในการทำเกษตรอินทรียของกลุม รูปแบบการผลิต ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชไร คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร<br />

ชุมชนวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรเกษตรกร<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียงบานหนองมัง อำเภอสำโรง<br />

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

จังหวัดอุบลราชธานี : กรณีเกษตรอินทรียกับนิเว<strong>ศ</strong>นเกษตร<br />

85. การ<strong>พ</strong>ัฒนารูปแบบการทำเกษตรอินทรียของสมาชิก รูปแบบการผลิต วิทยาลัยชุมชนยโสธร<br />

ชมรมรักษธรรมชาติ จังหวัดยโสธร<br />

86. การ<strong>พ</strong>ัฒนาตนแบบระบบเกษตรอินทรีย รูปแบบการผลิต สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ภายใตกรอบทฤษฎีใหม<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี<br />

87. เครื่องปนวัสดุการเกษตรเอนกประสงค อื่นๆ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี<strong>พ</strong>ะเยา<br />

88. เครื่องอัดเม็ดปุยอินทรียแบบประยุกต อื่นๆ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี<strong>พ</strong>ิจิตร<br />

89. ผาทอเสนใยกัญชงอินทรียแบบยกดอกสำเร็จรูป อื่นๆ <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

90. การบมเ<strong>พ</strong>าะผูประกอบการเกษตรอินทรีย อื่นๆ มูลนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท<br />

91. ไบโอคลีน อื่นๆ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

92. บานหญาแฝก อื่นๆ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏ<strong>พ</strong>ิบูลสงคราม<br />

93. ‘สรีรารมย’ ออรแกนิคเมดิคัลสปา อื่นๆ <strong>สำนักงาน</strong>นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)


รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย<br />

ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong><br />

กลุมที่ 1: ขาว


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การเ<strong>พ</strong>าะปลูกขาวหอมมะลิ105 เกษตรอินทรียสมบูรณแบบบริเวณเขตภาคกลางของ<br />

ประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

Fully Organic Rice Production var. Koa-Dok-Ma-Li-105 on Central Region of<br />

Thailand<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากัด<strong>พ</strong>รุฟอิท และ<br />

ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

จากแนวคิดทางวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรการเกษตรในการเ<strong>พ</strong>าะปลูกขาวหอมมะลิ105 เ<strong>พ</strong>ิ่มเติมนอก<strong>พ</strong>ื้นที่หลักในภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือของประเท<strong>ศ</strong>ไทย ซึ่งไดแก ภาคกลางที่มี<strong>พ</strong>ื้นที่ปลูกขาวมากกวา 30 ลานไรที่มีระบบ<br />

ชลประทานที่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ จึงไดมีการ<strong>ศ</strong>ึกษาเบื้องตน <strong>พ</strong>บวาสามารถเ<strong>พ</strong>าะปลูกไดโดยมีปริมาณผลผลิตตอไรเ<strong>พ</strong>ิ่มจาก<br />

ผลผลิตขาวเปลือก 300-500 กิโลกรัมตอไร มาสูที่ระดับผลผลิตขาวเปลือก 800-1,000 กิโลกรัมตอไร แตคุณภา<strong>พ</strong><br />

ความหอมของขาวหอมมะลิ105 ในผลิตในภาคกลางมีความหอมต่ํากวาขาวหอมมะลิ105 ที่ปลูกจากภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ จึงไดมีแนวคิดเ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มความหอมในขาวหอมมะลิ105โดยปลูกแบบเกษตรอินทรียที่ไมใช<br />

ปุยเคมี สารกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชทุกชนิด จากการ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>พ</strong>บวา การเ<strong>พ</strong>าะปลูกขาวหอมมะลิ105ในระบบเกษตรอินทรียบน<br />

<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>พ</strong>าะปลูกในเขตภาคกลาง ไดผลผลิต 1000 กิโลกรัมขาวเปลือกตอไรโดยมีคุณภา<strong>พ</strong>ความนุมและความหอม<br />

ไมนอยกวาขาวหอมมะลิ105 ที่ปลูกจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเท<strong>ศ</strong>สําหรับการผลิตขาวหอมมะลิ<br />

เกษตรอินทรีเ<strong>พ</strong>ื่อการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเท<strong>ศ</strong>ไทย จากการใชประโยชนของทรั<strong>พ</strong>ยากรที่ดิน<br />

แหลงน้ํา บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ <strong>พ</strong>ันธุขาวหอมมะลิ105 ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร)<br />

ทั้งหมดจากประเท<strong>ศ</strong>ไทย โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับ<br />

หลักการมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัย<br />

ที่กําหนดใหไมมีสาร<strong>พ</strong>ิษตกคางทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น และ<strong>พ</strong>รอมถายทอดเทคโนโลยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและ<br />

องคกรตางๆ ระยะเวลา 5-7 วัน<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- หจก.<strong>พ</strong>รุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต.จําปา อ.ทาเรือ จ.<strong>พ</strong>ระนคร<strong>ศ</strong>รีอยุธยา 13130<br />

โทร. 035-341-580<br />

- ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน 50<br />

ถนน<strong>พ</strong>หลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10900 โทร. 02-561-3482


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ขาวอินทรียและการผลิตดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสม<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ขาวอินทรีย (Organic Rice) เปนขาวที่ไดจากการผลิตแบบเกษตรอินทรีย (Organic Farming) ซึ่งเปน<br />

วิธีการผลิตที่หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีหรือสารสังเคราะห เชน ปุยเคมี สารเรงการเจริญเติบโต สารควบคุม สาร<br />

กําจัดวัช<strong>พ</strong>ืช สารปองกันกําจัดโรคแมลง และ<strong>ศ</strong>ัตรูขาวในทุกขั้นตอนการผลิต รวมถึงในระหวางการเก็บเกี่ยว<br />

ผลผลิตและการเก็บรักษาผลผลิต โดยเกษตรกรสามารถใชสารสกัดจาก<strong>พ</strong>ืชหรือวัสดุจากธรรมชาติที่ไมมีสาร<strong>พ</strong>ิษ<br />

ตกคางในผลิตผลและสิ่งแวดลอมและสถานการณปจจุบันเกษตรกรมีตนทุนในการผลิตสูงเนื่องจากการใชแรงงาน<br />

ของครัวเรือนลดลงมีการใชเทคโนโลยีจากตางประเท<strong>ศ</strong> ปจจัยการผลิตมีราคาสูงขึ้น เกิดภัยทางธรรมชาติ มี<br />

ปญหาเกี่ยวกับวัช<strong>พ</strong>ืชและ<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช ซึ่งเกษตรกรสวนใหญขาดองคความรูในการแกไขปญหาดังกลาวรวมถึงการ<br />

ขายผลผลิตขาวไดราคาต่ํา ดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถจึงไดจัดทําชุดความรูในการผลิตขาวตนทุนต่ํา<br />

โดยการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมรวมกับภูมิปญญาทองถิ่นของเกษตรกรใน<strong>พ</strong>ื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ไดเสนอสภามหาวิทยาลัยที่จะใหบริการวิชาการในโครงการเกษตรเ<strong>พ</strong>ื่อ<br />

ลดตนทุน โดยมอบหมายให<strong>ศ</strong>ูนยการเรียนรูชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ดําเนินการ ดังนี้<br />

1) ปรับเปลี่ยน<strong>พ</strong>ฤติกรรมตามหลักสูตร/ สรางจิตสํานึกที่ดีในการประกอบอาชี<strong>พ</strong><br />

2) ปรับปรุงโครงสรางดินดวยปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร<br />

3) คัดกรอง<strong>พ</strong>ันธุขาวหอมทองถิ่นในจังหวัดอุตรดิตถ<br />

4) การผลิตสารสมุนไ<strong>พ</strong>ร และสารชีวภัณฑเ<strong>พ</strong>ื่อปองกันรักษาโรค<strong>พ</strong>ืชและแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช<br />

5) เทคโนโลยีภูมิปญญาทองถิ่น <strong>พ</strong>ัฒนาดวยปราชญชาวบานกับนักวิชาการ (เครื่องหยอดเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุขาว)<br />

6) การเฝาระวัง และการตรวจติดตามผลในแปลงนา<br />

7) ผลผลิตขาว หอมแดง และหอมนิล<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ทดลองใชและขยายผลกับเกษตรกรในจังหวัดอุตรดิตถ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>ศ</strong>ึกษาวิธีการเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิตของขาวดวยระบบปลูกแบบ SRI ในจังหวัด<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

Study high-yield method of rice with the system of rice intensification (SRI) in<br />

Phatthalung Province<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน อาจารย นันทิยา <strong>พ</strong>นมจันทร, จตุ<strong>พ</strong>ร ไกรถาวร และชนสิริน กลิ่นมณี<br />

สังกัดคณะเทคโนโลยีและการ<strong>พ</strong>ัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

<strong>พ</strong>ัทลุงเปนแหลงปลูกขาวที่สําคัญที่สุดของภาคใต ปญหาที่เกิดขึ้นดานการผลิตขาวคือ ผลผลิตตอไรต่ํา<br />

ขาวคุณภา<strong>พ</strong>ต่ํา มีการปนเปอนสารเคมี ขาดแคลนน้ําในฤดูแลง และดินขาดอินทรียวัตถุแนนทึบและเปนกรด จาก<br />

ปญหาดังกลาวโดยเฉ<strong>พ</strong>าะดานผลผลิตตอไรต่ํา สามารถแกไขปญหาไดโดย<strong>พ</strong>ิจารณาจากความเหมาะสมของระยะ<br />

ปลูก ระบบการผลิตขาวแบบ SRI (The system of rice intensification) เปนระบบการปลูก<strong>พ</strong>ืชที่<strong>พ</strong>ยายามจะสราง<br />

สภา<strong>พ</strong>แวดลอมใหมที่เอื้อตอการแสดง<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของตนขาวอยางเต็มที่ ตั้งแตการเตรียมกลาที่ระยะ 8-12 วัน<br />

ลักษณะการเตรียมดิน วิธีการยายปลูกแบบตัว L แทนการปกดํา ใชหนึ่งตนตอหลุม ระยะระหวางหลุมเทากัน<br />

และการจัดการน้ําโดยปลอยใหหนาดินแกงและเปยกสลับกันจนกระทั่งถึงระยะกอนออกรวงเล็กนอย จึงปลอยน้ํา<br />

ทวมประมาณ 1-2 เซนติเมตร ไมมีการใชสารเคมีกําจัดวัช<strong>พ</strong>ืช ใชปุยอินทรียแทนการใชปุยเคมี ระบบการผลิตขาว<br />

แบบ SRI จึงปรา<strong>ศ</strong>จากสาร<strong>พ</strong>ิษตกคางในดินและ<strong>พ</strong>ืช รวมทั้งยังชวยปรับโครงสรางของดินใหดีขึ้นทําใหราก<strong>พ</strong>ืช<br />

เจริญเติบโต ในดินไดดี สงผลใหผลผลิตขาวเ<strong>พ</strong>ิ่มสูงขึ้น ดังนั้นจึงทําการ<strong>ศ</strong>ึกษาเ<strong>พ</strong>ื่อหาวิธีการเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิตของขาวให<br />

สูงขึ้นดวยระบบปลูกแบบ SRI ซึ่งเปนระบบการปลูก<strong>พ</strong>ืชแบบใหมที่สามารถลดตนทุนการผลิต ชวยเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิต<br />

ผลผลิตมีคุณภา<strong>พ</strong>ไดมาตรฐานและปลอดภัย และสามารถแกปญหาความเสื่อมโทรมของทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติได<br />

ดวย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การ<strong>ศ</strong>ึกษาเกี่ยวกับระบบปลูกแบบSRI เปนระบบการปลูก<strong>พ</strong>ืชที่<strong>พ</strong>ยายามจะสรางสภา<strong>พ</strong>แวดลอมใหมที่เอื้อ<br />

ตอการแสดง<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของตนขาวอยางเต็มที่เ<strong>พ</strong>ื่อใหมีผลตอการเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิตในขาว<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ื้นเมือง <strong>พ</strong>ันธุขาวที่<br />

สอดคลองกับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรของจังหวัด และขาว<strong>พ</strong>ันธุใหม ๆ ที่ปรับปรุง<strong>พ</strong>ันธุขึ้นมาใหเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว<br />

ในเขต<strong>พ</strong>ื้นที่จังหวัด<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ดําเนินโครงการเสร็จสิ้นแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

คณะเทคโนโลยีและการ<strong>พ</strong>ัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต<strong>พ</strong>ัทลุง 222 หมู 2 ต.บาน<strong>พ</strong>ราว<br />

อ.ปา<strong>พ</strong>ะยอม จ.<strong>พ</strong>ัทลุง 93110


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การทํานาขาวอินทรีย<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สถาบันการ<strong>พ</strong>ัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย จ.สุ<strong>พ</strong>รรณบุรี (นายทองเหมาะ แจมแจง)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การทํานาขาวอินทรีย เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการเกษตรภายใตโครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาการเกษตรตามแนว<br />

ทฤษฎีใหม โดยยึดปรัชญาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียง ซึ่งการทํานาขาวอินทรียนั้นจะชวยลดตนทุนการผลิตและเ<strong>พ</strong>ิ่ม<br />

ผลผลิตเ<strong>พ</strong>ราะการใชปุยจุลินทรียจะทําใหไดผลผลิตประมาณ 800 กิโลกรัม/ไร โดยตนทุนในการใชปุยอินทรีย<br />

ประมาณ 200 บาท/ไร ในขณะที่ใชปุยเคมีจะไดผลผลิตประมาณ 400 บาท ตอไร<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การทํานาขาวอินทรีย มีขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้<br />

- การเตรียม<strong>พ</strong>ันธุขาวและการคัดเลือก<strong>พ</strong>ันธุ ตองเลือกเมล็ดขาวที่โตมีความสมบูรณแกจัดถอนออกเปน<br />

รวงที่สมบูรณที่สุด โดยแยกเมล็ดขาวและฟางขาวออกจากกัน จากนั้นนําเมล็ดมาฝดเ<strong>พ</strong>ื่อคัดเลือกเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุที่ไม<br />

สมบูรณออก แลวนําเมล็ดขาวที่คัดเลือกวาดีมาตากแหงเก็บไวทํา<strong>พ</strong>ันธุตอไป<br />

- การเตรียมคูคันนา การทํานาตองเตรียมคูคันนาใหมีความสูงประมาณ 50 – 70 เซนติเมตร หนา 60<br />

– 80 เซนติเมตร เ<strong>พ</strong>ื่อกักเก็บน้ํา ถาไมมีน้ําขังจะเกิดวัช<strong>พ</strong>ืชในนาขาว คันนา ควรใสทอระบายน้ําชวงแรกในการปก<br />

ดําไมควรใหระดับน้ําสูงมากกวา 10 เซนติเมตร เ<strong>พ</strong>ราะตนขาวยังไมแข็งแรง<strong>พ</strong>อ ถามีน้ําในแปลงนามากจะทําใหตน<br />

ขาวเนาได การขังน้ําควรใหอยูในระดับเดียวกันดวย<br />

- การนําจุลินทรียมาหมักเมล็ดขาว โดยใหน้ําจุลินทรียทวมเมล็ดขาว หากมีเมล็ดขาวฟูน้ํา ใหเก็บออก<br />

ใหหมดควรแชเมล็ดขาวประมาณ 2 – 3 วัน และนําขึ้นจากน้ํามา<strong>พ</strong>ักไว 1 วัน แลวนํามาหวานในแปลงที่เตรียมไว<br />

- การเตรียมแปลงเ<strong>พ</strong>าะกลา<strong>พ</strong>ันธุขาว ควรไถคราดดินใหรวนซุยและระดับ<strong>พ</strong>ื้นเสมอกัน ปลอยทิ้งไว 2-3<br />

ชม. นําเมล็ดขาวที่เตรียมไวมาหวาน ทั้งนี้ โดยประมาณ 10 – 15 วัน ตนกลาตั้งหนอไดแข็ง นําน้ําจุลินทรียผสม<br />

น้ํา<strong>พ</strong>นตนกลา ผสมน้ําจุลินทรีย 3 ชอนโตะ กับน้ํา 20 ลิตร <strong>พ</strong>นใหทั่วแปลงกลาและขังน้ําใสตนกลาอยาใหน้ําขาด<br />

จากแปลงตนกลา โดยกอนจะถอนตนกลา 5 วัน ใชน้ําจุลินทรีย<strong>พ</strong>นอีกเ<strong>พ</strong>ื่อถอนไดงาย<br />

- การปกดํา ในชวงกอนปกดําควรขังน้ําไวในนาเ<strong>พ</strong>ื่อทําใหดินนิ่ม <strong>พ</strong>อถึงเวลาดํานาควรปลอยน้ําที่ขัง<br />

ออกคันนาใหเหลือประมาณ 10 -15 ซม. หลังจากนั้น นําตนกลามาปกดํา กําหนดใหระยะหางระหวางตนประมาณ<br />

40 ซม. เ<strong>พ</strong>ื่อใหแตกกอไดดี โดยใสตนกลากอละประมาณ 2 – 3 ตน เมื่อปกดําแลว 15 วัน นําจุลินทรียไปผสมน้ํา<br />

<strong>พ</strong>นตนขาวเ<strong>พ</strong>ื่อกระตุนเชื้อจุลินทรียตอนเตรียมดินและทําใหตนขาวแข็งแรงเติบโตและทนตอ<strong>ศ</strong>ัตรูขาว ตองคอยดูแล<br />

รักษาตนขาวและดูระดับน้ําอยาใหขาดจากนาขาว และ<strong>พ</strong>นจุลินทรียทุก 20 วัน จนขาวตั้งทองจึงงด<strong>พ</strong>นจุลินทรีย แต<br />

ยังคงตองรักษาระดับน้ําไวอยางเดิม<br />

- ปญหาโรคแมลงในนาขาว ถามีโรคแมลงมารบกวน ใหใชสมุนไ<strong>พ</strong>รที่มีฤทธิ์ ไลแมลงชนิดสกัดหรือ<br />

หมัก ฉีด<strong>พ</strong>นในอัตรา 3-5 ชอนโตะ ตอน้ํา 20 ลิตร <strong>พ</strong>นติดตอกัน 3 วัน โดยเฉ<strong>พ</strong>าะควรฉีด<strong>พ</strong>นชวงเย็น<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น และมีระบบการผลิตขาวที่ใชในการดํารงชีวิตประจําวันของปราชญชาวบาน<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สถาบันการ<strong>พ</strong>ัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย (นายทองเหมาะ แจมแจง) 52 หมู 6 ตงวังหวา อ.<strong>ศ</strong>รีประจันต<br />

จ.สุ<strong>พ</strong>รรณบุรี โทร 087-0251240


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน อิทธิ<strong>พ</strong>ลของจุลินทรียที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>(Effective Microorganisms, EM) ที่มีตอการ<br />

เจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสาย<strong>พ</strong>ันธุขาวดอกมะลิ 105 ในดินชุดรอยเอ็ด<br />

(Effects of Effective Microorganisms on growth and yields of Khao-Dawk-MaLi 105<br />

Rice on Roi-et Soil Series)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นายประ<strong>พ</strong>นธ บุญเจริญ และคณะ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปจจุบันมีการใชสารจุลินทรียที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>สูง(Effective Microorganism, EM) เ<strong>พ</strong>ื่อการเกษตรกรรม<br />

ดานการปลูก<strong>พ</strong>ืชและเลี้ยงสัตว ซึ่งกําลังไดรับความสนใจจากเกษตรกร และมีการนํา EM มาใชกันอยางแ<strong>พ</strong>รหลาย<br />

แตยังไมมีหลักฐานทางวิชาการสนับสนุนดานความเปนประโยชน และนอกจากนี้ผลตอการเปลี่ยนแปลงเ<strong>พ</strong>ิ่มธาตุ<br />

อาหารในดิน ในแงของการไปชวยเรงการยอยสลายเ<strong>ศ</strong>ษซาก<strong>พ</strong>ืชและสัตวในดิน ที่ตองใชเวลาคอนขางหลายป<br />

ดังนั้นคณะวิจัยจึงไดทําการทดลองเ<strong>พ</strong>ื่อที่จะ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลของการใช EM ที่มีตอการเจริญเติบโตและ<br />

ผลผลิตขาวเจาสาย<strong>พ</strong>ันธุขาวดอกมะลิ 105 ที่ปลูกในดินชุดรอยเอ็ด ในสภา<strong>พ</strong>โรงเรือนและแปลงนาปลูก<strong>พ</strong>ืชทดลอง<br />

ในชวงเวลาตั้งแตเดือน<strong>พ</strong>ฤษภาคม 2546 ถึง<strong>พ</strong>ฤ<strong>ศ</strong>จิกายน 2547 ในฤดูนาปรังและนาป<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การใส EM อยางเดียว ใหจํานวนใบตอตน จํานวนตนตอกอ และความสูงของตนขาวเจาสาย<strong>พ</strong>ันธุ ขาว<br />

ดอกมะลิ 105 ไมแตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไมใสปุยและไมใส EM ขณะที่การใสปุยเคมี ปุยคอก<br />

และปุยหมักชีวภา<strong>พ</strong>ทั้งที่ใสและไมใส EM รวม ทําใหจํานวนตนตอกอ และความสูงเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น<br />

การใส EM ใหผลผลิตขาวเจาสาย<strong>พ</strong>ันธุขาวดอกมะลิ 105 ไมแตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไม<br />

ใสปุยและไมใส EM<br />

การใส EM อยางเดียว ไมทําใหปริมาณธาตุอาหารในดินเ<strong>พ</strong>ิ่มสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติทางเคมี<br />

ของดินกอนและหลังทําการทดลอง แตปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและโปแตสเซียม มีปริมาณลดลง<br />

มาก ขณะที่การใสปุยเคมีมีผลทําใหคาความเปนกรดในดินสูงขึ้น<br />

การใสปุยคอกทั้งที่ใสและไมใส EM รวม มีผลทําใหปริมาณของเปอรเซ็นตอินทรียวัตถุในดินหลังการ<br />

ทดลองเ<strong>พ</strong>ิ่มสูงขึ้น ขณะที่การไมใสปุยและไมใส EM มีผลทําใหปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนลดลง<br />

ต่ําสุด แมวาการใส EM ทําใหการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสาย<strong>พ</strong>ันธุขาวดอกมะลิ 105 เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นไม<br />

แตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไมใสปุยและใส EM แตเปนเ<strong>พ</strong>ียงผลการทดลองในปที่ 1 ซึ่งเปนชวง<br />

ระยะเวลาสั้นๆ ดังนั้นควรไดทําการทดลองตอเนื่องเปนระยะเวลา 3-4 ปขึ้นไป<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สํานักงานไรฝกทดลองและหองปฏิบัติการกลาง คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4<br />

ถนนสถลมารค ตําบลเมือง<strong>ศ</strong>รีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>ศ</strong>ึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวขาวดอกมะลิ 105 โดยวิธีการผลิตแบบ<br />

อินทรียและแบบทั่วไป ในจังหวัดอุบลราชธานี<br />

Study on growth and yield of Khao Dawk Mali 105 paddy under organic and<br />

conventional rice cultivation in Ubon Ratchathani<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ร<strong>ศ</strong>.ดร.สุวัฒน ธีระ<strong>พ</strong>งษธนากร และนางสาวอัญชณา สารแสน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

กระบวนการผลิตขาวแบบอินทรียมีอัตราการขยายตัวเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จังหวัดอุบลราชธานีเปน<br />

จังหวัดหนึ่งที่นําระบบการผลิตขาวแบบดังกลาวเขามา โดย<strong>พ</strong>ันธุขาวที่ใชในการผลิต คือ<strong>พ</strong>ันธุขาวดอกมะลิ 105 ซึ่ง<br />

เปน<strong>พ</strong>ันธุสนับสนุนจากทางราชการสงเสริมใหปลูก แตการผลิตโดยการทําระบบเกษตรดังกลาวเมื่อเทียบกับระบบ<br />

ทั่วไปยังไมสามารถกลาวไดแนชัด ถึงผลตอการเจริญเติบโต และการใหผลผลิตที่เหมาะสมกับการลงทุนของ<br />

เกษตรกร เ<strong>พ</strong>ื่อชวยเปนแนวทางตัดสินใจตอการผลิตขาวที่เหมาะสมตอเกษตรกร จึงควรมีการ<strong>ศ</strong>ึกษาเ<strong>พ</strong>ิ่มเติมใน<br />

ลักษณะดังกลาว<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

สมบัติทางกายภา<strong>พ</strong>และเคมีดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตของแปลงเกษตรกรปลูกขาวอินทรียโดยรวม ยังคงมี<br />

ลักษณะอนุภาคดินและปริมาณธาตุอาหารตกคางในดินสูงกวาแปลงเกษตรกรปลูกขาวทั่วไป สําหรับตนขาวใน<br />

ระยะแตกกอสูงสุด <strong>พ</strong>บวา ขาวอินทรียมีปริมาณและการดูดใชไนโตรเจนในใบ ตน และรากต่ํากวาตนขาวทั่วไป 3<br />

เทา แตปริมาณการดูดใชฟอสฟอรัสและโ<strong>พ</strong>แทสเซียมในตนขาวอินทรียมีสูงกวาตนขาวทั่วไป 3 และ 2 เทา<br />

ตามลําดับ สวนในระยะเก็บเกี่ยว<strong>พ</strong>บวา ตนขาวอินทรียมีปริมาณฟอสฟอรัสและโ<strong>พ</strong>แทสเซียมสูงกวาตนขาวทั่วไป<br />

0.009 และ 0.059 เปอรเซ็นต ตามลําดับ สวนตนขาวทั่วไปมีการดูดใชไนโตรเจนและโ<strong>พ</strong>แทสเซียมสูงกวาตนขาว<br />

อินทรีย 3 และ 6 เทาตามลําดับ สวนผลผลิต องคประกอบผลผลิตและคาดัชนีเก็บเกี่ยว เกษตรกรปลูกขาวอินทรีย<br />

ไดผลผลิต 295 กิโลกรัมตอไรสูงกวาเกษตรกรปลูกขาวทั่วไปที่ไดผลผลิตเ<strong>พ</strong>ียง 276 กิโลกรัมตอไร ทั้งนี้เนื่องจาก<br />

ขาวอินทรียมีองคประกอบผลผลิต คือ จํานวนเมล็ดตอรวง เปอรเซ็นตเมล็ดดี น้ําหนัก 1,000 เมล็ด และดัชนีเก็บ<br />

เกี่ยวสูงกวาขาวทั่วไป<br />

ตนขาวเกษตรกรรายที่ 1 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 2 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 3 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 4<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชไร คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมือง<strong>ศ</strong>รีไค<br />

อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบเกษตรอินทรียที่จะเปนอาชี<strong>พ</strong><br />

ทางเลือกที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการแกไขปญหาความยากจนสําหรับเกษตรกรภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง<br />

The Possibility of Hom Mali Rice Production in Organic Farming Systems as an<br />

Alternative Farming Career with Poverty Alleviation Potential for Lower-<br />

Northeastern Farmers<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ร<strong>ศ</strong>.ดร.นันทิยา หุตานุวัตร และคณะ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเ<strong>พ</strong>ื่อไดผลวิเคราะหความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบ<br />

เกษตรอินทรียที่จะเปนอาชี<strong>พ</strong>ทางเลือกที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการแกไขปญหาความยากจนสําหรับเกษตรกร โดยมี<br />

เกษตรกรกลุม<strong>ศ</strong>ึกษาในจังหวัดสุรินทร <strong>ศ</strong>รีสะเกษ อุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และรอยเอ็ด จํานวน 476 ราย<br />

รวมทั้งได<strong>ศ</strong>ึกษาผูบริโภค 118 ราย ผูประกอบการโรงสีทั้งเอกชนและกลุมเกษตรกร 32 โรง ผูประกอบการคาขาว<br />

และการสงออก 5 ราย และตัวแทนหนวยงานราชการระดับจังหวัดและสวนกลางที่เกี่ยวของ วิธีการวิจัยใชแบบ<br />

สํารวจเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภา<strong>พ</strong><br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ผลการ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>พ</strong>บวา การผลิตขาวหอมมะลิอินทรียมีความเปนไปไดในการเปนอาชี<strong>พ</strong>ทางเลือกที่มี<br />

<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการแกไขความยากจนทางสภา<strong>พ</strong>สังคมและวัฒนธรรมในระดับสูง ทางสภา<strong>พ</strong>กายภา<strong>พ</strong>และชีวภา<strong>พ</strong><br />

ทางการผลิตในระดับกลางคอนขางสูง และทางสภา<strong>พ</strong>เ<strong>ศ</strong>รษฐกิจในระดับกลาง ดังนั้น เกษตรกรจึงควรมีทั<strong>ศ</strong>นคติและ<br />

แรงบันดาลใจในการผลิตขาวหอมมะลิอินทรียดวยผลประโยชน 4 ประการ คือ 1) การฟนฟูแปลงนาใหอุดม<br />

สมบรูณ ซึ่งจะทําใหผลผลิตขาวเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น 2) การใชปจจัยการผลิตที่ไดจากฟารมของตนเอง ทําใหลดตนทุนการ<br />

ผลิตขาวที่เปนเงินสด 3) การใชประโยชนความเปนอินทรียของฟารมทําการผลิตชนิดอื่น ๆ ที่ใหผลตอบแทนเสริม<br />

หรือไดเทาหรือดีกวาขาว 4) การลดความเสี่ยงจากอันตรายในการใชสารเคมีสังเคราะหปราบ<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช ทําให<br />

สุขภา<strong>พ</strong>ของตนเองและครอบครัวดีขึ้น<br />

นอกจากนี้ <strong>พ</strong>บวาระบบเกษตรผสมผสานที่มีขาวหอมมะลิอินทรียเปน<strong>พ</strong>ืชหลักมี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ที่จะเปนอาชี<strong>พ</strong><br />

ทางเลือกในการแกไขความยากจน โดยจะตองมีความเขมขนของสวนประกอบ 5 ประการ ไดแก 1) การสราง<br />

ระบบเกษตรที่ผสมผสานและหลากหลายโดยใชประโยชนหรือเกื้อกูลกันของการผลิต 2) การ<strong>พ</strong>ึ่งปจจัยการผลิตใน<br />

ฟารมของตนเองมากที่สุด 3) การผลิตชนิดอื่นตาม<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่และความตองการของตลาด 4) ความขยันเก็บ<br />

ผลผลิตออกขายเปนรายไดประจํา 5) การเอาใจใสปกหลักการทําอาชี<strong>พ</strong>เกษตรอินทรียผสมผสานโดยอา<strong>ศ</strong>ัยอยูใน<br />

ฟารม 6) การรวมกลุมและการสรางเครือขายของเกษตรกรจะเปนการเสริมสรางความแข็งแกรงของอาชี<strong>พ</strong><br />

ทางเลือกที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>แกไขปญหาความยากจน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมือง<strong>ศ</strong>รีไค<br />

อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190


รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย<br />

ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong><br />

กลุมที่ 2: ผักและผลไม


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การเ<strong>พ</strong>าะปลูกผักเกษตรอินทรียสมบูรณ เ<strong>พ</strong>ื่อการสงออกตลาดโลกของประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

Fully Organic Economic Vegetables Production for Export to World Market of<br />

Thailand<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากัด<strong>พ</strong>รุฟอิท และ<br />

ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ดวยประเท<strong>ศ</strong>ไทยใชที่ดินเ<strong>พ</strong>ื่อการเ<strong>พ</strong>าะปลูกผัก 2.73 ลานไร ไดผลผลิตผักปละ 4.3 ลานเมตริกตัน มีการ<br />

บริโภคภายในประเท<strong>ศ</strong>ปละ 4.1 ลานเมตริกตัน และสามารถสงผักออกสูตลาดโลก (World Market) ไดปละ 0.2<br />

ลานเมตริกตันมูลคา 6,300-8,000 ลานบาท ผักสงออกที่สําคัญไดแก ขาวโ<strong>พ</strong>ดฝกออน หนอไมฝรั่ง กระเจี๊ยบเขียว<br />

และใบบริโภคใบชนิดตางๆ วิทยาการและความรูในการเ<strong>พ</strong>าะปลูกผักเกษตรอินทรียสามารถผลักดันใหการสงออก<br />

ไปยังตลาดโลก โดยมูลคาที่สงออกในปจจุบัน เ<strong>พ</strong>ิ่มเปน 10,000 ลานบาท ประเท<strong>ศ</strong>ไทยกลายเปนผูสงออกผัก<br />

เกษตรอินทรียอันดับตนของตลาด และยังประโยชนที่สําคัญสามารถผานมาตรการกีดกันทางการคาได เ<strong>พ</strong>ราะไมมี<br />

การแขงขันในผลผลิตผักเกษตรอินทรีย ดวยความปลอดภัยที่สูงสุดจากการไมมีสาร<strong>พ</strong>ิษตกคางในผลผลิตเกษตร<br />

อินทรีย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเท<strong>ศ</strong>สําหรับการผลิตผักกษตร<br />

อินทรีเ<strong>พ</strong>ื่อการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเท<strong>ศ</strong>ไทย จากการใชประโยชนของทรั<strong>พ</strong>ยากรที่ดิน แหลงน้ํา<br />

บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ <strong>พ</strong>ันธุผัก ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ทั้งหมดจากประเท<strong>ศ</strong>ไทย โดย<br />

มีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับหลักการมาตรฐานเกษตรอินทรีย<br />

สากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัยที่กําหนดใหไมมีสาร<strong>พ</strong>ิษตกคาง<br />

ทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น และ<strong>พ</strong>รอมถายทอดเทคโนยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและองคกร<br />

ตางๆ ระยะเวลา 7-10 วัน<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- หางหุนสวนจํากัด<strong>พ</strong>รุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต. จําปา อ. ทาเรือ จ. <strong>พ</strong>ระนคร<strong>ศ</strong>รีอยุธยา 13130<br />

โทร. 035-341-580<br />

- ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถนน<strong>พ</strong>หลโยธิน<br />

แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10900 โทร. 02-561-3482


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน สาย<strong>พ</strong>ันธุถั่วเหลืองที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการตรึงไนโตรเจนสูง<br />

Soybean varietal on High N 2 -fixation Protential<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นายธีระ สมหวัง สถานีวิจัยเขาหินซอน สถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯ<br />

มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10900<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ถั่วเหลือง (Glycine max (L.)Merrill) เปน<strong>พ</strong>ืชที่มีความสําคัญทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจของประเท<strong>ศ</strong>ไทย<strong>พ</strong>ืชหนึ่ง ที่<br />

การผลิตยังไมเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อตอความตองการภายในประเท<strong>ศ</strong> จึงตองนําเขาจากตางประเท<strong>ศ</strong>ในรูปของกากถั่วเหลือง และ<br />

เมล็ดเปนปริมาณกวาลานตันตอป สาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกษตรกรไมนิยมปลูกถั่วเหลืองเนื่องมาจากตนทุนการผลิต<br />

คอนขางสูง การใชปุยเคมีไนโตรเจนก็เปนปจจัยหนึ่ง ซึ่งปุยเคมีไนโตรเจนในปจจุบันจะมีราคาแ<strong>พ</strong>ง จากงาน<br />

ทดลองของณัฐวุฒิ และคณะ (2540) <strong>พ</strong>บวา เกษตรกร 81.0%ใสปุยเคมีไนโตเจน ในอัตรา 20-30 กิโลกรัม/ไร และ<br />

ใชมาเปนระยะเวลานานหลายปทําใหโครงสรางของดินเสียและมีผลทําใหผลผลิตลดลง จึงมีการใชปุยเคมีในอัตรา<br />

ที่มากขึ้นเ<strong>พ</strong>ื่อทําใหได ผลผลิตที่สูง ดังนั้นจึงเปนการเ<strong>พ</strong>ิ่ม ตนทุนการผลิตขึ้นไปอีก แตถั่วเหลืองก็มีขอไดเปรียบ<br />

ตรงที่สามารถใชปุยไนโตรเจนจากการตรึงโดยแบคทีเรีย ไรโซเบียม การเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการตรึงไนโตรเจน<br />

สามารถทําได 2 แนวทางดวยกัน คือ การจัดการใหถั่วเหลืองมีการเจริญเติบโตสูงที่สุด โดยใหไดรับปจจัยการผลิต<br />

สมบูรณที่สุด (Peoples et al., 1995) และการปรับปรุง<strong>พ</strong>ันธุถั่วเหลืองใหมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการตรึงไนโตรเจนสูงขึ้น<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินการทดสอบ<strong>พ</strong>ันธุในชั่วลูกผสมที่ 8 ตรียม<strong>พ</strong>รอมขึ้นทะเบียน<strong>พ</strong>ันธุ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สถานีวิจัยเขาหินซอน สถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯ มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร<br />

136 หมู 12 ต.เขาหินซอน อ. <strong>พ</strong>นมสารคาม จ. ฉะเชิงเทรา24120 โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท 038-551111 โทรสาร 038-551201<br />

E-mail address : ijstrs@ku.ac.th


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การเ<strong>พ</strong>าะปลูกขาวโ<strong>พ</strong>ดหวานเกษตรอินทรียสมบูรณ เ<strong>พ</strong>ื่ออุตสาหกรรมเกษตรและการ<br />

สงออกตลาดโลกโดยประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

Fully Organic Sweet Corn Production for Agricultural Industry and Export to<br />

World Market of Thailand<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากัด<strong>พ</strong>รุฟอิท และ<br />

ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปจจุบันประเท<strong>ศ</strong>ไทยสงออกขาวโ<strong>พ</strong>ดหวานแบบแปรรูปและแชแข็งไปยังตลาดสหภา<strong>พ</strong>ยุโรป และยังมี<br />

ตลาดใหมที่มีปริมาณการสั่งซื้อในปริมาณมากดวยเชน ญี่ปุน ปจจัยที่สนับสนุนการขยายตัวของตลาดสหภา<strong>พ</strong><br />

ยุโรปที่สําคัญไดแก ผูบริโภคมีความตองการในขาวโ<strong>พ</strong>ดหวานเกษตรอินทรีย ผูบริโภคในตลาดสหภา<strong>พ</strong>ยุโรปมี<br />

รายไดตอคนตอปที่เ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น มีการขยายตัวของ supermarket และ hypermarket เปนจํานวนมาก และ ตลาด<br />

สหภา<strong>พ</strong>ยุโรปยังเขมงวดกวดขันในเรื่องการตรวจวิเคราะหสาร<strong>พ</strong>ิษตกคางในผลผลิตขาวโ<strong>พ</strong>ดหวาน เปนตน จาก<br />

ขอมูลดังกลาว ทําใหเกิดแนวคิดทางวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรเกษตรในการเ<strong>พ</strong>าะปลูกเ<strong>พ</strong>ื่อผลิตขาวโ<strong>พ</strong>ดหวานเกษตรอินทรีย<br />

เ<strong>พ</strong>ื่อนําไปแปรรูปในตลาดเดิม และสงในรูปขาวโ<strong>พ</strong>ดหวานเกษตรอินทรียทั้งฝกที่บรรจุในถุงสุญญากา<strong>ศ</strong><br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเท<strong>ศ</strong>สําหรับการผลิตขาวโ<strong>พ</strong>ดหวาน<br />

เกษตรอินทรีเ<strong>พ</strong>ื่อการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเท<strong>ศ</strong>ไทย จากการใชประโยชนของทรั<strong>พ</strong>ยากรที่ดิน<br />

แหลงน้ํา บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ <strong>พ</strong>ันธุขาวโ<strong>พ</strong>ดหวาน ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ทั้งหมด<br />

จากประเท<strong>ศ</strong>ไทย โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับหลักการ<br />

มาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัยที่<br />

กําหนดใหไมมีสาร<strong>พ</strong>ิษตกคางทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น และ<strong>พ</strong>รอมถายทอดเทคโนยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและองคกร<br />

ตางๆ ระยะเวลา 7-10 วัน<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- หางหุนสวนจํากัด<strong>พ</strong>รุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต. จําปา อ. ทาเรือ จ. <strong>พ</strong>ระนคร<strong>ศ</strong>รีอยุธยา 13130<br />

โทร 035-341-580<br />

- ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถนน<strong>พ</strong>หลโยธิน<br />

แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10900 โทร. 02-561-3482


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนทของสารสกัดจากผักอินทรีย<br />

Antioxidant activities of organically-grown vegetable extracts<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ผ<strong>ศ</strong>. ดร.วิจิตรา แดงปรก<br />

คณะวิ<strong>ศ</strong>วกรรมละอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปจจุบันผูคนไดใหความสนใจบริโภคผักอินทรียมากขึ้น แตขอมูลทางวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรที่เกี่ยวกับผักอินทรีย<br />

โดยเฉ<strong>พ</strong>าะในประเท<strong>ศ</strong>ไทยยังมีนอยมาก งานทดลองนี้จึงมุง<strong>ศ</strong>ึกษาความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท<br />

ของสารสกัดจากผักอินทรียชนิดตางๆ ที่มีจําหนายทั่วไปในทองตลาดจังหวัดเชียงใหม<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ผักอินทรียที่<strong>ศ</strong>ึกษาในการทดลองนี้มี 6 ชนิดคือผักบุงจีน กวางตุง คะนา กะหล่ําปลี ผักกาดขาวและ<br />

ถั่วฝกยาว ทําการสกัดสารโดยใช 95%เอทานอลแลววัดความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท โดยการ<br />

วัดความสามารถในการตานอนุมูลอิสระชนิด DPPH และ ABTS วัดความสามารถในการรีดิวซ <strong>พ</strong>บวาผักอินทรีย<br />

ทุกชนิดมีความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท โดยชนิดของผักที่มีความสามารถในการเปนสารแอนติ<br />

ออกซิแดนทสูงสุดคือผักบุงจีน เมื่อทดลองนําสารสกัดจากผักบุงจีนอินทรียไปเติมในน้ํามันถั่วเหลือง <strong>พ</strong>บวา<br />

สามารถชะลอการเหม็นหืนของน้ํามันได<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

คณะวิ<strong>ศ</strong>วกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การปลูกผักรวมกับปอเทือง<br />

Vegetable Growing with Sunn Hemp<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน <strong>ศ</strong>ูนยฝกอบรมวิ<strong>ศ</strong>วกรรมเกษตร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปจจุบันเกิดสภาวะโลกรอนสภา<strong>พ</strong>ของอากา<strong>ศ</strong>ไดเปลี่ยนแปลงไปมาก อากา<strong>ศ</strong>รอน แสงแดดจัด ในการปลูก<br />

<strong>พ</strong>ืชผักใหไดผลผลิตที่ดีและมีคุณภา<strong>พ</strong> จําเปนตองมีการสรางโรงเรือน เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>รางแสง ใชสารเคมีในการบํารุงดินและ<br />

ปองกันกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชทั้ง โรค แมลง และวัช<strong>พ</strong>ืช ทําใหมีคาใชจายสูงและผลผลิตอาจปนเปอนสารเคมีที่เปน<strong>พ</strong>ิษ ถา<br />

สามารถใชวัสดุธรรมชาติที่มีตนทุนต่ํา หาไดงาย ไมยุงยากในการทํางาน ปลอดภัยตอสิ่งแวดลอม แตยังคง<br />

คุณสมบัติในการ<strong>พ</strong>รางแสง บํารุงดิน และปองกัน<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชมาทดแทนได ผลผลิตของ<strong>พ</strong>ืชผักที่ไดจะมีตนทุนต่ํา<br />

คุณภา<strong>พ</strong>สูง ดังนั้น แปลงปลูกผักเกษตรอินทรียของ<strong>ศ</strong>ูนยฝกอบรมวิ<strong>ศ</strong>วกรรมเกษตรไดมีการทดลองใชปอเทือง<br />

ปลูกรวมกับ<strong>พ</strong>ืชผัก ผลผลิตที่ไดเปนที่นา<strong>พ</strong>อใจเปนอยางมาก<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้เปนโครงการผลิตผักอินทรียของ<strong>ศ</strong>ูนยฝกอบรมวิ<strong>ศ</strong>วกรรมเกษตร มีการทดลองใชวัสดุธรรมชาติ<br />

ที่สามารถหาไดงายในทองถิ่น ปลอดภัยตอสิ่งแวดลอมเชน การใชปุย<strong>พ</strong>ืชสด ปุยชีวภา<strong>พ</strong> และการกําจัดแมลงดวย<br />

สารสกัดสมุนไ<strong>พ</strong>ร จากการทดลองปลูกปอเทืองรวมไปกับ<strong>พ</strong>ืชผัก ทําใหไดผลผลิตของ<strong>พ</strong>ืชผักทั้งปริมาณและ<br />

คุณภา<strong>พ</strong> แปลงดังกลาวใชเปนแปลงฝกงานของนัก<strong>ศ</strong>ึกษา และ<strong>ศ</strong>ึกษาดูงานของสมาชิกสํานักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัด<br />

ปทุมธานี สถานี<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดินปทุมธานี และเกษตรกรผูสนใจทั่วไป<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

มีตนแบบแลว และอยูระหวางการเก็บขอมูลเ<strong>พ</strong>ิ่มเติม<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

<strong>ศ</strong>ูนยฝกอบรมวิ<strong>ศ</strong>วกรรมเกษตร บาง<strong>พ</strong>ูน อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000 โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท 0-2567-8784


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ผลของการใชจุลินทรียอีเอ็ม(Em) ตอการเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิตเห็ดโคนญี่ปุนในฟางขาว<br />

Effects of Em Microorganisms to enrich Yanagi-mutsutake production<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นางนงนุช ธรรม<strong>พ</strong>ิทักษ<br />

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

เห็ดโคนญี่ปุน หรือ ยานางิ ปจจุบันกําลังเปนที่ตองการของตลาดทั้งในลักษณะของการจําหนายดอก<br />

เห็ดสดหรือเห็ดแปรรูปซึ่งมีราคาคอนขางสูงกวาเห็ดที่สามารถเ<strong>พ</strong>าะไดในถุง<strong>พ</strong>ลาสติก เห็ดโคนญี่ปุนเปนเห็ดที่<br />

เจริญไดดีบนขอนไมที่ผุและมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>พ</strong>าะในถุง<strong>พ</strong>ลาสติก วัสดุที่นิยมใชยังคงใชขี้เลื่อยไมยาง<strong>พ</strong>าราเปนวัสดุหลัก<br />

ซึ่งราคาคอนขางแ<strong>พ</strong>ง ดังนั้นการนําวัสดุทดแทนเชน ฟางขาวซึ่งมีอยูทั่วทุกภูมิภาคของประเท<strong>ศ</strong>ไทยนาจะนํามาใช<br />

เปนวัสดุหลักในการเ<strong>พ</strong>าะเห็ดชนิดนี้แทนขี้เลื่อยไมยาง<strong>พ</strong>าราที่มีราคาแ<strong>พ</strong>งและหาซื้อยากขึ้นในปจจุบัน ซึ่งรสชาติ<br />

ของการใชฟางขาวเปนวัสดุหลักในการเ<strong>พ</strong>าะเห็ดจะไดรสชาติของผลผลิตหอมหวานกรอบอรอยดีกวาการใช<br />

ขี้เลื่อยไมยาง<strong>พ</strong>าราเปนวัสดุหลักในการเ<strong>พ</strong>าะซึ่งรสชาติของผลผลิตที่ไดจะมีกลิ่นของยางไมติดมาดวยและยัง<br />

สามารถลดตนทุนในการซื้อขี้เลื่อยไมยาง<strong>พ</strong>าราไดอีกดวย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้เปนการใชจุลินทรีย EM หมักฟางขาวที่ใชเปนวัสดุหลักในการเ<strong>พ</strong>าะเห็ดเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>ศ</strong>ึกษาผลของการ<br />

ใชจุลินทรีย EM ในการหมักฟางขาว ตอการ เจริญของเสนใย อายุการออกดอก การเ<strong>พ</strong>ิ่มน้ําหนักสด และการเ<strong>พ</strong>ิ่ม<br />

ผลผลิตในเห็ดโคนญี่ปุนไดหรือไม<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ไดผลวิเคราะหและสรุปผลงานการวิจัยเรียบรอยแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย อ.เมือง จ.เชียงราย 57000


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ขาวโ<strong>พ</strong>ดหวานอินทรีย<br />

Organic Sweet Corn<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นางปริญญาวดี <strong>ศ</strong>รีตนทิ<strong>พ</strong>ย<br />

สถาบันวิจัยและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ในปจจุบันเกษตรกรมีการนําปุยเคมีมาใชเ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิต<strong>พ</strong>ืชกันเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น เนื่องจากปุยเคมีเปน<br />

สารประกอบทางเคมีที่ทราบปริมาณธาตุอาหารที่แนนอน และ<strong>พ</strong>ืชสามารถดูดใชธาตุอาหารที่มีในปุยแลว<br />

เจริญเติบโตและตอบสนองอยางรวดเร็ว แตถาทําการปลูก<strong>พ</strong>ืชแลวใสปุยเคมีเปนหลักเ<strong>พ</strong>ียงอยางเดียว จะสงผลเสีย<br />

ตอความอุดมสมบูรณของดินในระยะยาว คือมีผลทําใหดินเปนกรดเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทําใหดินเสื่อมสภา<strong>พ</strong> การใส<br />

ปุยเคมีมากเกินความจําเปนจะทําใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เกิดการปนเปอน ดังนั้นการผลิตขาวโ<strong>พ</strong>ดหวาน<br />

โดยลดการใชปุยเคมีและใชปุยคอกมาทดแทน ถึงแมจะมีผลผลิตต่ํากวาการใสปุยเคมี อาจเนื่องมาจากการติด<br />

เมล็ดของขาวโ<strong>พ</strong>ดหวาน <strong>พ</strong>บวาเมล็ดขาวโ<strong>พ</strong>ดหวานติดไมเต็มปลายฝก แตถามองในการทําการเกษตรระยะยาว<br />

การใสปุยคอกมีผลตอการปรับปรุงดินทั้งในดานคุณสมบัติทางเคมี ทางกายภา<strong>พ</strong> และทางชีววิทยาของดิน และใน<br />

ดานการเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิต ทําใหมีการปลดปลอยธาตุอาหารตลอด เกิดการเปลี่ยนแรธาตุจากอินทรียสารไป<br />

เปนอนินทรียสาร ในระยะยาวจะชวยใหเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิตเมล็ดขาวโ<strong>พ</strong>ดได อีกทั้งปรับความเปนกรดเปนดางของดินให<br />

ใกลเปนกลาง ชะลอการลดลงของอินทรียวัตถุในดินและการเสื่อมโทรมของดินที่ผานการทําการเกษตร อีกทั้ง<br />

ผลผลิตที่ไดมีความปลอดภัยตอสิ่งแวดลอมและผูบริโภคอีกดวย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การปลูกขาวโ<strong>พ</strong>ดหวานโดยใสปุยมูลโคเกาใสตั้งแต 0.5-1.5 ตันตอไร จะตองวิเคราะห<strong>พ</strong>ื้นที่ปลูกกอนวามี<br />

อินทรียวัตถุในดินปริมาณเทาไร แลวใสปุยคอกตามปริมาณที่เหมาะสมกับสภา<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่นั้นๆ โดยจะใสเ<strong>พ</strong>ียงครั้ง<br />

เดียวในขั้นตอนการเตรียมดินทําการหวานทั่วแปลงแลว<strong>พ</strong>รวนดินกอนปลูก<br />

การใหน้ําตามรอง ใสปุยคอก 0.5 ตัน/ไร<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ดําเนินโครงการเสร็จสิ้น และมีเทคโนโลยีตนแบบแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สถาบันวิจัยและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 202 ม.17 ต.<strong>พ</strong>ิชัย อ.เมือง<br />

จ.ลําปาง 52000


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ชาอินทรีย<br />

Organic tea<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

รัฐบาลไทยไดจัดทําความตกลงการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ซึ่งไดกําหนดใหเปดตลาดเสรีภาษีเปน<strong>ศ</strong>ูนย<br />

มีผลในป <strong>2553</strong> จะทําใหการนําเขาชาและผลิตภัณฑจากประเท<strong>ศ</strong>จีนและเวียดนามมีปริมาณมากขึ้น สงผลใหราคา<br />

ชาลดลง รวมถึงสวนแบงตลาดภายในประเท<strong>ศ</strong>ของชาไทยลดลงอีกดวย ประกอบกับ<strong>พ</strong>ลังงานมีราคาสูงขึ้นอยางมาก<br />

เกษตรกรผูผลิตชาจึงไดรับผลกระทบจากราคาชาตกต่ํา แตตนทุนการผลิตกลับสูงขึ้น ชาไทยจึงไมสามารถแขงขัน<br />

ในตลาดกับชาจีนและเวียดนามได ดังนั้น การทําชาอินทรียและทําใหมีคุณภา<strong>พ</strong>ที่ดีกวาของประเท<strong>ศ</strong>จีนและ<br />

เวียดนามนาจะมีความเปนไปไดสูง เนื่องจากทั้งสองประเท<strong>ศ</strong>นี้เนนการผลิตใหไดปริมาณมากและราคาถูก จึงใช<br />

สารเคมีในการดูแลสวนชามาก การผลิตสินคาชาอินทรียจึงเปนอีกแนวทางหนึ่งที่จะเ<strong>พ</strong>ิ่มการแขงขันกับชาจีนและ<br />

เวียดนามได<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การดําเนินการเ<strong>พ</strong>ื่อใหชาไทยสามารถแขงขันในตลาดได เกษตรกรผูผลิตควรใหความสนใจดานคุณภา<strong>พ</strong><br />

และความปลอดภัยของผูบริโภค โดยการ<strong>ศ</strong>ึกษาและ<strong>พ</strong>ัฒนาการบริหารจัดการในสวนชาอินทรีย เ<strong>พ</strong>ื่อควบคุมและ<br />

ปองกนการปนเปอนจากการผลิตใบชาสด การจัดการตางๆใหสอดคลองกับการมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางกรดําเนินโครงการ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 333 ม.1 ต.ทาสุด อ.เมือง จ.เชียงราย 57100<br />

โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท 053-916738 โทรสาร 053-916739


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การเจริญเติบโต และผลผลิตเมล็ดของถั่วเขียว ที่ไดจากการปลูกโดยใชปุยอินทรีย<br />

และปุยเคมี<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ผ<strong>ศ</strong>.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

เนื่องจากเมล็ดถั่วเขียวที่มีการผลิตจํานวนมากสวนใหญนํามาทําถั่วงอก ดังนั้นเมล็ดถั่วเขียวที่ไดจึงตอง<br />

ปลอดภัยจากสารเคมีเ<strong>พ</strong>ื่อความปลอดภัยของผูบริโภค และเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุบางสวนนําไปเปนเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุอินทรียเ<strong>พ</strong>ื่อใช<br />

ในระบบเกษตรอินทรียตอไป โดย<strong>ศ</strong>ึกษาลักษณะการเจริญเติบโต และลักษณะผลผลิต<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาโดยการเปรียบเทียบปุยอินทรีย (มูลเปด) และปุยเคมี (สูตร 12-24-12) กับถั่วเขียว 2 <strong>พ</strong>ันธุ ไดแก<br />

<strong>พ</strong>ันธุ “กําแ<strong>พ</strong>งแสน 1” และ<strong>พ</strong>ันธุ “กําแ<strong>พ</strong>งแสน 2” จากการทดลอง<strong>พ</strong>บวา ถั่วเขียวทั้ง 2 <strong>พ</strong>ันธุใหความสูง ความกวาง<br />

เรือน<strong>พ</strong>ุม วันดอกแรกบาน วันที่ดอกบานสูงสุด วันที่เก็บเกี่ยวเมล็ด จํานวนฝกตอตน ความกวางเมล็ด และผลผลิต<br />

ตอไร ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ แตถั่วเขียว<strong>พ</strong>ันธุ “กําแ<strong>พ</strong>งแสน 2” จะใหความยาวฝก ความยาวเมล็ด และ<br />

จํานวนเมล็ดตอฝกสูงกวา<strong>พ</strong>ันธุ ”กําแ<strong>พ</strong>งแสน 1” ถั่วเขียวที่ปลูกโดยใชปุยเคมี ใหความกวางเรือน<strong>พ</strong>ุมมากกวาที่ปลูก<br />

โดยใชปุยอินทรียในทุกชวงอายุของการเจริญเติบโต และการ<strong>ศ</strong>ึกษาอิทธิ<strong>พ</strong>ลรวมระหวาง<strong>พ</strong>ันธุถั่วเขียวกับชนิดของ<br />

ปุย ไม<strong>พ</strong>บอิทธิ<strong>พ</strong>ลรวมกันตอลักษณะการเจริญเติบโตของถั่วเขียวในดานความสูงของเรือน<strong>พ</strong>ุม ความกวางของ<br />

เรือน<strong>พ</strong>ุม อายุการออกดอก และผลผลิตของถั่วเขียว<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาเสร็จแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตร กําแ<strong>พ</strong>งแสน มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกําแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

อ.กําแ<strong>พ</strong>งแสน จ.นครปฐม 73140


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน อิทธิ<strong>พ</strong>ลของ<strong>พ</strong>ันธุ และระยะปลูกตอการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุถั่วเขียวตามระบบเกษตรอินทรีย<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ผ<strong>ศ</strong>.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปญหาสําคัญในการผลิตถั่วเขียวคือ ปญหาดานการระบาดของโรค และแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช ซึ่งจําเปนตองใช<br />

ระยะปลูกที่เหมาะสมในการจัดการเ<strong>พ</strong>ื่อลดปญหาดังกลาว และไมจําเปนตองใชสารเคมี<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาอิทธิ<strong>พ</strong>ลของ<strong>พ</strong>ันธุ และระยะปลูกตอการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุถั่วเขียวตามระบบเกษตรอินทรียโดยมีระยะ<br />

ปลูก 20 x 50 และ 30x 50 เซนติเมตร <strong>พ</strong>บวา ไม<strong>พ</strong>บอิทธิ<strong>พ</strong>ลรวมระหวาง<strong>พ</strong>ันธุของถั่วเขียวกับระยะปลูกตอทุก<br />

ลักษณะไดแก จํานวนฝกตอตน จํานวนเมล็ดตอฝกผลผลิตเมล็ดตอตน ผลผลิตเมล็ดตอไร น้ําหนัก 100 เมล็ด<br />

และเปอรเซ็นตความงอก<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาเสร็จแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตร กําแ<strong>พ</strong>งแสน มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกําแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

อ.กําแ<strong>พ</strong>งแสน จ.นครปฐม 73140


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน อิทธิ<strong>พ</strong>ลของปุยอินทรีย และปุยเคมี ตอการเจริญเติบโต และการสรางผลผลิตของผักชี<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ผ<strong>ศ</strong>.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ผักชีสามารถปลูกไดในดินทุกชนิด สามารถผลิตไดทั้งป มีปญหาเรื่องแมลงนอย เ<strong>พ</strong>ราะมีชวงในการเขา<br />

ทําลายสั้น อีกทั ้งผักชีเปนผักที่มีกลิ่น ดังนั้นจึงเปน<strong>พ</strong>ืชที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>อยางยิ่งในการผลิตแบบเกษตรอินทรีย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

จากการ<strong>ศ</strong>ึกษาอิทธิ<strong>พ</strong>ลของปุยอินทรีย และปุยเคมี ตอการเจริญเติบโต และการสรางผลผลิตของผักชี<br />

<strong>พ</strong>บวา การใชปุยเคมีใหความสูงตน น้ําหนักสดตน น้ําหนักแหงตน และผลผลิตรวม สูงกวาการใชปุยอินทรีย และ<br />

การใชปุยเคมีใหอายุเก็บเกี่ยวสั้นกวาปุยอินทรีย แตมีคาที่แตกตางกันไมมาก และ<strong>พ</strong>บวาชนิดปุย และ<strong>พ</strong>ันธุผักชีมี<br />

อิทธิ<strong>พ</strong>ลรวมกัน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาเสร็จแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตร กําแ<strong>พ</strong>งแสน มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกําแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

อ.กําแ<strong>พ</strong>งแสน จ.นครปฐม 73140


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การเปรียบเทียบผลผลิต และคุณภา<strong>พ</strong>ของเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุถั่วเหลือง<br />

และถั่วงอกหัวโตที่ไดจากการผลิตแบบเกษตรอินทรีย และแบบใชสารเคมี<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ผ<strong>ศ</strong>.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ตนทุนการผลิตถั่วเหลืองในประเท<strong>ศ</strong>ไทย <strong>พ</strong>บวามีตนทุนในการผลิตสูงมาก ซึ่งเปนปญหาที่สําคัญ<br />

เนื่องจากการใชปุยเคมี ไมถูกชนิด และไมถูกวิธี ทําใหดินนั้นเสื่อมเร็ว เนื้อดินจับตัวกันแนน ระบบเกษตรอินทรีย<br />

จึงเปนทางเลือกแกเกษตรกรในการลดตนทุนการผลิตถั่วเหลือง<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาผลผลิตและคุณภา<strong>พ</strong>ของเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุถั่วเหลือง และถั่วเหลืองงอก จากการผลิตระบบเกษตรอินทรีย<br />

<strong>พ</strong>บวา ขนาดทรง<strong>พ</strong>ุม ระบบเกษตรเคมีมีขนาดทรง<strong>พ</strong>ุม และความสูงมากกวาระบบเกษตรอินทรีย สวนลักษณะ<br />

ผลผลิต และคุณภา<strong>พ</strong>เมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ <strong>พ</strong>บวา ไม<strong>พ</strong>บอิทธิ<strong>พ</strong>ลรวมระหวางระบบการผลิต และ<strong>พ</strong>ันธุของถั่วเหลือง ตอจํานวน<br />

ฝกตอตน จํานวนเมล็ดตอฝก น้ําหนักเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ เปอรเซ็นตความงอก และความแข็งแรงของเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาเสร็จแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตร กําแ<strong>พ</strong>งแสน มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกําแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

อ.กําแ<strong>พ</strong>งแสน จ.นครปฐม 73140


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ผลผลิต และคุณภา<strong>พ</strong>ผลผลิตของขาวโ<strong>พ</strong>ดฝกออน <strong>พ</strong>ันธุการคา 4 <strong>พ</strong>ันธุ<br />

ที่ผลิตแบบระบบเกษตรดีที่เหมาะสม และระบบเกษตรอินทรีย<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ผ<strong>ศ</strong>.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

เนื่องจากการผลิตขาวโ<strong>พ</strong>ดฝกออนตามระบบเกษตรอินทรีย ยังมีปญหา คือ ผลผลิตยังมีปริมาณไม<br />

เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ และคุณภา<strong>พ</strong>ยังไมไดตามตองการ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับการผลิตของเกษตรกรในปจจุบัน และการผลิต<br />

ตามระบบเกษตรอินทรียยังมีอุปสรรคบางประการในการผลิต<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

จากการ<strong>ศ</strong>ึกษาผลผลิตและคุณภา<strong>พ</strong>ผลผลิตของขาวโ<strong>พ</strong>ดฝกออน 4 <strong>พ</strong>ันธุ ในระบบเกษตรอินทรีย <strong>พ</strong>บวา<br />

ระบบการผลิตเกษตรดีที่เหมาะสมใหผลผลิต และคุณภา<strong>พ</strong>ผลผลิตมากกวาระบบการผลิตเกษตรอินทรียอยางมี<br />

นัยสําคัญ ในดานความสูงตน จํานวนฝกตอตน จํานวนฝกตอไร น้ําหนักสดทั้งเปลือก น้ําหนักฝกปลอกเปลือก<br />

น้ําหนักฝกปลอกเปลือกที่ไดมาตรฐาน และอัตราสวนระหวางน้ําหนักฝกปอกเปลือกที่ไดมาตรฐานกับน้ําหนักฝก<br />

กอนปอกเปลือก แตไม<strong>พ</strong>บความแตกตางทางสถิติในดานอายุวันเริ่มเก็บเกี่ยว และจํานวนฝกปอกเปลือกที่ได<br />

มาตรฐานที่เกิดจากการผลิตทั้ง 2 ระบบ และ<strong>พ</strong>บวามีอิทธิ<strong>พ</strong>ลรวมระหวางระบบการผลิตและ<strong>พ</strong>ันธุ<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาเสร็จแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตร กําแ<strong>พ</strong>งแสน มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกําแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

อ.กําแ<strong>พ</strong>งแสน จ.นครปฐม 73140


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การประเมินความตานทานไวรัสเสนใบเหลือง และผลผลิตของ<strong>พ</strong>ันธุลูกชั่วที่ 2<br />

และ<strong>พ</strong>ันธุลูกผสมกระเจี๊ยบเขียว<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ผ<strong>ศ</strong>.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปญหาการผลิตกระเจี๊ยบเขียวปจจุบันประสบปญหาลักษณะที่ไมดีหลายประการ เชน ผลผลิตตกต่ํา<br />

ลักษณะปลายฝกคดงอ และมีสีเหลือง ไมทนตอไวรัสเสนใบเหลือง จึงไดมีการปรับปรุง<strong>พ</strong>ันธุกระเจี๊ยบเขียวโดย<br />

วิธีการคัดเลือกแบบบันทึกประวัติ โดยมีการคัดเลือกใหไดลักษณะที่สําคัญเ<strong>พ</strong>ื่อใหไดสาย<strong>พ</strong>ันธุบริสุทธิ์ และสาย<strong>พ</strong>ันธุ<br />

ลูกผสมที่เหมาะสมทางการคาเ<strong>พ</strong>ื่อการสงออกตอไป<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ทําการประเมิน<strong>พ</strong>ันธุลูกชั่วที่ 2 จํานวน 8 <strong>พ</strong>ันธุ และ<strong>พ</strong>ันธุลูกผสมกระเจี๊ยบเขียว เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>ศ</strong>ึกษาความตานทาน<br />

โรคไวรัสเสนใบเหลือง จากการทดลอง <strong>พ</strong>บวา กระเจี๊ยบเขียวจํานวน 5 สาย<strong>พ</strong>ันธุ ไดแก KPS-(OK F2)-46-86-3-<br />

10/86-2-10, KPS-(OK F2)-46-73-1-4/73-1-5, KPS-(OK F2)-46-73-1-10/7-2, KPS-(OK F2)-46-73-1-4/86-3-<br />

10 และ<strong>พ</strong>ันธุการคา “Maskslanal” มีความตานทานไวรัสเสนใบเหลือง 100 เปอรเซ็นต<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการปรับปรุง<strong>พ</strong>ันธุใหไดสาย<strong>พ</strong>ันธุบริสุทธิ์<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตร กําแ<strong>พ</strong>งแสน มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกําแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

อ.กําแ<strong>พ</strong>งแสน จ.นครปฐม 73140


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ผลของปุยอินทรียตอผลผลิต และคุณภา<strong>พ</strong>ของหนอไมฝรั่ง<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ผ<strong>ศ</strong>.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาผลของปุยอินทรียแตละชนิดที่มีผลตอผลผลิต และคุณภา<strong>พ</strong>ของหนอไมฝรั่ง เ<strong>พ</strong>ื่อการปรับปรุงสภา<strong>พ</strong><br />

โครงสรางดินโดยการใสปุยอินทรีย เ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มปริมาณธาตุอาหารที่จําเปนตอ<strong>พ</strong>ืชในดิน และอาจจะมีผลตอการเ<strong>พ</strong>ิ่ม<br />

ผลผลิต และคุณภา<strong>พ</strong>ของหนอไมฝรั่งในรุนการเก็บกี่ยว<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาผลของปุยอินทรียชนิดตางๆ ตอผลผลิต คุณภา<strong>พ</strong>ของหนอไมฝรั่ง<strong>พ</strong>ันธุ “Brock’s Improve” โดยใช<br />

ปุยมูลสุกร ปุยมูลวัว ปุยมูลไกอัดเม็ด ปุยมูลเปด และปุยหมัก อัตราสวน 3 ตันตอไร <strong>พ</strong>บวา จํานวนหนอ และ<br />

น้ําหนักหนอรวมของหนอไมฝรั่งในทุกทรีทเมนตไมมีความแตกตางกันทางสถิติ ทั้ง 2 ชวงการเก็บเกี่ยวในชวงการ<br />

เก็บเกี่ยวที่ 1 ปุยมูลสุกรมีแนวโนมใหจํานวนหนอ และน้ําหนักรวมสูงที่สุด คือ 22,818 หนอตอไร เปนน้ําหนัก<br />

283.96 กิโลกรัมตอไร และในชวงการเก็บกี่ยวที่ 2 ปุยมูลสุกรมีแนวโนมใหจํานวนหนอ และน้ําหนักรวมสูงที่สุด<br />

คือ 22,145 หนอตอไร มีน้ําหนัก 313.55 กิโลกรัมตอไร สวนดานคุณภา<strong>พ</strong>ของหนอไมฝรั่ง <strong>พ</strong>บวา ทั้ง 2 ชวงการ<br />

เก็บเกี่ยว น้ําหนักรวมของหนอไมฝรั่งเกรด A ไมมีความแตกตางทางสถิติ โดยชวงการเก็บเกี่ยวที่ 1 ปุยมูลสุกรมี<br />

แนวโนมใหน้ําหนักรวมหนอไมฝรั่งเกรด A ตูมสูงที่สุด คือ ใหน้ําหนัก 31.15 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ ปุยหมัก<br />

ปุยมูลเปด ปุยมูลวัว ปุยมูลไกใหน้ําหนัก 31.11 29.75 26.20 และ 10.56 กิโลกรัม ตามลําดับ สวนการเก็บเกี่ยวที่<br />

2 <strong>พ</strong>บวาปุยหมักมีแนวโนมใหน้ําหนักรวมของหนอไมฝรั่งเกรด A ตูมสูงที่สุด คือ ใหน้ําหนัก 39.98 กิโลกรัมตอไร<br />

รองลงมาคือ ปุยมูลสุกร ปุยมูลวัว ปุยมูลเปด และปุยมูลไก ใหน้ําหนัก 39.76 30.64 22.85 และ 12.56 กิโลกรัม<br />

ตอไร ตามลําดับ<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาเสร็จแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตร กําแ<strong>พ</strong>งแสน มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกําแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

อ.กําแ<strong>พ</strong>งแสน จ.นครปฐม 73140


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ผลของปุยชีวภา<strong>พ</strong>ตอการสรางผลผลิตของคะนา<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ผ<strong>ศ</strong>.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาอิทธิ<strong>พ</strong>ลของปุยอินทรียที่มีผลตอการเจริญเติบโตของผักคะนาซึ่งเปนผักที่นิยมของผูบริโภคมีการ<br />

ดูแลรักษางาย อายุการเก็บเกี่ยวสั้นจึงเปนผักที่เหมาะสมตอการปลูกในระบบอินทรีย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาผลของปุยชีวภา<strong>พ</strong> 3 สูตร ไดแก ปุยชีวภา<strong>พ</strong>ชนิดน้ํา ปุยชีวภา<strong>พ</strong>ชนิดน้ําสําหรับปรับสภา<strong>พ</strong>ดิน และ<br />

ปุยชีวภา<strong>พ</strong>ชนิดสําหรับปองกัน และกําจัดโรค<strong>พ</strong>ืชที่มีผลตอการสรางผลผลิตของคะนา โดยเปรียบเทียบกับการใส<br />

ปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 30 กก./ไร รวมกับปุยยูเรีย อัตรา 25 กก./ไร และการไมใสปุย <strong>พ</strong>บวาผลผลิตของคะนามี<br />

ความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ โดยการใสปุยสูตร 15-15-15 รวมกับปุยยูเรียมีผลผลิตมากที่สุด คะนา<br />

ที่ใสปุยชีวภา<strong>พ</strong> 3 สูตร และที่ใสปุยชีวภา<strong>พ</strong>รวมกันทั้ง 3 สูตร ใหผลผลิตไมมีความแตกตางกับคะนาที่ไมใสปุย การ<br />

ใสปุยสูตร 15-15-15 รวมกับปุยยูเรียทําใหคะนามีน้ําหนักผลผลิตกอนตัดแตง และหลังตัดแตงมากที่สุดคื่อ 1,200<br />

และ 1,083.3 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ สวนน้ําหนักตอตนกอน และหลังตัดแตง <strong>พ</strong>บวา การใสปุยสูตร 15-15-15<br />

รวมกับปุยยูเรียทําใหคะนามีน้ําหนักเฉลี่ยตอตนสูงที่สุดคือ 26.7 และ 24.05 กรัมตอตนตามลําดับ การใสปุยสูตร<br />

15-15-15 รวมกับปุยยูเรียทําใหคะนามีความยาวลําตนถึงปลายใบ ขนาดเสนผาน<strong>ศ</strong>ูนยกลางลําตน ความกวางใบ<br />

ความยาวใบมากที่สุด สวนผลผลิตของคะนาที่ไดจากการใสปุยชีวภา<strong>พ</strong> 3 สูตร และที่ใสปุยชีวภา<strong>พ</strong>รวมกันทั้ง 3<br />

สูตร มีน้ําหนักสด เฉลี่ยตอตน ความยาวลําตนถึงปลายใบ ขนาดเสนผาน<strong>ศ</strong>ูนยกลางลําตนความกวางใบ ความ<br />

ยาวใบ ใหผลไมมีความแตกตางกันกับการไมใสปุย<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาเสร็จแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตร กําแ<strong>พ</strong>งแสน มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกําแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

อ.กําแ<strong>พ</strong>งแสน จ.นครปฐม 73140


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>ศ</strong>ึกษาอิทธิ<strong>พ</strong>ลของปุยอินทรีย และปุยชีวภา<strong>พ</strong>ตอการสรางผลผลิตผักบุงจีน<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ผ<strong>ศ</strong>.ดร.ปราโมทย สฤษดิ์นิรันดร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>ศ</strong>ึกษาอิทธิ<strong>พ</strong>ลของปุยอินทรียที่มีผลตอการเจิรญเติบโตของผักบุงจีนซึ่งเปนผักที่นิยมของผูบริโภคมี<br />

การดูแลรักษางาย อายุการเก็บเกี่ยวสั้นจึงเปนผักอีกชนิดหนึ่งที่เหมาะสมตอการปลูกในระบบอินทรีย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาอิทธิ<strong>พ</strong>ลของปุยอินทรียตอการสรางผลผลิตของผักบุงจีน โดยมีจํานวน 4 แปลง โดยแปลงที่ 1 ไมมี<br />

การใสปุย แปลงที่ 2 ใสปุยมูลไกอัดเม็ด 100 กิโลกรัมตอไร แปลงที่ 3 ใสปุยชีวภา<strong>พ</strong>อัตรา 100 กิโลกรัมตอไร และ<br />

แปลงที่ 4 ใสปุยมูลไกอัดเม็ด ผสมปุยชีวภา<strong>พ</strong>รอมกัน 100 กิโลกรัมตอไร ทําการ<strong>ศ</strong>ึกษาการเจริญเติบโตทางดาน<br />

น้ําหนักสด น้ําหนักแหง ความยาวตน จํานวนใบ กิ่งแขนง และผลผลิตของผักบุงจีน จากการทดลอง <strong>พ</strong>บวา ความ<br />

ยาวตนของผักบุงจีนในระยะเก็บเกี่ยว ทรีทเมนตที่ใสปุยมูลไกอัดเม็ดผสมปุยชีวภา<strong>พ</strong>รวมกันมีความยาวเฉลี่ยของ<br />

ตนสูงสุดคือ 24.1 เซนติเมตร และในแปลงที่ใสปุยชีวภา<strong>พ</strong> มีความยาวเฉลี่ยตอตนต่ําสุด คือ 21.2 เซนติเมตร ดาน<br />

น้ําหนักสดของตนในระยะเก็บเกี่ยวแปลงที่ใสปุยมูลไกอัดเม็ดใหน้ําหนักสดเฉลี่ยมากที่สุด คือ 9.7 กรัมตอตน และ<br />

แปลงที่ใสปุยชีวภา<strong>พ</strong>ใหน้ําหนักสดเฉลี่ยต่ําที่สุด 8.1 กรัมตอตน และในลักษณะผลผลิตสดของผักบุงจีน แปลงที่ใส<br />

ปุยมูลไกอัดเม็ด ใหผลผลิตสุดมากที่สุด 0.79 กิโลกรัมตอตารางเมตร และแปลงที่ใสปุยมูลไกอัดเม็ดผสมปุย<br />

ชีวภา<strong>พ</strong>รวมกัน ใหผลผลิตต่ําสุด 0.68 กิโลกรัมตอตารางเมตร เมื่อนํามาวิเคราะหหาความแตกตางทางสถิติ<strong>พ</strong>บวา<br />

ไมมีความแตกตางกัน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

<strong>ศ</strong>ึกษาเสร็จแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชสวน คณะเกษตร กําแ<strong>พ</strong>งแสน มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตกําแ<strong>พ</strong>งแสน<br />

อ.กําแ<strong>พ</strong>งแสน จ.นครปฐม 73140


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การผลิต การขนสงและการตลาด<br />

ผักอินทรียตามมาตรฐานสากลเ<strong>พ</strong>ื่อการสงออก<br />

The Potential study of Organic Vegetable Production, Transportation and<br />

Marketing on the International Organic Standard for Export<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน <strong>พ</strong>รประภา ซอนสุข<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การผลิตสินคาเกษตรอินทรียเ<strong>พ</strong>ื่อการสงออกมีการขยายตัวอยางตอเนื่องปละประมาณ 10% ซึ่งการ<br />

แขงขันในตลาดผักอินทรีย มีสภาวะของการแขงขันที ่รุนแรงมากขึ้น จําเปนตองมีการติดตามผลการดําเนินงาน<br />

ของตลาดคูแขงตางๆ โดยเฉ<strong>พ</strong>าะประเท<strong>ศ</strong>จีนเปนกรณี<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษ รวมทั้งควรมีการ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การผลิต การบริหาร<br />

จัดการผักอินทรียเ<strong>พ</strong>ื่อการสงออกของไทยตามมาตรฐานของประเท<strong>ศ</strong>คูคาที่สําคัญ เ<strong>พ</strong>ื่อจะสามารถปรับตัวไดทันตอ<br />

การแขงขันตอไป<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ผลการ<strong>ศ</strong>ึกษาการผลิตผักอินทรียของไทย<strong>พ</strong>บวา การบริหารจัดการภายในฟารม มี 3 ระบบ คือ ระบบการ<br />

บริหารแบบใชแรงงานในครอบครัว การบริหารแบบมีการจางแรงงาน และการบริหารแบบเครือขาย ทั้งนี้หากจะ<br />

ผลิตเ<strong>พ</strong>ื่อการสงออกควรดําเนินการในรูปแบบเครือขาย โดยควร<strong>พ</strong>ัฒนารูปแบบการบริหารจัดการที่<strong>พ</strong>รอมตอการ<br />

ขยายเครือขาย หรือมีมาตรฐานที่สามารถดําเนินการรวมกันกับเครือขายอื่นๆได ขณะที่ผลการ<strong>ศ</strong>ึกษาการผลิตผัก<br />

อินทรียในมณฑลยูนนาน<strong>พ</strong>บวา มณฑลยูนนานมี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการผลิตผักอินทรียอยางมาก ทั้งดานความ<strong>พ</strong>รอม<br />

ของแหลงผลิต การรักษาคุณภา<strong>พ</strong>หลังการเก็บเกี่ยว การขนสง และตนทุนการผลิตผักที่ผลิตโดยเกษตรกรราย<br />

ยอยที่มีตนทุนที่ต่ําแตสามารถผลิตผักไดหลากหลายและมีคุณภา<strong>พ</strong>ที่ไดตลอดป และมณฑลยูนนานก็มีเปาหมายที่<br />

ชัดเจนวาจะทําใหผักในเอเชียอาคเนยมีราคาที่ถูกลงจากการที่ผักของยูนนานเขาสูตลาดได สวนผลการ<strong>ศ</strong>ึกษาการ<br />

ผลิตผักอินทรียของมณฑลกุยโจว<strong>พ</strong>บวา มณฑลกุยโจวมี<strong>พ</strong>ื้นที่การปลูกผักไมมาก เ<strong>พ</strong>ราะ<strong>พ</strong>ื้นที่สวนใหญเปนภูเขา<br />

จึงทําในรูปแบบเกษตรผสมผสาน มีการผลิตผลไมรวมกับการเลี้ยงไก การปลูกผักรวมกับการทํานาและไมผล<br />

การเลี้ยงหมูและการทําบอไบโอแกส ทําใหไดปุยมูลสัตวในการบํารุง<strong>พ</strong>ืชผลตางๆ แตยังเปนการผลิตเ<strong>พ</strong>ื่อบริโภคใน<br />

ทองถิ่นเปนหลัก<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- สถาบันวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อ.เมือง จ. นครราชสีมา 30000


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>พ</strong>ัฒนาตนแบบระบบเกษตรอินทรียภายใตกรอบเกษตรทฤษฎีใหม<br />

Development of Organic Farming Prototype Under New Theory Farming<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สุดชล วุนประเสริฐ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไดมีการจัดทําสวนตัวอยาง เ<strong>พ</strong>ื่อใชเปน<strong>พ</strong>ื้นที่สาธิตถึงการใชประโยชน<br />

ตามแนวทฤษฎีใหม ประกอบมีการวิจัยการใชปุยอินทรียชีวภา<strong>พ</strong>และการควบคุม<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช จนได<strong>พ</strong>ัฒนาขึ้นเปนระบบ<br />

เกษตรอินทรีย แตปญหาที่<strong>พ</strong>บคือ การใช<strong>พ</strong>ื้นที่ยังไมเต็มประสิทธิภา<strong>พ</strong>เมื่อเทียบกับหลักการของเกษตรทฤษฎีใหม<br />

เ<strong>พ</strong>ราะมี<strong>พ</strong>ื้นที่เก็บกักน้ําไมเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ และยังขาดระบบการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรดิน <strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> จึง<br />

ไดมีการปรับ<strong>พ</strong>ื้นที่ใหสอดคลองกับทฤษฎีใหม ประกอบกับมีการทดสอบ ปจจัยการผลิตที่สําคัญ คือ ปุยอินทรีย<br />

ชีวภา<strong>พ</strong> ปุย<strong>พ</strong>ืชสด และวิธีการปองกันกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช ตลอดจนมีการปรับใชความรูทางวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและ<br />

เทคโนโลยีในการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากร<strong>พ</strong>ื้นที่ใหมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และเหมาะสม เ<strong>พ</strong>ื่อใหสามารถใชเปนตนแบบในการ<br />

อบรม ถายทอดเทคโนโลยี การเรียนรูแกเกษตร และของบุคคลทั่วไป<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ผลผลิตผักทุกรุนที่ปลูกมีการตอบสนองอยางเดนชัดตอการใสปุยปุยอินทรียชีวภา<strong>พ</strong>กับปุย<strong>พ</strong>ืชสด แต<br />

ผลผลิตสูงสุดไดจากการใชปุยรวมกัน ระบบการปลูกผักไมมีอิทธิ<strong>พ</strong>ลตอคุณสมบัติของดิน การบริหาร<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชใน<br />

ระบบการผลิตทั่วไปของโครงการมีการใชการปองกันกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชแบบผสมผสาน โดยวิธีการเขตกรรม การ<br />

จัดระบบการปลูก<strong>พ</strong>ืช การใชกับดักกาวเหนียว การใชสารสกัดจาก<strong>พ</strong>ืช การใชสารชีวินทรียและการใชแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<br />

ธรรมชาติ ไดมีการทดลองประสิทธิภา<strong>พ</strong>ของวิธีการปองกันกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช โดยเปรียบเทียบประสิทธิภา<strong>พ</strong>ของการใช<br />

จุลินทรียปองกันกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช 2 ชนิด คือ Bacillus subtilis (BS) และ Bacillus thuringiensis (BT) สารสกัดจาก<br />

<strong>พ</strong>ืช 2 ชนิด คือ สะเดาและหางไหล เปรียบเทียบกับการใชผามุงใยสังเคราะหและไมมีการควบคุม<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช ผลการ<br />

ทดลอง<strong>พ</strong>บวาทุกกรรมวิธีที่ควบคุม<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชทําใหผลผลิตสูงขึ้น แตการใช BT และผามุงใยสังเคราะหใหผลดีที่สุด<br />

การวิเคราะหผลในทางเ<strong>ศ</strong>รษฐ<strong>ศ</strong>าสตร<strong>พ</strong>บวาผลผลิตผักตอไรของโครงการนอยกวาผลผลิตที่ปลูกในระบบ<br />

เกษตรเคมีแตราคาขายสูงกวาทําใหมีรายไดใกลเคียงกัน และเมื่อเปรียบเทียบตนทุนการผลิต<strong>พ</strong>บวาตนทุนการ<br />

ผลิตของโครงการต่ํากวาการผลิตในระบบเกษตรเคมี ซึ่งทําใหมีรายไดสุทธิสูงกวาระบบเกษตรเคมี จากการ<br />

เปรียบเทียบการผลิตกับของเกษตรกร และการเปรียบเทียบขอมูลยอนหลังแสดงใหเห็นวาโครงการมี<br />

ประสิทธิภา<strong>พ</strong>การผลิตที่สูงอันเปนผลโดยรวม จากการจัดการ ดิน ปุย <strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช การปรับ<strong>พ</strong>ื้นที่และการใชทรั<strong>พ</strong>ยากร<br />

อยางมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> จึงไดใช<strong>พ</strong>ื้นที่โครงการเปนตนแบบในการถายทอดเทคโนโลยีแกเกษตรกรและผูที่สนใจให<br />

มาเรียนรู ซึ่งไดมีการดําเนินการแลว 1 ครั้งกอนสิ้นสุดโครงการ โดยมีผูเขาอบรม 37 คน มีเนื้อหาการฝกอบรมที่<br />

เกี่ยวของกับการจัดการธาตุอาหาร<strong>พ</strong>ืช การบริหาร<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช การผลิตปจจัยการผลิตและ<strong>ศ</strong>ึกษาดูงานใน<strong>พ</strong>ื้นที่โครงการ<br />

ในดานการบริหารการใช<strong>พ</strong>ื้นที่ใหมีประสิทธิภา<strong>พ</strong><br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต<strong>พ</strong>ืช สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : บรรจุภัณฑ<strong>พ</strong>ลาสติกชีวภา<strong>พ</strong>สําหรับลําไยอินทรียอบแหง<br />

(Bioplastics Packaging for Dried Organic Longan)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: หางหุนสวนจํากัด <strong>พ</strong>รมกังวาน และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สืบเนื่องจากโอกาสดานการตลาดของผลิตภัณฑอินทรียในการสงออกไปสูประเท<strong>ศ</strong>ในกลุมสหภา<strong>พ</strong>ยุโรป<br />

และสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีนโยบายกฎเกณฑขอบังคับดานสิ่งแวดลอมและการจัดการขยะของเสียในสวนของการใช<br />

บรรจุภัณฑจํา<strong>พ</strong>วก<strong>พ</strong>ลาสติก ทําใหมีความจําเปนในการคิดหาบรรจุภัณฑ<strong>พ</strong>ลาสติกที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมสําหรับ<br />

บรรจุลําไยอินทรียอบแหง แตในปจจุบันการใชบรรจุภัณฑดังกลาวที่สามารถใชบรรจุลําไยอบแหงไดโดยไมทําให<br />

ลําไยอินทรียอบแหงเสื่อมสภา<strong>พ</strong>และเปนที่ยอมรับในระดับสากล ยังจําเปนตองมีการสั่งซื้อนําเขาจากตางประเท<strong>ศ</strong><br />

จึงไดขอรับปรึกษาแนวทางการ<strong>พ</strong>ัฒนาบรรจุภัณฑ<strong>พ</strong>ลาสติกชีวภา<strong>พ</strong>กับสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการ<br />

มหาชน) และองคการความรวมมือดานวิชาการประเท<strong>ศ</strong>เยอรมัน (GTZ) โดยทางสนช.ไดจัดใหมีประชุมรวมกับ<br />

บริษัทในกลุมสมาคมอุตสาหกรรม<strong>พ</strong>ลาสติกชีวภา<strong>พ</strong> (TBIA) โดยสามารถคิดคนหาแนวทางการ<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>พ</strong>ื่อแกไข<br />

ปญหาดังกลาวจนประสบความสําเร็จ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเท<strong>ศ</strong>ดานผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑ<strong>พ</strong>ลาสติกชีวภา<strong>พ</strong>สําหรับใชในการ<br />

บรรจุลําไยอินทรียอบแหง โดยการ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตฟลม ถาดและกลอง<strong>พ</strong>ลาสติกชีวภา<strong>พ</strong> ที่มีลักษณะใสสองผานไดและ<br />

สามารถปดผนึกได เ<strong>พ</strong>ื่อใหสามารถมองเห็นสีของลําไยอินทรียอบแหงได และยืดอายุการจัดเก็บโดยปองกันอากา<strong>ศ</strong><br />

และความชื้นไมใหลําไยอินทรียอบแหงเสื่อมสภา<strong>พ</strong>และเกิดเชื้อราภายในบรรจุภัณฑ<br />

4. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ และมีผลิตภัณฑตนแบบแลว<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

- หางหุนสวนจํากัด <strong>พ</strong>รมกังวาน 53 หมู 7 ตําบลสันทราย อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม 50140<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน หลักสูตรการปลูกกลวยไขและมะละกออินทรียวิทยาลัยชุมชน<br />

Curriculum for Organic Farming of Community College<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน วิทยาลัยชุมชนแ<strong>พ</strong>ร สถาบันเกษตรอินทรียวิทยาลัยชุมชน และ<br />

สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

วิทยาลัยชุมชนเปนสถาบันอุดม<strong>ศ</strong>ึกษาประจําทองถิ่น จัดการ<strong>ศ</strong>ึกษาและฝกอบรมในหลักสูตรที่สอดคลอง<br />

กับการ<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมชุมชนเปนสําคัญและดําเนินการจัดการ<strong>ศ</strong>ึกษาในลักษณะตางๆ เ<strong>พ</strong>ื่อใหเปน<br />

ทางเลือกของชุมชนตามความตองการและเหมาะสม การ<strong>พ</strong>ัฒนาหลักสูตรการปลูกกลวยไขและมะละกออินทรีย<br />

สอดคลองกับนโยบายของสถาน<strong>ศ</strong>ึกษาและนโยบายรัฐใหดําเนินการใหครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย เปนไปตาม<br />

เจตนารมณการจัดการ<strong>ศ</strong>ึกษารูปแบบวิทยาลัยชุมชน<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

หลักสูตรการปลูกกลวยไขและมะละกออินทรีย โดยกระบวนการ DACUM ของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ<br />

ไดแก เกษตรกร ครูภูมิปญญา ผูทรงคุณวุฒิ ตัวแทนผูเชี่ยวชาญดานเกษตรอินทรีย และครูของวิทยาลัยชุมชน ซึ่ง<br />

จะเปนประโยชนที่จะนําไปใชจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาเกษตรอินทรีย และ<br />

สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวของ รวมทั้งการถายทอดเทคโนโลยีใหแกเกษตรกรและ<br />

ผูประกอบการโดยผานการฝกอบรมระยะสั้น อันจะเปนการบูรณาการและสงเสริมใหมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาอาชี<strong>พ</strong>และ<strong>พ</strong>ัฒนา<br />

คุณภา<strong>พ</strong>ชีวิตของบุคคลในชุมชนได<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้นการดําเนินโครงการ และมีหลักสูตรตนแบบแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

วิทยาลัยชุมชนแ<strong>พ</strong>ร (โรงเรียนการปาไมแ<strong>พ</strong>รเดิม) 33/13 ถ.คุมเดิม ต.ในเวียง อ.เมือง จ.แ<strong>พ</strong>ร 54000


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน <strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การปลูกสละ “<strong>พ</strong>ันธุเนินวง” ดวยระบบเกษตรอินทรียในจังหวัดอุบลราชธานี<br />

Potential of Organing “Nern Wong” Salak (Salacca sp.) with Organic Farming<br />

System In Ubon Ratchathani<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน น<strong>พ</strong>มา<strong>ศ</strong> นามแดง<br />

คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อุบลราชธานี<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สละ<strong>พ</strong>ันธุเนินวง (Salacca sp.) เปน<strong>พ</strong>ืชในวง<strong>ศ</strong> Palmae ปลูกและดูแลรักษางาย ใหผลผลิตไดภายในอายุ<br />

ไมเกิน 3 ป มีผลผลิตตลอดทั้งป เมื่อสุกเนื้อมีสีเหลืองคลายน้ําผึ้ง หนานุม รสชาติหวานหรือหวานอมเปรี้ยว ชุมคอ<br />

และกลิ่นหอม จึงเปนที่นิยมของผูบริโภค ขายไดในราคาที่คุมคาตอการลงทุน ปจจุบันจึงไดมีเกษตรกรหันมาเลือก<br />

ปลูกสละทดแทนไมผลอื่นๆ ที่ราคามักผันผวนตามกลไกการตลาด และไมคุมคาตอการลงทุน ปรกอบกับตลาด<br />

สินคาเกษตรอินทรียทั้งในและตางประเท<strong>ศ</strong>มีแนวโนมเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นรอยละ 20 ตอป ในขณะที่ปจจุบันปริมาณสินคา<br />

เกษตรอินทรียมีเ<strong>พ</strong>ียงรอยละ 1 ของสินคาทั้งหมด และคาดวาอีก 5 ปขางหนาจะเติบโตมากขึ้นเปนรอยละ 10<br />

ดังนั้น การผลิตสินคาเกษตรอินทรียเ<strong>พ</strong>ื่อบริโภคภายในและสงออกไปยังตลาดโลกของประเท<strong>ศ</strong>ไทยยังมี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong><br />

และโอกาสอีกมาก<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การปลูกสละ “<strong>พ</strong>ันธุเนินวง” อินทรียในจังหวัดอุบลราชธานี <strong>พ</strong>บวา มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ทั้งดานการผลิต คุณภา<strong>พ</strong><br />

และเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ โดยสละอินทรียจะเริ่มใหผลผลิตในปที่ 3 500 กิโลกรัมตอไร และใหผลผลิตมาขึ้นในปที่ 4 และ 5 ป<br />

1,242 และ 2,483 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ มีน้ําหนักผลเฉลี่ย 39.81 กรัม จํานวนผลเฉลี่ยตอกระปุก 22 ผล มี<br />

น้ําหนักเฉลี่ยตอกระปุก 731 กรัม และ มีระดับความหวาน 17.8 ° Brix ตนทุนการผลิตสละอินทรียตั้งแตปที่ 1 ถึงป<br />

ที่ 5 คิดเปน 114,400 บาทตอไร ราคาขายสละอินทรีย 45-50 บาทตอกิโลกรัม มีรายไดรวม (ปที่ 3-5) เทากับ<br />

198,835 บาทตอไร มีรายไดเหนือตนทุนเงินสด เหนือตนทุนไมเปนเงินสด และเหนือตนทุนรวม เทากับ 166,435<br />

116,835 และ 84,435 บาทตอไร ตามลําดับ<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสมบูรณแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

น<strong>พ</strong>มา<strong>ศ</strong> นามแดง คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตําบล<strong>ศ</strong>รีไค อําเภอวารินชําราบ<br />

จังหวัดอุบลราชธานี 31490


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การเ<strong>พ</strong>าะปลูกผลไมเกษตรอินทรียสมบูรณ เ<strong>พ</strong>ื่อการสงออกตลาดโลกของประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

Fully Organic Economic Fruits Production for Export to World Market of Thailand<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากัด<strong>พ</strong>รุฟอิท และ<br />

ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ดวยประเท<strong>ศ</strong>ไทยใชที่ดินเ<strong>พ</strong>ื่อการเ<strong>พ</strong>าะปลูกไมผล 9.20 ลานไรไดผลผลิตผลไมปละ 10 ลานเมตริกตัน มี<br />

การบริโภคภายในประเท<strong>ศ</strong>ปละ 9.60 ลานเมตริกตัน และสามารถสงผลไมออกสูตลาดโลก (World Market) ไดปละ<br />

0.40 ลานเมตริกตันมูลคา 8,000 ลานบาท ผลไมสงออกที่สําคัญไดแก ทุเรียน ลําไย กลวยหอม ฯลฯ และยังมี<br />

ผลไมที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>อีกหลายชนิดไดแก องุน มะละกอ ฯลฯ วิทยาการและความรูในการเ<strong>พ</strong>าะปลูกไมผลเกษตร<br />

อินทรียสามารถผลักดันใหการสงออกไปยังตลาดโลก โดยมูลคาที่สงออกในปจจุบัน เ<strong>พ</strong>ิ่มเปน 11,000 ลานบาท<br />

ประเท<strong>ศ</strong>ไทยกลายเปนผูสงออกผลไมเกษตรอินทรียรายใหญของตลาดโลก ไดแก ฮองกง สาธารณรัฐประชาชนจีน<br />

ไตหวัน ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา แคนนาดา และสิงคโปร และยังประโยชนที่สําคัญสามารถผานมาตรการกีดกันทาง<br />

การคาได เ<strong>พ</strong>ราะไมมีการแขงขันในผลผลิตผักเกษตรอินทรีย ดวยความปลอดภัยที่สูงสุดจากการไมมีสาร<strong>พ</strong>ิษ<br />

ตกคางในผลผลิตเกษตรอินทรีย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเท<strong>ศ</strong>สําหรับการผลิตผลไมเกษตร<br />

อินทรียเ<strong>พ</strong>ื่อการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเท<strong>ศ</strong>ไทย จากการใชประโยชนของทรั<strong>พ</strong>ยากรที่ดิน แหลง<br />

น้ํา บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ <strong>พ</strong>ันธุไมผล ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ทั้งหมดจากประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับหลักการมาตรฐานเกษตร<br />

อินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัยที่กําหนดใหไมมีสาร<strong>พ</strong>ิษ<br />

ตกคางทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น และ<strong>พ</strong>รอมถายทอดเทคโนยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและองคกร<br />

ตางๆ ระยะเวลา 7-10 วัน<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- หางหุนสวนจํากัด<strong>พ</strong>รุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต. จําปา อ. ทาเรือ จ. <strong>พ</strong>ระนคร<strong>ศ</strong>รีอยุธยา 13130<br />

โทร. 035-341-580<br />

- ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถนน<strong>พ</strong>หลโยธิน<br />

แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10900 โทร. 02-561-3482


รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย<br />

ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong><br />

กลุมที่ 3: ป<strong>ศ</strong>ุสัตวและประมง


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน: น้ํานมอินทรียที่มีปริมาณ CLA สูง<br />

(Organic milk contains high amounts of Conjugated Linoleic Acids)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท แดรี่โฮม จํากัด และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

บริษัท แดรี่โฮม จํากัด ไดรวมมือกับสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) และไดรับการ<br />

ชวยเหลือดานวิชาการจากคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยา<br />

เขตกาฬสินธุ ในการปรับเปลี่ยนระบบจัดการฟารมโคนมเปนอินทรีย โดยใชวัตถุดิบในทองถิ่น อาทิ ใชสมุนไ<strong>พ</strong>ร<br />

ชนิดตางๆ ผลิตปุยน้ําหมักชีวภา<strong>พ</strong>สําหรับใชปลูกหญาเนเปยร (อาหารหยาบ) น้ําหมักชีวภา<strong>พ</strong>สมุนไ<strong>พ</strong>รเขมขนเ<strong>พ</strong>ื่อ<br />

ทดแทนการใชยาปฏิชีวนะและเคมีภัณฑอื่นๆ และใชเ<strong>ศ</strong>ษมันสําปะหลังอินทรีย ผลิตอาหารขนอินทรียโปรตีนสูง<br />

รวมไปถึง ระบบการจัดการฟารมโคนมที่เนนการเลี้ยงโคนมแบบปลอยตามธรรมชาติ ทั้งนี้จะดําเนินการ<br />

เปรียบเทียบเ<strong>พ</strong>ื่อหาระบบจัดการฟารมแบบอินทรียที่ดีที่สุด โดยวิเคราะหหาปริมาณโภชนะที่สําคัญในน้ํานม คือ<br />

Conjugated Linoleic Acids (CLA) เนื่องจากมีหลายงานวิจัย ระบุวากระบวนการเลี้ยงโคนมแบบอินทรีย จะได<br />

น้ํานมที่ใหปริมาณกรดไขมันชนิด CLA สูงกวานมทั่วๆไป<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเท<strong>ศ</strong>ดานกระบวนการผลิตน้ํานมอินทรียที่มีปริมาณกรดไขมันชนิด<br />

Conjugated Linoleic Acids (CLA) สูง โดยใชกระบวนการเลี้ยงโคนมแบบอินทรีย ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย<br />

ทําใหน้ํานมที่ไดมีความปลอดภัย และใหคุณคาทางโภชนาการสูง<br />

4. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

- บริษัท แดรี่โฮม จํากัด 100/1 หมู 11 ต.<strong>พ</strong>ญาเย็น อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา 30320<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การเลี้ยงไกไขอินทรียแบบปลอย<br />

Free-Range Organic Laying Hen<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นายสุธรรม จันทรออน<br />

สํานักงานป<strong>ศ</strong>ุสัตวจังหวัดนครปฐม<br />

<strong>ศ</strong>ูนยป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรีย กรมป<strong>ศ</strong>ุสัตว<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ไกไขเปนผลผลิตทางการเกษตรเ<strong>พ</strong>ื่อการบริโภคหลักของประเท<strong>ศ</strong>และเปนสัตวเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจที่สามารถสราง<br />

รายไดอยางตอเนื่อง รวมทั้งไขไกยังสามารถนําไปแปรรูปหรือจัดทําเปนผลิตภัณฑทําอาหารประเภทตางๆ การ<br />

เลี้ยงไกไขอินทรียเปนองคความรูภายใตโครงการการ<strong>พ</strong>ัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม โดยยึดปรัชญา<br />

เ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียง (โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ูนยเครือขายปราชญชาวบาน) ที่ไดนอมนําหลักปรัชญาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียงมา<br />

เปนแนวทางในการปฏิบัติ โดยเนนการ<strong>พ</strong>ึ่ง<strong>พ</strong>าตนเองภายในครัวเรือนเปนหลัก อา<strong>ศ</strong>ัยหลักการ<strong>พ</strong>ึ่ง<strong>พ</strong>าธรรมชาติใน<br />

การเลี้ยง แตกตางกัน ซึ่งในแตละ<strong>พ</strong>ื้นที่ของแตละภูมิภาค ทั้งในดานวัฒนธรรม ประเ<strong>พ</strong>ณีความเปนอยูในการ<br />

ดํารงชีวิต<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การเลี้ยงไกไขอินทรีย ควรคัดเลือก<strong>พ</strong>ันธุไกที่ใหไขดกและผสม<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ื้นเมืองเ<strong>พ</strong>ื่อใหทนตอโรคและปรับตัว<br />

กับธรรมชาติไดดี โดยการเลี้ยงในแปลงไผลอมรั้วดวยตาขายมุงไนลอนใน<strong>พ</strong>ื้นที่จํากัด เชน <strong>พ</strong>ื้นที่ 1 ไร ตอ<br />

จํานวนไกไข 150 ตัว เปนตน เนนการใหอาหารที่สามารถหาไดจากภายในครัวเรือนเกษตร ซึ่งมีสวนผสม คือ รํา<br />

ละเอียดผสมหยวกกลวย หญาขนสับละเอียดหรือเ<strong>ศ</strong>ษผัก ใบไผสดใหไกจิกกิน หรือใบไผสด บดสับผสมรํา<br />

ละเอียด ใบกระถินสด และมีกองปุ ยคอกหมักไวใหไก คุยเขี่ยกินแมลง การทําโรงเรือนไกควรทําแบบงายๆ กัน<br />

ฝนได<strong>พ</strong>อสมควรเ<strong>พ</strong>ื่อลดตนทุนการผลิต โดยไกจะอา<strong>ศ</strong>ัยรมไม เชนตนไผ ซึ่งเปนแหลงอาหารไกไดเปนอยางดี และ<br />

มูลไกยังเปนปุยใหกับไผไดอีกดวย<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินการโครงการ และมีไขไกอินทรียจําหนายแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

<strong>ศ</strong>ูนยเรียนรูชุมชนปลักไมลาย (นายสุธรรม จันทรออน) 54 หมู 10 บานปลักไมลาย ต.ทุงขวาง<br />

อ.กําแ<strong>พ</strong>งแสน จ.นครปฐม โทร 081-3845352


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน น้ํานมแ<strong>พ</strong>ะอินทรีย<br />

Organic Phuket Goat milk<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นายอัคระ ธิติถาวร<br />

สํานักงานป<strong>ศ</strong>ุสัตวจังหวัดภูเก็ต<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

นายอัคระ ธิติถาวร จากการทํางานบริษัทมาสูบานเกิด ดวยจิตสํานึกและความมุงมั่นการผลิตอาหารให<br />

ผูบริโภคโดยไมใชสารเคมีสังเคราะหใดๆ และใชหลักความสมดุลของระบบนิเว<strong>ศ</strong> และการดํารงชีวิตแนวเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ<br />

<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียง โดย<strong>พ</strong>ิจารณา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ทําใหเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อที่ตนเองทําได ภายใตเหตุผลมี<strong>พ</strong>ื้นที่ ทุน แปลงหญา และการ<br />

<strong>พ</strong>ึ่งตนเองเปนภูมิคมกัน ตองเรียนรูตลอดเวลา แลกเปลี่ยนเรียนรูกับสมาชิกในชมรมเลี้ยงแ<strong>พ</strong>ะ มีความซื่อสัตยตอ<br />

ลูกคา ผลผลิตที่ไดจะตองปลอดภัยตอผูบริโภค นํามาสูการปฏิบัติใหเกิดความยั่งยืน ความมั่นคงในอาชี<strong>พ</strong>และ<br />

สุขภา<strong>พ</strong>ที่ดี ของครอบครัวและผูบริโภค คุณอัคระ<strong>พ</strong>ัฒนา ระบบการจัดการเลี้ยงแ<strong>พ</strong>ะใหเปนธรรมชาติโดยสอดคลอง<br />

กับมาตรฐานป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรีย มกอช.9000 เลม 2-2548 จากความหลากหลายของ<strong>พ</strong>ืชธรรมชาติสมุนไ<strong>พ</strong>ร และหญา<br />

กวา 130 ชนิดที่แ<strong>พ</strong>ะกินแตละวัน และการเลี้ยงดูแ<strong>พ</strong>ะอยางเปนธรรมชาติ สูผลผลิตน้ํานมแ<strong>พ</strong>ะที่มีคุณภา<strong>พ</strong>เปนทั้ง<br />

อาหารและยา “วิถีธรรมชาติ สัตวปลอดโรค ผูบริโภคปลอดภัย”<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

คุณอัคระเริ่มจากการปลูก<strong>พ</strong>ืชเลี้ยงสัตวผสมผสาน เลี้ยงแ<strong>พ</strong>ะ ประมาณ 40 ตัว แมแ<strong>พ</strong>ะรีดนมครั้งละ 12-15<br />

ตัว ปลูก<strong>พ</strong>ืชหลากหลายชนิด-เลี้ยงแ<strong>พ</strong>ะ-เลี้ยงปลา ดวย<strong>พ</strong>ื้นที่ 2 ไรเ<strong>ศ</strong>ษและ<strong>พ</strong>ื้นที่สวนยางของญาติ<strong>พ</strong>ี่นองภายใน<br />

ฟารมมีไมผล ไมยืนตน <strong>พ</strong>ืชผักผลไมหลากหลายชนิด มีระบบการจัดการฟารมผสมผสานเกื้อกูลกันของ<strong>พ</strong>ืช-สัตว-<br />

ประมง ใชมูลแ<strong>พ</strong>ะเปนปุยใหกับ<strong>พ</strong>ืช และสรางแหลงอาหารแ<strong>พ</strong>ลงตอน ตะไครน้ําใหกับปลา ใชน้ําจากบอปลารด<br />

ตนไม แปลงหญา คุณอัคระสรางความรูการเลี้ยงแ<strong>พ</strong>ะจากการปฏิบัติจริง เรียนรูความสัม<strong>พ</strong>ันธของวงจรชีวภา<strong>พ</strong>ใน<br />

ฟารมกับการเลี้ยงแ<strong>พ</strong>ะจนเปนองคความรูภูมิปญญาที่สามารถถายทอดสูเครือขาย นักเรียน นัก<strong>ศ</strong>ึกษาและมีผูมา<br />

ขอดูงานมากมาย<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

กําลัง<strong>พ</strong>ัฒนากระบวนการขอการรับรองมาตรฐาน มีน้ํานมแ<strong>พ</strong>ะอินทรียจําหนาย ชื่อ “<strong>พ</strong>รุจําปา”<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- นายอัคระ ธิติถาวร 43/1 หมูที่ 3 ตําบลเท<strong>พ</strong>กระษัตรี อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต<br />

- สํานักงานป<strong>ศ</strong>ุสัตวจังหวัดภูเก็ต อ.เมือง จ.ภูเก็ต<br />

- <strong>ศ</strong>ูนยป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรีย กรมป<strong>ศ</strong>ุสัตว www.dld.go.th/organic


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน เปดไขอินทรียเชียงใหม<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน เครือขายเปดไขอินทรียเชียงใหม<br />

สํานักสุข<strong>ศ</strong>าสตรและสุขอนามัยที่ 5<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

โครงการเปดไขอินทรีย ในระยะเริ่มตนมีเกษตรกรเขารวมโครงการทั้งสิ้น 10 คนจาก 3 อําเภอคือ<br />

อําเภอแมแตง อําเภอแมริม และอําเภอดอยสะเก็ด โดยกรมป<strong>ศ</strong>ุสัตวสนับสนุน<strong>พ</strong>ันธุเปดไขจากการ<strong>พ</strong>ัฒนาสาย<strong>พ</strong>ันธุ<br />

ของกรมป<strong>ศ</strong>ุสัตวจํานวน 500 แม รวมกับกระบวนการสงเสริมและวิจัย<strong>พ</strong>ัฒนาแบบมีสวนรวม เ<strong>พ</strong>ื่อใหการเลี้ยงเปด<br />

เกื้อกูลกับการทําเกษตรอินทรียของเครือขาย และเปนแหลงอาหารโปรตีนที่ผลิตไดในชุมชน บริโภคในชุมชนดวย<br />

กระบวนการป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรียวิถี<strong>พ</strong>ื้นบาน ทําใหชุมชนมีอาหารที่ปลอดภัยไรสาร<strong>พ</strong>ิษตกคาง<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

จากการรวบรวมขอมูล เกษตรกรมีรายไดเ<strong>พ</strong>ิ่มจากการเลี้ยงเปดเสริมในกิจกรรมการผลิตทางการ<br />

เกษตรกรเฉลี่ยวันละ 70 บาท มีรายไดหลังหักคาใชจายดานอาหารเปด แลวประมาณ 42 บาทตอวัน ทั้งนี้หากคิด<br />

ตนทุนดานคาแรง ซึ่งเกษตรกรสวนใหญใหเวลาในการดูแลเปดประมาณ 78 นาที ตอวันคิดมูลคาประมาณ 25<br />

บาท ดังนั้นเกษตรกรจะมีรายไดเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจากเดิมอีกวันละประมาณ 17 บาท ดังนั้นเกษตรกรผูเลี้ยงเปดอินทรียจึงมี<br />

บทบาทในการสงเสริมความมั่นคงทางอาหารแกชุมชน เ<strong>พ</strong>ราะเกษตรกรจําหนายไขเปดในชุมชนหลัก เกษตรกรแต<br />

ละคน จําหนายไขเปดใหแกชุมชนไมนอยกวา 5,000 ฟอง คิดเปนมูลคาสูงถึง 15,000 – 18,000 บาท นั่นคือเงินที่<br />

ชุมชนไมตองจายใหกับการซื้อไขจากภายนอก นอกจากนี้การเลี้ยงเปด รวมกับการปลูกขาวอินทรีย ยังทําให<br />

ตนทุนการปลูกขาวอินทรียในภูมิสังคมแมริมแมแตงปการผลิตที่ 2/51 <strong>พ</strong>บวาเกษตรกรมีตนทุนการผลิตประมาณ<br />

3,355 บาท (กรณีไมไดเลี้ยงเปด) หากเกษตรกรเลี้ยงเปดรวมดวยจะสามารถลดตนทุนการผลิตขาวไดอีก 400 –<br />

450 บาท นั่นคือประมาณ 2,800 – 2,900 บาทตอไร และไดผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 640 กิโลกรัมตอไร หาก<br />

จําหนายในราคา 13 บาทตอกิโลกรัมจะทําใหเกษตรกรมีรายไดประมาณ 8,320 บาท<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการ<strong>พ</strong>ัฒนาการขอการรับรองแบบกลุมโครงการ มีไขเปดอินทรียขายในชุมชน และตลาดนัดสี<br />

เขียวในเมืองเชียงใหม<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

นายสุ<strong>พ</strong>จน ทิ<strong>พ</strong>มนต ประธานเครือขายป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรียเชียงใหม<br />

57/4 หมู 3 ต.สันปายาง อ.แมแตง จ.เชียงใหม


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน เครือขายป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรียบานทั<strong>พ</strong>ไท สุรินทร<br />

ตัวอยางการ<strong>พ</strong>ัฒนาชนบทดวยเกษตรอินทรียครบวงจร<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นางกัลยา ออน<strong>ศ</strong>รี ประธานเครือขายป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรีย<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

นางกันยา ออน<strong>ศ</strong>รี ประธานชมรมอนุรักษสิ่งแวดลอมและอาชี<strong>พ</strong>ทางเลือก บานทั<strong>พ</strong>ไทย ตําบลทมอ อําเภอ<br />

ปราสาท จังหวัดสุรินทร เปนกลุมที่เริ่มปลูกขาวอินทรียตั้งแตป 2543 มีกิจกรรมเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจอาหารชุมชน ผูนํากลุม<br />

ไดเลาใหฟงวา เกษตรกรไทยจะอยูอยางมี<strong>ศ</strong>ักดิ์<strong>ศ</strong>รีไดตองเปนผูแปรรูปหรือจําหนายผลผลิตโดยตรงใหกับผูบริโภค<br />

จึงไดรวมตัวกันจัดใหมี กิจกรรมตลาดทางเลือก กิจกรรมกลุมเด็กรักษธรรมชาติ และกิจกรรมเยาวชนสืบทอด<br />

อาชี<strong>พ</strong> และคุณคาสิ่งแวดลอมดวยการชวย<strong>พ</strong>อแมดําเนินกิจกรรมการเกษตร นําผลผลิตและผลิตภัณฑแปรรูปไป<br />

ขายตลาดนัดสีเขียวทุกวันเสารในเมือง มีกิจกรรมสงเสริมงาน<strong>พ</strong>ัฒนาอาชี<strong>พ</strong>กับคนไมมีที่ทํากิน ดวยการชวยเหลือ<br />

เกื้อกูลกันในชุมชน และการคาขาย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

อาชี<strong>พ</strong>หลักของสมาชิกคือการทํานาขาวอินทรีย มีกิจกรรมที่เกื้อกูลกันระหวางการปลูก<strong>พ</strong>ืช-เลี้ยงสัตว คือ<br />

แทบทุกบานมีการเลี้ยงโค นํามูลโคทําเปนปุยคอกใสนาขาว เมื่อทําขาวอินทรียจนไดรับการรับรองมาตรฐาน<br />

สงออกขายตางประเท<strong>ศ</strong> ทางกลุมเกิดการเรียนรูวาปุยอินทรียที่มีอยูไมเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อตอการปรับปรุงดินเ<strong>พ</strong>ื่อปลูกขาว<br />

อินทรีย จึงไดไปเรียนรู การเลี้ยงหมูหลุม เ<strong>พ</strong>ื่อแกลบรอง<strong>พ</strong>ื้นคอกสุกรผลิตเปนปุยอินทรีย จะไดปุยหมักอินทรียใน<br />

คอกเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อตอนาขาว และมีการเลี้ยงเปดอินทรีย ไก<strong>พ</strong>ื้นเมือง และไกไข นําปุยจากคอกสัตวใสนาขาว ผล<strong>พ</strong>ลอย<br />

ไดจากนาขาว ไดแก ฟางขาว แกลบ รํา ปลายขาว นํามาเลี้ยงสัตว ในการเลี้ยงสุกรโดยใช รําปลายขาว และน้ํา<br />

หมักปูปลาที่มีมากมายในฤดูทํานาเปนอาหารเสริมโปรตีนใหกับสุกร เนนการผลิตอาหารสัตวเองในชุมชน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินการขอการรับรองมาตรฐาน<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- นางกัลยา ออน<strong>ศ</strong>รี บานทั<strong>พ</strong>ไท ต.ทมอ อ.ปราสาท จ.สุรินทร<br />

- นายมาน<strong>พ</strong> กนก<strong>ศ</strong>ิลป สํานักสุข<strong>ศ</strong>าสตรสัตวและสุขอนามัยที่ 3 ต.จอหอ อ.เมือง จ.นครราชสีมา


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การปรับเปลี่ยนการเลี้ยงโคนมสูมาตรฐานโคนมอินทรีย<br />

Transition to Organic Dairy Production System<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นาย<strong>พ</strong>ฤฒิ เกิดชูชื่น และเครือขายฟารมโคนมอินทรีย<br />

<strong>ศ</strong>ูนยป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรีย กรมป<strong>ศ</strong>ุสัตว<br />

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

กรมป<strong>ศ</strong>ุสัตว รวมกับสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ ไดจัดทําโครงการ<br />

สนัยสนุนเครือขายน้ํานมอินทรียแดรี่โฮม และฟารมเกษตรกรจํานวน 6 ฟารม เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาการผลิตน้ํานมอินทรียสู<br />

มาตรฐานเปนที่ยอมรับของผูบริโภค และเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนามาตรฐานโคนมอินทรียของประเท<strong>ศ</strong>ไทย โดยมีกิจกรรม<br />

สนับสนุนการเรียนรูกระบวนการเลี้ยงโคนมอินทรีย และการ<strong>พ</strong>ัฒนาเขาสูการรับรองมาตรฐานการจัดทําเอกสารและ<br />

การควบคุมภายใน รวมทั้งการ<strong>ศ</strong>ึกษารูปแบบการปฏิบัติในฟารม ปญหาอุปสรรคของการเขาสูมาตรฐานป<strong>ศ</strong>ุสัตว<br />

อินทรีย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

น้ํานมอินทรีย หมายถึง น้ํานมที่ผูเลี้ยงโคนมจัดการเลี้ยงโคที่ใสใจสิ่งแวดลอมและสวัสดิภา<strong>พ</strong>สัตว ใหสัตว<br />

มีความเครียดนอยที่สุด เ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>แข็งแรง มีภูมิตานทานโรค โดยจัดการใหแมโคมีความสุขที่ไดเดินแทะเล็ม<br />

หญาในแปลงหญาที่ไมไดใชปุยเคมี สารเคมีใดๆ แตใชปุยหมักมูลสัตวเปนเวลานาน เสริมดวยอาหารขนอินทรีย<br />

เล็กนอยจากวัตถุดิบที่ปลอด GMOs และการจัดการฟารมที่ดี ดวยการจัดการเลี้ยงไมหนาแนน<strong>พ</strong>อเหมาะกับ<strong>พ</strong>ื้นที่<br />

มีคอก<strong>พ</strong>ัก นอน โปรง โลง สะอาด มี<strong>พ</strong>ื้นที่กลางแจงออกกําลัง ทุกขั้นตอนการเลี้ยงดูและการรีดนม หลีกเลี่ยงการใช<br />

สารเคมี ยาและเวชภัณฑเคมีสังเคราะห รักษาความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของ<strong>พ</strong>ืชและสัตวประจําถิ่น เชน <strong>พ</strong>ืช<br />

สมุนไ<strong>พ</strong>ร นก ไก<strong>พ</strong>ื้นเมืองคอยจิกกินเห็บและไข<strong>พ</strong>ยาธิ<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินการ มีผลิตภัณฑตนแบบแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- <strong>ศ</strong>ูนยป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรีย กรมป<strong>ศ</strong>ุสัตว ถนนน<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400<br />

- บริษัทแดรี่โฮม จํากัด 100/1 ต.<strong>พ</strong>ญาเย็น อ.ปากชอง จังหวัดนครราชสีมา 30320 โทร 044-322230


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : การ<strong>ศ</strong>ึกษาประสิทธิภา<strong>พ</strong>ของ<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>รไทยในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ<br />

อี. โคไล ชนิดกอโรคในทางเดินอาหาร<br />

(A Study of the Antimicrobial Activity of Thai Herbs on Enteropathogenic<br />

Escherichia coli)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: น.ส<strong>พ</strong>.ดร.นนทกรณ อุรโสภณ และคณะ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

โรคอุจจาระรางเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหลูกสุกรตายกอนหยานม โดยมีอัตราการปวยตั้งแต 48 ถึง 84%<br />

ในฟารมที่มีการจัดการสุขาภิบาลในระดับที่นา<strong>พ</strong>อใจ และในฟารมที่มีการจัดการสุขาภิบาลที่ตองปรับปรุง<br />

ตามลําดับ (อางถึงโดย ยุทธนาและคณะ, 2545) โดยมีอัตราการตายมากกวา 20% และจะสูงถึง 100% ถาไมมี<br />

การรักษา เชื้อ Escherichia coli (อี.โคไล) เปนสาเหตุสวนใหญสําหรับลูกสุกรตั้งแตแรกเกิดจนถึงหลังหยานม 1-2<br />

สัปดาห โดยเฉ<strong>พ</strong>าะฟารมที่ระบบการจัดการแมสุกรชวงกอนและหลังคลอดไมดี ลูกสุกรจะไดรับเชื้อโดยตรงจากแม<br />

หรือจากเชื้อที่สะสมอยูในคอกคลอด โดยการกินเขาไป ปจจุบันมีการใชยารักษาและปองกันการเกิดอุจจาระรวง<br />

ในสุกรกันอยางแ<strong>พ</strong>รหลายจากขอมูลของสมาคมผูคาเวชภัณฑสําหรับสัตว ยาสวนใหญทั้งในรูปยาฉีด ยาละลาย<br />

น้ํา และยาผสมอาหารตองนําเขาจากตางประเท<strong>ศ</strong>ทั้งในรูปเคมีภัณฑและยาสําเร็จรูปทําใหตองเสียดุลการคากับ<br />

ตางประเท<strong>ศ</strong> การดื้อยาของเชื้อ (antimicrobial resistance) สามารถเกิดขึ้นไดเชนเดียวกับเชื้อชนิดอื่นๆ<br />

การ<strong>ศ</strong>ึกษาหา<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>รที่มีฤทธิ์ในการตานเชื้อ อี.โคไล ที่กอโรคในสุกรยังมีการ<strong>ศ</strong>ึกษากันเ<strong>พ</strong>ียงไมกี่ชนิด ไดแก<br />

ฟาทะลายโจร ใบฝรั่ง ขมิ้นชัน ไ<strong>พ</strong>ล และเปลือกผลมังคุด การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>ศ</strong>ึกษาฤทธิ์การตาน<br />

เชื้อ อี.โคไลที่กอโรคลําไสอักเสบ (enteropathogenic E.Coli) สาย<strong>พ</strong>ันธุอางอิงและสาย<strong>พ</strong>ันธุที่ทําใหเกิดโรคอุจจาระ<br />

รวงในลูกสุกรของสวนสกัดหยาบจาก<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>รชนิดตางๆ โดย<strong>ศ</strong>ึกษาแบบ in vitro เ<strong>พ</strong>ื่อเปนขอมูล<strong>พ</strong>ื้นฐานในการ<br />

หา<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>รที่เหมาะสมในการรักษาและปองกันโรคอุจจาระรวงในลูกสุกรในระดับฟารมตอไป<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

สวนสกัดหยาบดวยน้ําของสมุนไ<strong>พ</strong>รทั้ง 20 ชนิดที่นํามา<strong>ศ</strong>ึกษาไมแสดงฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อ อี.<br />

โคไล ในขณะที่มีเ<strong>พ</strong>ียงสวนสกัดหยาบดวย 50% เอธานอลเทานั้นที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ อี.โคไล<br />

<strong>พ</strong>บวาสวนสกัดหยาบจากฝรั่ง ดาวเรือง <strong>พ</strong>ลู สาปเสือ และลูกใตใบ มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ อี.โคไล ในระดับแตกตางกัน<br />

สวนสกัดหยาบจากใบ<strong>พ</strong>ลูแสดงฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบของเชื้อ อี.โคไล ไดดีที่สุด โดยสามารถยับยั้งการเจริญ<br />

ของเชื้อ อี.โคไลสาย<strong>พ</strong>ันธุมาตรฐานที่นํามาทดสอบทั้ง 7 สาย<strong>พ</strong>ันธุ นอกจากนี้สวนสกัดจาก<strong>พ</strong>ลูดวย 50% เอธานอล<br />

สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ อี.โคไล ที่แยกไดจากลูกสุกรที่มีอาการทองรวง 9 ตัวได โดยมีขนาด<br />

เสนผา<strong>ศ</strong>ูนยกลางบริเวณที่ถูกยับยั้งระหวาง 16.20-27.80 มม. และมีคาเฉลี่ยไมแตกตางจากการยับยั้งเชื้อโดยยา<br />

gentamicin ผลการทดสอบหาคา MIC ของสวนสกัดหยาบที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ อี.โคไล ไดดีที่สุด คือ สกัดหยาบจาก<br />

<strong>พ</strong>ลู ที่สกัดดวย 50% เอธานอลตอเชื้อ อี.โคไล ที่แยกไดจากลูกสุกรที่มีอาการอุจจาระรวง 4 สาย<strong>พ</strong>ันธุอยูในชวง<br />

0.156-0.312 มก./มล.<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ภาควิชาสัตว<strong>ศ</strong>าสตร คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมือง<br />

<strong>ศ</strong>รีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การเลี้ยงสุกรกึ่งชีวภา<strong>พ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อประยุกตใชสําหรับเกษตรกรรายยอย<br />

Potential Study of Semi-Bio Pig Production for Small-Scale Farmer Application<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ร<strong>ศ</strong>.ดร.วันดี ทาตระกูล และนายอัษฎาวุธ สนั่นนาม<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การเลี้ยงสุกรของเกษตรกรในปจจุบันกอใหเกิดปญหาทางดานสภา<strong>พ</strong>แวดลอมแกชุมชน ทั้งเรื่อง<br />

น้ําเสีย และกลิ่นเหม็น อีกทั้งตนทุนคาอาหารสุกรในปจจุบันสูงมาก จึงไดหาแนวทางการลดตนทุนคาอาหารลง<br />

และไดนําสาย<strong>พ</strong>ันธุทางการคามาเลี้ยงแบบสุกรกึ่งชีวภา<strong>พ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อหาแนวทางการผลิตสุกรกึ่งชีวภา<strong>พ</strong>ที่เหมาะสม ผลิต<br />

เนื้อสุกรที่มีคุณภา<strong>พ</strong>และปลอดภัย ใชเงินลงทุนต่ํา กลิ่นมูลสุกรมีนอย สุกรสุขภา<strong>พ</strong>ดี นําของเสียที่เกิดการหมักกับ<br />

วัสดุรอง<strong>พ</strong>ื้นคอกมาใชประโยชนเปนวัสดุปลูก<strong>พ</strong>ืชไดดี นําวัสดุ ผล<strong>พ</strong>ลอยได ทางการเกษตร ในทองถิ่น มาใชเปน<br />

อาหารสุกรได อยางมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> และการเลี้ยงสุกรที่ใกลเคียงตามหลักของ GAP<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การเลี้ยงสุกรแบบกึ่งชีวภา<strong>พ</strong> คือ การเลี้ยงสุกรแนวทางเกษตรธรรมชาติโดยเนนการใชจุลินทรีย ใช<br />

วัสดุรอง<strong>พ</strong>ื้นคอกสุกร ทําใหสุกรมีความตานทานโรค อัตราการแลกเนื้อสูง เนื้อแดงมาก มีไขมันนอย ไมมีกลิ่น<br />

เหม็นรบกวน และลดตนทุนการผลิต อีกทั้ง<strong>พ</strong>ื้นคอกยังสามารถนําไปใชเปนปุยชีวภา<strong>พ</strong>และปรับโครงสรางดินใหดี<br />

ขึ้น ผลการทดลองเฉลี่ยของสุกรน้ําหนักตัว 20-100 กิโลกรัม <strong>พ</strong>บวาสุกรแบบกึ่งชีวภา<strong>พ</strong>และแบบทั่วไปมีอัตราการ<br />

เจริญเติบโตเฉลี่ย 0.77 และ 0.82 กิโลกรัมตอวัน ตามลําดับ ไมแตกตางกันทางสถิติ สําหรับอัตราแลกน้ําหนักนั้น<br />

การเลี้ยงแบบกึ่งชีวภา<strong>พ</strong>เฉลี่ยเทากับ 2.64 สวนการเลี้ยงแบบทั่วไปเฉลี่ยเทากับ 2.40 ในดานตนทุนคาอาหารใน<br />

การเลี้ยงตั้งแตน้ําหนัก 20 ถึง 100 กิโลกรัม <strong>พ</strong>บวา การใชอาหารหมักแทนอาหารขนสามารถลดตนทุนคาอาหาร<br />

ลงไดถึง 19.58 บาทตอ 1 กิโลกรัม ซึ่งแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การผลิตผักอินทรียและแนวทางการสรางรูปแบบความสัม<strong>พ</strong>ันธ<br />

ระหวางภาคการผลิต และการตลาดผักอินทรียอยางครบวงจร<br />

The study on the potential of organic vegetable production and<br />

how to make a model for bridging between producer and marketing.<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สถา<strong>พ</strong>ร ซอนสุข<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ความตองการผักอินทรียของผูบริโภคมีปริมาณเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งตลาดในประเท<strong>ศ</strong>และตลาด<br />

ตางประเท<strong>ศ</strong> แตการผลิตผักอินทรียของไทยยังขยายตัวไมทันความตองการของตลาด ทั้งดานชนิดผัก ปริมาณ<br />

ผลผลิต และคุณภา<strong>พ</strong>ของผลผลิต รวมทั้งความตอเนื่องในการสงมอบผลผลิต<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การผลิตผักอินทรียของไทยยังอยูในระยะเริ่มตน แตสามารถผลิตผักอินทรียตอบสนองตลาดทั้งใน<br />

ประเท<strong>ศ</strong>และตลาดตางประเท<strong>ศ</strong>ได แตยังไมสามารถขยายการผลิตไดทันตอการขยายตัวของตลาด ปจจุบันมี<br />

เกษตรกรผูปลูกผักอินทรียกระจายอยูแทบทุกจังหวัด สามารถจําแนกผูปลูกผักอินทรียไดเปน 2 รูปแบบคือ<br />

รูปแบบที่ 1 การผลิตผักอินทรียแบบเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียง และ รูปแบบที่ 2 การผลิตแบบใชการตลาดเปนปจจัยนํา<br />

โดยการสงออกผักอินทรียของไทยในป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2549 มีมูลคาประมาณ 85.4 ลานบาท โดยสงออกไปประเท<strong>ศ</strong>ตางๆ<br />

เชน ญี่ปุน สหภา<strong>พ</strong>ยุโรป ไตหวัน ตะวันออกกลาง สิงคโปร ฮองกง และทุกตลาดมีความตองการผักอินทรียเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น<br />

ทุกป ผูปลูกผักอินทรียมี<strong>พ</strong>ื้นที่การผลิตตั้งแต 1 งาน ถึง 50 ไร สามารถผลิตผักอินทรียเ<strong>พ</strong>ื่อการคาได จํานวน 50<br />

ชนิด สวนใหญสามารถหาปจจัยการผลิตตางๆใน<strong>พ</strong>ื้นที่ได สวนใหญใชแรงงานในครอบครัว จะมีการจางแรงงานคน<br />

ในทองถิ่นมาชวยดานการผลิต โดยตนทุนคาแรงในการผลิตผักอินทรียอยูระหวาง รอยละ39.2-76.8 (เฉลี่ย รอยละ<br />

60.3) ของคาใชจายทั้งหมด ดานการจัดการโรค วิธีการที่นิยมมากที่สุดคือ การปลูก<strong>พ</strong>ืชสลับ ดานการจัดการแมลง<br />

วิธีการที่นิยมมากที่สุดคือ การใชน้ําหมัก ดานการจัดการวัช<strong>พ</strong>ืช วิธีการที่นิยมมากที่สุดคือ การใชแรงงานคน ดาน<br />

การขนสงผลผลิตสงตลาด สวนใหญผูปลูกผักอินทรียเปนผูขนสงผลผลิตสงตลาดดวยตนเอง ผูปลูกผักอินทรีย<br />

แทบทุกคน<strong>พ</strong>อใจตอการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย และไมตองการกลับไปผลิตแบบเกษตรเคมี ตลาดผักอินทรีย<br />

ในประเท<strong>ศ</strong>ไดขยายฐานผูบริโภคจากตลาด ผานชองทางการตลาดตางๆ เชน หางสรร<strong>พ</strong>สินคาตางๆ รานอาหาร<br />

ภัตตาคาร โรง<strong>พ</strong>ยาบาล โรงเรียน สถานบริการดานสุขภา<strong>พ</strong> (สปา) รวมทั้งชองทางการสงตรงถึงบาน จากการ<br />

สั่งซื้อทาง Internet การเปนสมาชิกตามแนวทางของ CSA (Community Supported Agriculture) เปนตน และยัง<br />

สามารถสรางตลาดเฉ<strong>พ</strong>าะของตนเอง เชน ตลาดนัดในทองถิ่น (ตลาดสีเขียว) การจําหนายผลิตผลในฟารม การจัด<br />

Farm Visit หรือ Farm Tour การจัดสงใหผูสนใจหรือสมาชิกในทองถิ่น เปนตน และสนใจที่จะขยายตลาดใน<br />

ทองถิ่นและในประเท<strong>ศ</strong> มากกวาการสงออกและตลาดสงออกที่สนใจจะเปนตลาดเกษตรอินทรียใหมที่อยูใกล เชน<br />

สิงคโปร มาเลเซีย ตะวันออกกลาง เปนตน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- นักวิจัยอิสระและหัวหนาโครงการเกษตรเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ืชอาหารสัตวอินทรียในนาราง จังหวัดสุราษฎรธานี<br />

The Production of Organic Forage Seeds in Abandoned Rice Fields<br />

in Suratthani Province<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สุชาติ เชิงทอง<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

เนื่องจากการทํานาในจังหวัดสุราษฎรธานี ไดเกิดปญหาผลผลิตต่ํา แรงงานหายาก ตนทุนการผลิตสูง<br />

ทําใหเกิดนารางเปนจํานวนมากกวา 100,000 ไร สมควรหาแนวทางใชประโยชน โดยการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ืช<br />

อาหารสัตวอินทรีย โดยใชปุยอินทรียที่ผลิตในทองถิ่น เปนการใชทรั<strong>พ</strong>ยากรนารางใหเปนประโยชน เ<strong>พ</strong>ิ่มขีด<br />

ความสามารถในการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ืชอาหารสัตวอินทรีย และตอบสนองตอนโยบายเกษตรอินทรียของประเท<strong>ศ</strong><br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

หญาอาหารสัตวที่ปลูกในระบบอินทรียตามแผนการทดลองมีการเจริญเติบโตวัดจากความสูง และจํานวน<br />

หนอ/กอ ไมแตกตางจากหญาอาหารสัตวที่ปลูกโดยใชปุยเคมี นอกจากนี้ผลผลิตน้ําหนักสด คุณคาทางอาหาร<br />

ธาตุอาหารในใบหญาอาหารสัตวที่ใชปุยอินทรียยังมีน้ําหนัก และคุณคาทางอาหารตลอดจนธาตุอาหาร ไมแตกตาง<br />

จากแปลงที่ปลูกโดยใชปุยเคมี ซึ่งยืนยันถึงความเปนไปไดของระบบเกษตรอินทรีย การผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ืช<br />

อาหารสัตวประสบผลสําเร็จเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>ันธุเดียวคือ หญา<strong>พ</strong>ลิแคทูลัม สําหรับ<strong>พ</strong>ืชอาหารสัตวอีก 3 ชนิดนั้น มี<br />

สภา<strong>พ</strong>แวดลอมที่ไมเหมาะสมตอการออกดอก อยางไรก็ตามปริมาณผลผลิตเมล็ดและคุณภา<strong>พ</strong>เมล็ดของหญา<strong>พ</strong>ลิ<br />

แคทูลัมเมื่อเปรียบเทียบระหวาง การใชปุยเคมี และปุยอินทรียแลว<strong>พ</strong>บวาไมแตกตางกันทางสถิติ เมื่อวิเคราะห<br />

ตนทุนผลตอบแทนทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ <strong>พ</strong>บวยังไมคุมทุนในการเปลี่ยนแปลงจากนารางเปนการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ืชอาหารสัตว<br />

อินทรีย เนื่องจากมีผลผลิตเมล็ดต่ํา ซึ่งอาจเปนผลมาจากการออกดอกใหเมล็ดในชวงฤดูฝน หรือดินมีความ<br />

สมบูรณต่ําตองอา<strong>ศ</strong>ัยเวลามากกวานี้ในการฟนฟูดินใหมีสภา<strong>พ</strong>ดีขึ้น<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิทยาเขตสุราษฎรธาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร<br />

31 หมู 6 ตําบลมะขามเตี้ย อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี 84100


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : น้ําผึ้งอินทรียทางการแ<strong>พ</strong>ทย<br />

(Organic Medical Honey)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท สยามเมียล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สืบเนื่องจากผูเลี้ยงผึ้งในปจจุบันตองประสบปญหาดานการผลิต การตลาด และขาดการจัดการที่ดี เชน<br />

ปญหาการใชสารเคมีกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชในไรสวนในชวงฤดูเ<strong>พ</strong>าะปลูก ทําใหผูเลี้ยงที่วางรังผึ้งอยูใกลบริเวณนั้นจะไดรับ<br />

ความเสียหายจากสารเคมี การติดฉลากที่แสดงการรับรองมาตรฐานของสินคาในกลุมของเกษตรกรผูผลิตน้ําผึ้งยัง<br />

ไมแ<strong>พ</strong>รหลายเทาที่ควร ทําใหผูบริโภคไมมั่นใจในคุณภา<strong>พ</strong>สินคา ซึ่งเปนอุปสรรคสําคัญตอการขยายตลาดสงออก<br />

น้ําผึ้ง เปนตน การผลิตน้ําผึ้งอินทรียนั้นอา<strong>ศ</strong>ัยหลายปจจัยที่สําคัญ ที่สามารถแกปญหาดังกลาวเ<strong>พ</strong>ื่อผลิตน้ําผึ้งที่มี<br />

คุณภา<strong>พ</strong>รสชาติดี โดยปรา<strong>ศ</strong>จากสาร<strong>พ</strong>ิษหรือสิ่งปนเปอน ตลอดจนมีคุณสมบัติทางการแ<strong>พ</strong>ทยจากดอกไมที่นํามา<br />

เปนอาหารเลี้ยงผึ้งดวย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเท<strong>ศ</strong>สําหรับการผลิตน้ําผึ้งอินทรีย<br />

ทางการแ<strong>พ</strong>ทย จากดอกสาบเสือ โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และ<br />

สอดคลองกับหลักการมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการแ<strong>พ</strong>ทยดาน<br />

การตานอนุมูลอิสระ (anti-oxidant) ได<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ และมีผลิตภัณฑตนแบบแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- บ.สยามเมียล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 86 ถ.เชียงใหม-ลํา<strong>พ</strong>ูน ต.วัดเกตุ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50000<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน โครงการเลี้ยงปลาเบญจ<strong>พ</strong>รรณอินทรีย<br />

Miscellaneous organic fish farming<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน วิทยาลัยชุมชนยโสธร สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน<br />

สํานักงานคณะกรรมการการอุดม<strong>ศ</strong>ึกษา กระทรวง<strong>ศ</strong>ึกษาธิการ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สืบเนื่องจากขอมูลการวิจัยเรื่อง “<strong>พ</strong>ลวัตรและการใชประโยชนจากปลาในจังหวัดยโสธร” โดยมี ผ<strong>ศ</strong>.<br />

น.ส<strong>พ</strong>.ดร.วร<strong>พ</strong>ล เองวานิช อาจารยประจํามหาวิทยาลัยมหาสารคาม เ<strong>พ</strong>ื่อใหไดขอมูลภา<strong>พ</strong>รวมปริมาณการผลิตและ<br />

ใชประโยชนจากปลาในจังหวัดยโสธร และเ<strong>พ</strong>ื่อหาแนวทางชวยเหลือและสงเสริมอาชี<strong>พ</strong>ประมงแกเกษตรกรอยาง<br />

เหมาะสม จากขอมูลการสํารวจเบื้องตน<strong>พ</strong>บวา <strong>พ</strong>ื้นที่จังหวัดยโสธรมีลูทางและ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การทําประมงสูง เ<strong>พ</strong>ียงแต<br />

ตองมีการวางแผนการจัดการปลายทางใหดี และยัง<strong>พ</strong>บวาจังหวัดยโสธรมีการนําเขาปลาเ<strong>พ</strong>ื่อแปรรูปเปนอาหาร<br />

เชน ปลาสม ปลารา เปนตน ในแตละเดือนจํานวนหลายตัน ซึ่งแหลงที่มาของปลาเหลานี้สวนมากนําเขามาจาก<br />

จังหวัดทางภาคกลางของประเท<strong>ศ</strong> การแสวงหาแนวทางเลี้ยงปลาในกระชังและในบอดินเ<strong>พ</strong>ื่อจําหนายจึงนาจะมี<br />

อนาคตที่สดใส<strong>พ</strong>อสมควร โครงการเลี้ยงปลาเบญจ<strong>พ</strong>รรณอินทรีย วิทยาลัยชุมชนยโสธร มีวัตถุประสงคหลักเ<strong>พ</strong>ื่อ<br />

สงเสริมใหเกษตรกรใน<strong>พ</strong>ื้นที่เกษตรอินทรียเลี้ยงปลาเบญจ<strong>พ</strong>รรณอินทรียเ<strong>พ</strong>ื่อบริโภคในครัวเรือนและนําปลาเหลานี้<br />

ออกสูตลาดของจังหวัดเ<strong>พ</strong>ื่อแปรรูปเปนอาหารที่ปลอดภัยประเภทตางๆ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการเลี้ยงปลาเบญจ<strong>พ</strong>รรณอินทรียนี้นับเปนนวัตกรรมการผลิตปลาที่ปลอดภัยใน<strong>พ</strong>ื้นที่ตําบลนาโส<br />

อําเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ซึ่งเปน<strong>พ</strong>ื้นที่ที่ทําเกษตรอินทรียมาหลายสิบป โดยเริ่มจากการหาและสรางเครือขาย<br />

เกษตรกรผูสนใจเลี้ยงปลา การกําหนดมาตรฐานการเลี้ยงปลา และการจัดการบอแบบธรรมชาติ เนนการใชวัสดุ<br />

ธรรมชาติที่สามารถหาไดในทองถิ่นมาเปนอาหารของปลา เมื่อเสร็จสิ้นโครงการคาดวาจะไดผลผลิตปลาที่<br />

ปลอดภัยตอการบริโภคและจําหนายภายในจังหวัด<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

วิทยาลัยชุมชนยโสธร ถ.สุวรรณภูมิ-ยโสธร ต.สําราญ อ.เมือง จ.ยโสธร 35000


รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย<br />

ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong><br />

กลุมที่ 4: แปรรูป


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : ผลิตภัณฑทําความสะอาดและดูแลผิวอินทรียสําหรับเด็กจากน้ํามันหอมระเหยที่<br />

สกัดดวยวิธีของเหลวยิ่งยวด<br />

(Organic Baby Care Products from Essential Oil Extracted by Supercritical<br />

Fluid Technique)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท เชื่อมสมบัติ จํากัด และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

จากกระแสของตลาดของเครื่องสําอางอินทรียและเครื่องสําอางจากธรรมชาติทั่วโลกในปจจุบัน<strong>พ</strong>บวามี<br />

มูลคาสูงถึงมูลคา 7 <strong>พ</strong>ันลานเหรียญดอลลารสหรัฐ และมีอัตราการขยายตัว รอยละ 15-20 ตอป โดยตลาดหลักอยู<br />

ในประเท<strong>ศ</strong>สหรัฐอเมริกา (4,500 ลานเหรียญ) และในสหภา<strong>พ</strong>ยุโรป (1,000 ลานเหรียญ) ดังนั้น สนช. จึงริเริ่ม<br />

สงเสริมธุรกิจเกษตรอินทรียในกลุมเครื่องสําอางมากขึ้นเ<strong>พ</strong>ื่อใหสอดคลองกับ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของตลาดโลก นอกจากนี้<br />

เมื่อวิเคราะหผูผลิตในประเท<strong>ศ</strong> <strong>พ</strong>บวายังไมมีกลุมผลิตภัณฑอินทรียสําหรับเด็ก (organic baby products) มี<br />

เ<strong>พ</strong>ียงแตผลิตภัณฑเด็กทั่วๆไปที่ใชสวนผสมมาจากสารเคมี จึงเปนโอกาสที่ดีในการ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑอินทรีย<br />

สําหรับเด็กเ<strong>พ</strong>ื่อขยายผลตราสินคาสูตลาดในตางประเท<strong>ศ</strong> โดยนํานวัตกรรมดานการ<strong>พ</strong>ัฒนาสูตรจากผูเชี่ยวชาญใน<br />

กลุมเครือขายนวัตกรรมผลิตภัณฑธรรมชาติ ใหเปนไปตามมาตรฐานเครื่องสําอางอินทรีย และอา<strong>ศ</strong>ัยกรรมวิธีการ<br />

สกัดน้ํามันหอมระเหยดวยวิธีของเหลวยิ่งยวด (supercritical fluid extraction) ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่นาจะเหมาะสม<br />

กับการสกัดน้ํามันหอมระเหยเ<strong>พ</strong>ื่อนํามาผลิตผลิตภัณฑดูแลผิวและรางกายอินทรียสําหรับเด็ก เนื่องจากปรา<strong>ศ</strong>จาก<br />

สารเคมีในกระบวนการสกัด<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมกระบวนการผลิตระดับประเท<strong>ศ</strong>สําหรับการผลิตสูตรผลิตภัณฑทําความ<br />

สะอาดและดูแลผิวอินทรียสําหรับเด็กจากน้ํามันหอมระเหยที่ผานกระบวนสกัดดวยคารบอนไดออกไซดโดยวิธี<br />

ของเหลวยิ่งยวด (supercritical CO 2 fluid extraction) ทําใหน้ํามันหอมระเหยที่ไดมีคุณภา<strong>พ</strong>สูง ปลอดภัยจากสาร<br />

ตกคาง และสอดคลองกับมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล<br />

4. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

- บริษัท เชื่อมสมบัติ จํากัด 14 ม.9 ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : ซอส<strong>พ</strong>ริกอินทรียที่มีไลโค<strong>พ</strong>ีนสูง<br />

(Organic Chili Sauce Enriched With Lycopene)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท ชิตา ออรแกนิค ฟูด จํากัด และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สืบเนื่องจากปจจุบัน ผูบริโภคใหความสําคัญและใสใจสุขภา<strong>พ</strong>มากขึ้น อาหารอินทรียนับเปนทางเลือก<br />

หนึ่งที่จะชวยใหผูบริโภคสามารถดูแลสุขภา<strong>พ</strong>ของตนเองไดโดยลดความเสี่ยงจากการไดรับผลกระทบจากสารเคมี<br />

ตางๆ ซอสหรือเครื่องจิ้มจัดเปนผลิตภัณฑอาหารชนิดหนึ่งที่มีบทบาทอยางมากตอรสชาติของอาหาร อนึ่ง<br />

ปจจุบันมีซอสและเครื่องจิ้มหลากหลายชนิด ซึ่งมักเนนเฉ<strong>พ</strong>าะเรื่องรสชาติและสวนผสมที่แตกตางและหลากหลาย<br />

แตไดละเลยการสรางผลิตภัณฑที่เปนประโยชนใหแกผูบริโภค ดังนั้น สนช. จึงไดสรางความรวมมือกับเมธีสงเสริม<br />

นวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย นักวิชาการจากภาควิชา<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑ คณะอุตสาหกรรมเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม และผูประกอบการ ในการสรางมูลคาเ<strong>พ</strong>ิ่มใหกับผลิตภัณฑ<strong>พ</strong>ริกอินทรียอยางครบวงจร ตาม<br />

แนวทางแผน<strong>พ</strong>ัฒนาเกษตรอินทรียแหงชาติ ในสวนของยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรการเสริมสรางและจัดการองคความรูและ<br />

นวัตกรรม และจัดเปนหนึ่งในโครงการนวัตกรรมเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรดานธุรกิจเกษตรอินทรียของ สนช.<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเท<strong>ศ</strong>ดานผลิตภัณฑซอส<strong>พ</strong>ริกอินทรีย ที่มีปริมาณไลโค<strong>พ</strong>ีนสูงจาก<br />

สวนผสมที่มาจากเยื่อหุมเมล็ดของฟกขาวอินทรีย ซึ่งสวนผสมที่ใชผลิตซอส<strong>พ</strong>ริกทั้งหมด ตลอดจนกระบวนการ<br />

ผลิตไดรับการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล<br />

4. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

- บริษัท ชิตา ออรแกนิค ฟูด จํากัด 299 หมู 7 ต.นครเจดีย อ.ปาซาง จ.ลํา<strong>พ</strong>ูน<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน น้ําสมสายชูหมักจากเสาวรส<br />

Fruit Vinegar Drink From Passion Fruit<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการโนนดินแดง<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

เปนผลิตภัณฑที่ใชเสาวรส นํามาผานกระบวนการผลิต โดยนําเทคโนโลยีเมมเบรนมาใชในการผลิต<br />

ทําใหปรา<strong>ศ</strong>จากสารเคมีใดๆ (All Natural) ทําใหไดน้ําสมสายชูที่ปรา<strong>ศ</strong>จากสารปนเปอน มากไปดวยคุณคาทาง<br />

โภชนาการ ดีตอสุขภา<strong>พ</strong>สืบเนื่องจากใชในการปรุงอาหารที่เนนคุณภา<strong>พ</strong>สูง มีกลิ่นหอมธรรมชาติ เหมาะกับการทํา<br />

น้ําจิ้มและน้ําสลัด และยังมีผูที่สนใจในสุขภา<strong>พ</strong>ใชผสมน้ําดื่ม เ<strong>พ</strong>ื่อปรับสมดุลและกําจัดสาร<strong>พ</strong>ิษในรางกาย สรางภูมิ<br />

ตานทานตานเชื้อโรค ปวดขอ โรคเกาต ชวยระบบขับถาย และชวยกําจัดไขมันสวนเกิน<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

เปนนวัตกรรมการผลิตน้ําสมสายชูหมักจากเสาวรส โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอน<br />

ตลอดขั้นตอนการผลิต ผลิตภัณฑที่ไดสามารถนํามาผลิตเปนผลิตภัณฑ Fruit Vinegar Drink ซึ่งเปนเครื่องดื่มที่<br />

ดื่มแลวจะรูสึกกระปรี้กระเปรา ใหความสดชื่น และมีประโยชนตอสุขภา<strong>พ</strong>บุคคลทั่วไปที่รักสุขภา<strong>พ</strong><br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการโนนดินแดง<br />

เลขที่ 145 หมู 9 ตําบลโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย รหัสไปรษณีย 31260 โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท 0-44-6-6202


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของ ชุมชนโรงเรียน ตํารวจตระเวน<br />

ชายแดน<br />

Food Processing and Organic Food Preservation Produced by the Community of<br />

Border Patrol Police School<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นายปญญเดช <strong>พ</strong>ันธุวัฒน<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สมเด็จ<strong>พ</strong>ระเท<strong>พ</strong>รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดทรงมี<strong>พ</strong>ระราชดําริที่สอดคลองกับปญหาดังกลาว<br />

เกี่ยวกับการ<strong>พ</strong>ัฒนาเด็กและเยาวชน ดวยทรง<strong>พ</strong>ระเมตตาที่จะชวยเหลือเด็กและเยาวชนที่ดอยโอกาส หรืออยูในถิ่น<br />

ทุรกันดารใหมีความเปนอยูที่ดีขึ้น ทรงเล็งเห็นวาการ<strong>พ</strong>ัฒนาจะนําไปสูการเจริญเติบโต และ<strong>พ</strong>ัฒนาการของเด็กทั้ง<br />

รางกายสติปญญาและอารมณ ไดอยางเต็ม<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ทําใหเด็กเติบโตอยางคนมีคุณภา<strong>พ</strong>เปนกําลังที่จะชวย<strong>พ</strong>ัฒนา<br />

ชุมชนของตนเองและประเท<strong>ศ</strong>ชาติตอไป ทรงเริ่มตนจากการดําเนินงานในโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน โดย<br />

มุงเนนใหนักเรียนครูและผูปกครองรวมทําการเกษตรในโรงเรียน และนําผลผลิต ที่ไดมาประกอบเปนอาหาร<br />

กลางวัน ซึ่งนอกจากชวยแกปญหาการขาดแคลนอาหารกลางวันแลว ยังทําใหนักเรียนไดรับความรูดาน<br />

โภชนาการและดานการเกษตรแผนใหมที่สามารถนําไปใชประกอบเปนอาชี<strong>พ</strong>ตอไป ทั้งนี้ โดยใหเด็กนักเรียนมี<br />

อาหารกลางวันที่มีคุณคาทางโภชนาการและไดบริโภคตลอดชวงการ<strong>ศ</strong>ึกษา<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการวิจัยนี้จัดทําขึ้นเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>ศ</strong>ึกษาการแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของชุมชนโรงเรียนตํารวจ<br />

ตระเวนชายแดน เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>ศ</strong>ึกษาถึงความรูความเขาใจในการการแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของชุมชน<br />

โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน <strong>ศ</strong>ึกษาการมีสวนรวมตอการแปรรูป การถนอมอาหารเกษตรอินทรียของชุมชน<br />

โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน <strong>ศ</strong>ึกษาถึงประโยชนในการแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียตอการ<strong>พ</strong>ัฒนา<br />

คุณภา<strong>พ</strong>ชีวิตของเด็กและเยาวชนชุมชนโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน และ<strong>ศ</strong>ึกษาปญหาอุปสรรคและ<br />

ขอเสนอแนะเ<strong>พ</strong>ิ่มเติม ในการแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของชุมชนโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

มีผลผลิตของการแปรรูปแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

วิทยาเขตสุ<strong>พ</strong>รรณบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต<br />

57 ม. 2 ถ. สุ<strong>พ</strong>รรณบุรี-ปาโมก ต.โคกโคเฒา อ.เมือง จ.สุ<strong>พ</strong>รรณบุรี 72000


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน โครงการการถายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑอาหารและเครื่องดื่มเกษตร<br />

อินทรีย<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ผ<strong>ศ</strong>.ลักขณา จาตกานนท อ.นอมจิตต สุธีบุตร อ.เก<strong>ศ</strong>รินทร เ<strong>พ</strong>็ชรรัตน และอ.เชาวลิต<br />

อุปฐาก คณะเทคโนโลยีคหกรรม<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล<strong>พ</strong>ระนคร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

เมื่อ<strong>พ</strong>ืชผักเกษตรอินทรียมีจํานวนมากขึ้น สงผลใหมีความตองการในการแปรรูป<strong>พ</strong>ืชผลทางการเกษตร<br />

ผลผลิตสวนใหญของชุมชน <strong>ศ</strong>ูนยคลินิกเทคโนโลยีโชติเวช จึงมีแนวคิดในการดําเนินการถายทอดเทคโนโลยีในการ<br />

แปรรูปอาหารและเครื่องดื่มเกษตรอินทรียที่เกี่ยวเนื่องกับผลผลิตในทองถิ่น จํานวน 5 หลักสูตร ประกอบดวย 1.<br />

การทําเสน<strong>พ</strong>าสตาจากขาว 2. การประกอบอาหารจากเสน<strong>พ</strong>าสตาจากขาว 3. เครื่องดื่มแบบ<strong>พ</strong>าสเจอไรสที่ผลิต<br />

จากมะมวง 4. ฮอยจอที่ใชขาวโ<strong>พ</strong>ดเปนวัตถุดิบหลัก และ 5. ธัญ<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>รที่มีในทองถิ่น<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

กลุมที่ 1 ผูเขารับการอบรมทุกคนสามารถนําความรูไปใชประโยชนได คิดเปนรอยละ100 และจากการ<br />

ประเมินผลความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจของผูเขารวมโครงการที่มีตอการจัดโครงการการถายทอดเทคโนโลยีการแปรรูป<br />

ผลิตภัณฑอาหารและเครื่องดื่มเกษตรอินทรีย <strong>พ</strong>บวา ผูเขารวมโครงการมีความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจ อยูในระดับ มากที่สุด<br />

รอยละ 78.33 ระดับมาก รอยละ 14.82 และระดับปานกลาง รอยละ 6.85<br />

กลุมที่ 2 ผูเขารับการอบรมทุกคนสามารถนําความรูไปใชประโยชนได คิดเปนรอยละ100 และมีรายได<br />

เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น 1,001-2,000 บาท คิดเปนรอยละ 50.00 และจากการประเมินผลความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจของผูเขารวมโครงการที่มี<br />

ตอการจัดโครงการการถายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑอาหารและเครื่องดื่มเกษตรอินทรีย <strong>พ</strong>บวา<br />

ผูเขารวมโครงการมีความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจ อยูในระดับ มากที่สุด รอยละ 74.63 ระดับมาก รอยละ 19.81 และระดับ<br />

ปานกลาง รอยละ 5.86<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้นและจําหนายเชิง<strong>พ</strong>าณิชยแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

คณะเทคโนโลยีคหกรรม<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล<strong>พ</strong>ระนคร


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การปรับปรุงคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑปลาดุกราดวยการเติมสมุนไ<strong>พ</strong>รไทย<br />

Improvement of the quality of dry-cured catfish product by adding Thai herbs<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นางสาวเกษวดี คง<strong>พ</strong>รหม นางสาวรัตนาภรณ เหลือรักษ และอาจารยถาวร จันทโชติ<br />

คณะเทคโนโลยีและการ<strong>พ</strong>ัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปลาดุกราเปนสินคา<strong>พ</strong>ื้นเมืองที่มีชื่อเสียงของจังหวัดในภาคใต การผลิตปลาดุกรามีแหลงที่สําคัญไดแก<br />

กลุมเกษตรกรในอําเภอระโนด จังหวัดสงขลา กลุมเกษตรกรใน<strong>พ</strong>ื้นที่ลุมน้ําปาก<strong>พ</strong>นัง จังหวัดนคร<strong>ศ</strong>รีธรรมราช<br />

และกลุมเกษตรกรรอบๆ ทะเลสาบสงขลาในบริเวณทะเลนอย อําเภอควนขนุนจังหวัด<strong>พ</strong>ัทลุง การ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑ<br />

ปลาดุกราในรูปอินทรียคือการ<strong>พ</strong>ยายามยังยั้งหรือชะลอกระบวนการออกซิเดชันของกรดไขมันในผลิตภัณฑปลาดุก<br />

รา ซึ่งเปนสาเหตุที่กอใหเกิดกลืนหืนและไม<strong>พ</strong>ึงประสงคของผูบริโภคโดยการใชสมุนไ<strong>พ</strong>รเติมลงไปในชวงที่มีการ<br />

แปรรูป สาร polyphenolics ในสมุนไ<strong>พ</strong>รอาจมีผลยังการเนาเสียในผลิตภัณฑปลาดุกราได ชวยปรับปรุงกลิ่นรส<br />

และเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑปลาดุกราไดดวย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ดําเนินการ<strong>ศ</strong>ึกษาเกี่ยวกับการใชสมุนไ<strong>พ</strong>ร 5 ชนิดไดแก ขิง ขา ตะไคร กระเทียม และใบกระเ<strong>พ</strong>รา<br />

นําไปบดผสมในขั้นตอนการทําปลาดุกรา ทําการหมักตามระยะเวลา 0 3 7 15 30 และ 45 วัน<br />

ตรวจสอบคุณสมบัติการเปนสารตานออกซิเดชันของสมุนไ<strong>พ</strong>ร Total phenolics content, radical<br />

scavenging activity, reducing power และ chelating activity<br />

ทําการวิเคราะหคุณภา<strong>พ</strong>ปลาดุกรา<strong>พ</strong>บวาโดยคุณสมบัติของขิงและตะไครมีความสามารถในการเปนสาร<br />

ตานอนุมูลอิสระไดดีที่สุด<br />

ตรวจคุณภา<strong>พ</strong>ของปลาดุกรา ปริมาณความชื้น โปรตีน ไขมัน เถา ความเปนกรดดาง คาวอเตอรแอติวิตี้<br />

คะแนนการประเมินคุณภา<strong>พ</strong>ดานประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑปลาดุกราอยูในระดับที่ยอมรับไดตลอดระยะการเก็บ<br />

รักษานาน 30 วัน แตเมื่อครบระยะเวลาการเก็บรักษานาน 45 วัน<strong>พ</strong>บวาผลิตภัณฑปลาดุกราที่คลุกสมุนไ<strong>พ</strong>รเกิด<br />

การเสื่อมเสียเนื่องจากเชื้อรา<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ดําเนินโครงการเสร็จสิ้นแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

คณะเทคโนโลยีและการ<strong>พ</strong>ัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต<strong>พ</strong>ัทลุง 222 หมู 2 ต. บาน<strong>พ</strong>ราว อ. ปา<br />

<strong>พ</strong>ะยอม จ.<strong>พ</strong>ัทลุง 93110


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑโจกขาวเจาหอมดําอินทรียผสมกึ่งสําเร็จรูป<br />

Development of Instant Mixed Organic Black Rice Porridge<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน อมรรัตน สีสุกอง กิตติ กิตติสุวรรณ และ<strong>พ</strong>ันธประภา ใชประ<strong>พ</strong>ันธกูล<br />

คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

วิสาหกิจชุมชนจักสานบานดอนลานสรางสรร จังหวัดสุ<strong>พ</strong>รรณบุรี ปจจุบันมีการปลูกขาวหอมมะลิและ<br />

ขาว<strong>พ</strong>ันธุอื่น ๆ เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น โดยนาขาวทั้งหมดยึดแนว<strong>พ</strong>ระราชดําริ “เกษตรอินทรีย” หนึ่งใน<strong>พ</strong>ันธุขาวที่กลุมภูมิใจคือ<br />

“ขาวเจาหอมดํา” <strong>พ</strong>ันธุขาวที่เกิดจากการผสมขาม<strong>พ</strong>ันธุระหวางขาวหอมมะลิและขาวสีดํา<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ื้นเมืองของ<br />

ภาคเหนือ ซึ่งขาว<strong>พ</strong>ันธุดังกลาวอุดมดวยสารตานอนุมูลอิสระ วิตามินอี วิตามินบีคอมเ<strong>พ</strong>ล็กซ แอนโทไซยานิน<br />

และสารสําคัญตอสุขภา<strong>พ</strong>อีกหลายชนิด ในกระบวนการสีขาว จะมีขาวหักบางสวนเกิดขึ้น การเ<strong>พ</strong>ิ่มมูลคาขาวหัก<br />

ของขาวเจาหอมดําอินทรียใหเปนผลิตภัณฑที่มีคุณคาเปนเรื่องที่นาสนใจ ดังนั้นนักวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฎ<br />

สวนดุสิต จึงไดรวมในโครงการ IPUS1 (2550) ในการ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยการเ<strong>พ</strong>ิ่มการใชประโยชนจากสวนขาวหักของขาว<br />

เจาหอมดําอินทรีย โดยการ<strong>พ</strong>ัฒนาเปนผลิตภัณฑโจกผสมกึ่งสําเร็จรูป โดยมี 2 สูตร ไดแก สูตรโจกกึ่งสําเร็จรูป<br />

ผสมเห็ดหอมอบแหง และสูตรโจกกึ่งสําเร็จรูปผสมสาหรายไกอบแหง งานวิจัยนี้ไดรับทุนอุดหนุนจาก สํานักงาน<br />

กองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝายอุตสาหกรรม โครงการโครงงานอุตสาหกรรมสําหรับปริญญาตรี ประจําป 2550<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑโจกขาวเจาหอมดําอินทรียผสมกึ่งสําเร็จรูป มีวัตถุประสงคเ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มมูลคาและเ<strong>พ</strong>ิ่ม<br />

การใชประโยชนจากสวนขาวหักของขาวเจาหอมดําอินทรีย จากการ<strong>ศ</strong>ึกษาหาอุณหภูมิการอบแหงของขาวเจา<br />

หอมดําอินทรียโดยใชตูอบลมรอนแบบถาด <strong>พ</strong>บวาอุณหภูมิในการอบแหงที่อุณหภูมิ 60 อง<strong>ศ</strong>าเซลเซียสเปน<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสม ซึ่งเวลาที่ใชอบแหง 8 ชั่วโมง ได<strong>ศ</strong>ึกษาการคัดเลือกสูตรผงปรุงรส 3 สูตร และ<strong>ศ</strong>ึกษาการ<br />

<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑโจกกึ่งสําเร็จรูป เปน 2 สูตร โดยสูตรที่ 1 สูตรผสมเห็ดหอม <strong>พ</strong>บวาผูบริโภคยอมรับสูตรที่ผสม<br />

เห็ดหอมที่อัตราสวนรอยละ 2 สูตรที่ 2 สูตรผสมสาหรายไก <strong>พ</strong>บวาผูบริโภคยอมรับสูตรที่ผสมสาหรายไกที่<br />

อัตราสวนรอยละ 2 และได<strong>ศ</strong>ึกษาการวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของโจกขาวเจาหอมดําอินทรียที่ไดทั้ง 2 สูตร<br />

และ<strong>ศ</strong>ึกษาการเปลี่ยนแปลงระหวางการเก็บรักษา<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 228-228/1-3<br />

เขตบาง<strong>พ</strong>ลัด กทม. 10700<br />

ถ.สิรินธร แขวงบาง<strong>พ</strong>ลัด


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑเครื่องดื่มจากขาวเจาหอมดําอินทรีย<br />

The Development Of Rice Drinking Products From Organic Black Rice<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน อมรรัตน สีสุกอง สุกัญญา <strong>ศ</strong>รีทองกูล และ อินทิรา สิงหสุวรรณ<br />

คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

วิสาหกิจชุมชนจักสานบานดอนลานสรางสรร จังหวัดสุ<strong>พ</strong>รรณบุรี ปจจุบันมีการปลูกขาวหอมมะลิและ<br />

ขาว<strong>พ</strong>ันธุอื่น ๆ เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น โดยนาขาวทั้งหมดยึดแนว<strong>พ</strong>ระราชดําริ “เกษตรอินทรีย” หนึ่งใน<strong>พ</strong>ันธุขาวที่กลุมภูมิใจคือ<br />

“ขาวเจาหอมดํา” <strong>พ</strong>ันธุขาวที่เกิดจากการผสมขาม<strong>พ</strong>ันธุระหวางขาวหอมมะลิและขาวสีดํา<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ื้นเมืองของ<br />

ภาคเหนือ ซึ่งขาว<strong>พ</strong>ันธุดังกลาวอุดมดวยสารตานอนุมูลอิสระ วิตามินอี วิตามินบีคอมเ<strong>พ</strong>ล็กซ แอนโทไซยานิน<br />

และสารสําคัญตอสุขภา<strong>พ</strong>อีกหลายชนิด การเ<strong>พ</strong>ิ่มการใชประโยชนของขาวหอมดําอินทรีย โดยการ<strong>พ</strong>ัฒนาเปน<br />

ผลิตภัณฑเครื่องดื่ม เปนผลิตภัณฑที่มีคุณคาทางโภชนาการ มีความหลากหลาย สามารถผลิตไดงาย เปนเรื่องที่<br />

นาสนใจ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัย ดังนั้นนักวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จึงไดรวมในโครงการ IPUS1 (2550) ใน<br />

การ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยการแปรรูป “ขาวเจาหอมดําอินทรีย” ไปเปนผลิตภัณฑเครื่องดื่มจากขาวเจาหอมดําอินทรีย เ<strong>พ</strong>ื่อให<br />

เปนเครื่องดื่มเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>และสามารถ<strong>พ</strong>ัฒนาการผลิตในเชิง<strong>พ</strong>าณิชยได<br />

งานวิจัยนี้ไดรับทุนอุดหนุนจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝายอุตสาหกรรม โครงการโครงงาน<br />

อุตสาหกรรมสําหรับปริญญาตรี ประจําป 2550<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การ<strong>ศ</strong>ึกษาการ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑเครื่องดื่มจากขาวเจาหอมดําอินทรียเ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มความหลากหลายใหกับ<br />

ผลิตภัณฑโดยได<strong>ศ</strong>ึกษาสูตร วิธีการผลิตเครื่องดื่มจากขาวเจาหอมดําอินทรีย <strong>ศ</strong>ึกษาสูตรผสมน้ําขาวโ<strong>พ</strong>ดโดย<strong>ศ</strong>ึกษา<br />

อัตราสวนที่เหมาะสม <strong>ศ</strong>ึกษาปริมาณน้ําตาลที่เหมาะสม และได<strong>ศ</strong>ึกษาสูตรเครื่องดื่มจากขาวเจาหอมดําอินทรียที่<br />

ผสมวุนสวรรคสี ซึ่งวุนสวรรคสีไดจากการหมักวุนสวรรคดวย Monascus purpureus เ<strong>พ</strong>ื่อเปนการเ<strong>พ</strong>ิ่มปริมาณ<br />

วิตามินและเสนใยในผลิตภัณฑเครื่องดื่มใหสูงขึ้น โดย<strong>ศ</strong>ึกษาอัตราสวนที่เหมาะสม <strong>ศ</strong>ึกษาองคประกอบทางเคมีของ<br />

ผลิตภัณฑที่ไดและ<strong>ศ</strong>ึกษาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 228-228/1-3<br />

ขตบาง<strong>พ</strong>ลัด กทม. 10700<br />

ถ.สิรินธร แขวงบาง<strong>พ</strong>ลัด


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยดเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong><br />

Product Development of Sangyod Rice Health Cookies<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นางสาวณัฐวรรณ ชฎากาณจน นางสาวมณฑิรา จันทวง<strong>ศ</strong><br />

อาจารย ดร. อมรรัตน ถนนแกว<br />

คณะเทคโนโลยีและการ<strong>พ</strong>ัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ขาวสังขหยดเปน<strong>พ</strong>ันธุขาว<strong>พ</strong>ื้นเมืองของจังหวัด<strong>พ</strong>ัทลุง เมล็ดขาวกลองมีสีแดงเขม นิยมบริโภคในรูปแบบ<br />

ขาวกลองและขาวซอมมือ ขาวสังขหยดเปนขาวที่มีคุณคาทางโภชนาการสูง ไดแก มีปริมาณไนอะซินสูง ชวยใน<br />

การทํางานของระบบประสาทและผิวหนัง นอกจากนี้ยังมีวิตามินบี 1 ชวยปองกันโรคเหน็บชา วิตามินบี 2 ชวย<br />

ปองกันโรคปากนกกระจอก รวมทั้งมีแรธาตุสําคัญคือ แคลเซียม และฟอสฟอรัส ชวยปองกันโรคกระดูกออน<br />

กระดูก<strong>พ</strong>รุน เลือดแข็งตัวชา นอกจากนี้ยัง<strong>พ</strong>บวาขาวสังขหยดยังมีสีแดงและมีกลิ่นหอมเฉ<strong>พ</strong>าะตัว สีแดงของขาว<br />

สังขหยดเปนสีของรงควัตถุ ประเภทฟลาวานอยดชนิดแอนโทไซยานิน รวมทั้งในน้ํามันรําขาวสังขหยดประกอบ<br />

ไปดวย วิตามินอี และโอริซานอล ซึ่งสารตางๆ ที่กลาวมานั้นมีคุณสมบัติเปนสารตานออกซิเดชันซึ่งสามารถกําจัด<br />

หรือลดอนุมูลอิสระในเซลลของสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีผลในการชะลอและลดความเสี่ยงในการเปนโรคตางๆ เชน โรคหัวใจ<br />

โรคมะเร็ง โรคระบบภูมิคุมกันทํางานผิดปกติ เปนตน ดังนั้น การ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยดเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong><br />

จึงเปนแนวทางหนึ่งในการสรางมูลคาเ<strong>พ</strong>ิ่มใหกับขาว<strong>พ</strong>ื้นเมืองของภาคใต และสามารถชวยลดการนําเขาแปงสาลี<br />

จากตางประเท<strong>ศ</strong>ได<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ดําเนินการ<strong>ศ</strong>ึกษาเกี่ยวกับปริมาณแปงขาวสังขหยดที่เหมาะสมตอการผลิตคุกกี้ขาวสังขหยดแลวนําไป<br />

วิเคราะหคุณภา<strong>พ</strong>ทางเคมี คุณภา<strong>พ</strong>ทางกายภา<strong>พ</strong> คุณภา<strong>พ</strong>ทางประสาทสัมผัส ทดสอบความชอบของผูบริโภค เมื่อ<br />

ไดสูตรคุกกี้ที่ไดคะแนนคุณภา<strong>พ</strong>สูงสุด นําไปเ<strong>พ</strong>ิ่มคุณคาทางโภชนาการของคุกกี้ขาวสังขหยดที่ผลิตจากแปงขาว<br />

สังขหยด โดยใชวัตถุดิบในทองถิ่นไดแกขาวตอกจากขาวสังขหยด จมูกขาวสังขหยด และงาดําในสัดสวนที่<br />

แตกตางกันไป แลวคัดเลือกสูตรที่ไดรับการยอมรับมากที่สุดในการทดสอบไป<strong>ศ</strong>ึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภา<strong>พ</strong><br />

ระหวางการเก็บรักษาผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยดตอไป<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ดําเนินโครงการเสร็จสิ้นแลว โดยผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยด ที่มีการทดแทนแปงสาลีโดยแปงขาวสังข<br />

หยด รอยละ 20 เสริมธัญ<strong>พ</strong>ืชชนิดขาวตอกจากขาวสังขหยดในผลิตภัณฑคุกกี้ รอยละ10 ไดรับการยอมรับสูงสุด<br />

และเมื่อเก็บรักษาผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยดใน ถุงอลูมิเนียมฟอลย และถุง<strong>พ</strong>ลาสติกชนิดโ<strong>พ</strong>ลีโ<strong>พ</strong>ร<strong>พ</strong>ิลีน เปน<br />

ระยะเวลา 60 วัน ยังมีคุณภา<strong>พ</strong>เปนที่ยอมรับของผูทดสอบ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

คณะเทคโนโลยีและการ<strong>พ</strong>ัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต<strong>พ</strong>ัทลุง 222 หมู 2<br />

ต. บาน<strong>พ</strong>ราว อ. ปา<strong>พ</strong>ะยอม จ.<strong>พ</strong>ัทลุง 93110


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน น้ํามันรําขาวและจมูกขาวหอมมะลิอินทรีย<br />

Organic Thai Hom Mali Rice Bran & Germ Oils<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สหกรณผูผลิตเกษตรอินทรีย จํากัด และสหกรณกรีนเนท จํากัด<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สหกรณกรีนเนท จํากัด ไดรวมมือกับกลุมผูผลิตใน จ.ยโสธร ทําการปลูก สี แปรรูป และสงออกขาวหอม<br />

มะลิอินทรีย ไปยังประเท<strong>ศ</strong>ในสหภา<strong>พ</strong>ยุโรปมานานกวา 10 ป โดยมีความ<strong>พ</strong>ยายามที่จะแปรรูปเ<strong>พ</strong>ื่อสรางมูลคาใหกับ<br />

ผลผลิต<strong>พ</strong>ลอยได (by product) ที่ไดจากการสีขาวหอมมะลิอินทรีย เชน รําขาว และปลายขาว เปนตน จนกระทั่งป<br />

<strong>2552</strong> สหกรณกรีนเนทและโรงสีขาว 3 แหงของกลุมผุผลิตใน จ.ยโสธร ไดรวมมือกัน<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑใหมได<br />

สําเร็จ คือน้ํามันรําขาวและจมูกขาวหอมมะลิอินทรีย ที่ผลิตในระบบสกัดแบบบีบเย็น (cold press) ซึ่งสามารถเ<strong>พ</strong>ิ่ม<br />

มูลคาใหกับรําขาวที่ใชเปนวัตถุดิบไดสูงถึง 4 เทาตัว<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การผลิตน้ํามันรําขาวและจมูกขาวหอมมะลิอินทรีย ในระบบสกัดแบบบีบเย็น นับเปนนวัตกรรมเกษตร<br />

อินทรีย เนื่องจากยังไมเคยมีการผลิต ผลิตภัณฑอินทรียดวยกระบวนการผลิตเชนนี้มากอน กลาวคือ น้ํามันรําขาว<br />

สําหรับบริโภคที่จําหนายทั่วไปในทองตลาด มาจากระบวนการผลิตที่ใชสารเคมีและความรอนสูงในการสกัดน้ํามัน<br />

ออกมาจากรําขาว ซึ่งทําใหสูญเสียสารอาหารที่สําคัญไปมาก เชน กลุมสารตานอนุมูลอิสระ และวิตามินอี เปนตน<br />

การผลิตน้ํามันรําขาวที่สกัดแบบบีบเย็น จะคงรักษาคุณคาของสารอาหารที่สําคัญไวไดมาก จึงมีประโยชนในการ<br />

บริโภคมากกวา และใชเปนเครื่องสําอางบํารุงผิวไดดีกวา ปจจุบัน สหกรณผูผลิตเกษตรอินทรียจํากัด ซึ่งรวมกัน<br />

จัดตั้งโดยโรงสีขาว 3 แหง ของกลุมผูผลิตใน จ.ยโสธรและกรีนเนท เปนผูผลิตน้ํามันรําขาวและจมูกขาวหอมมะลิ<br />

อินทรีย รายแรกของประเท<strong>ศ</strong>ไทย ที่ไดรับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียสากลจากสํานักงานมาตรฐานเกษตร<br />

อินทรีย (มกท.) และได<strong>พ</strong>ัฒนาเปนเม็ดแคปซูล เ<strong>พ</strong>ื่อใชเปนผลิตภัณฑเสริมอาหาร โดยไดรับการขึ้นทะเบียน อ.ย.<br />

เรียบรอยแลว<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ผลิตออกจําหนายในเชิง<strong>พ</strong>าณิชยแลว ทั้งในรูปของผลิตภัณฑเสริมอาหารและวัตถุดิบสําหรับผลิต<br />

เครื่องสําอางบํารุงผิว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- สหกรณผูผลิตเกษตรอินทรีย จํากัด 118/1 ถ.วารีราชเดช อ.เมือง จ.ยโสธร 35000 โทร.089-777-5860<br />

- สหกรณกรีนเนท จํากัด 6 ซ.วัฒนานิเว<strong>ศ</strong>น7 ถ.สุทธิสาร แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10310<br />

โทร.02-277-9380-1, 02-277-9653 โทรสาร.02-277-9654


รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย<br />

ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong><br />

กลุมที่ 5: ปจจัยการผลิต


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : “ตะวัน คันไถ” ปุยอินทรียคุณภา<strong>พ</strong>สูง<br />

(High Quality Organic Fertilizer)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท รุงเจริญอุตสาหกรรม (1994) จํากัด และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การ<strong>พ</strong>ัฒนาแบคทีเรียสังเคราะหแสงที่เปนสวนประกอบหลักในปุยอินทรียนั้นสามารถชวยเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิตขาว<br />

ไดมากถึงไรละ 10 - 20 เปอรเซ็นต เนื่องจากดินในบริเวณรากขาวในระยะขาวตั้งทองจะมีสภาวะแบบไมมี<br />

ออกซิเจนทําใหแบคทีเรียที่ในกลุมแอนแอโรบิกแบคทีเรียเจริญไดดี สรางกาซไฮโดรเจนซัลไฟด (H 2 S) ซึ่งมีผลไป<br />

ยับยั้งกระบวนการสรางเมตาโบลิซึมของรากขาว แตเมื่อนําแบคทีเรียสังเคราะหแสงมาใสลงในดินในระยะเวลา<br />

ดังกลาว แบคทีเรียสังเคราะหแสงจะเปลี่ยนไฮโดรเจนซัลไฟดใหอยูในรูปสารประกอบซัลเฟอรที่ไมเปน<strong>พ</strong>ิษตอราก<br />

จึงมีผลใหรากของตนขาวเจริญงอกงามมากขึ้นอยางเห็นไดชัดและลักษณะของตนขาวก็มีความแข็งแรง นอกจากนี้<br />

ยังสามารถเ<strong>พ</strong>ิ่มปริมาณผลผลิต คุณภา<strong>พ</strong>ทั้งความหวานของผลไม (เ<strong>พ</strong>ิ่มปริมาณน้ําตาล) สีสันมันวาว กลิ่นหอม<br />

ยืดอายุการเก็บรักษาใหนานขึ้น และปรับปรุงดินที่เสื่อมจากการปลูก<strong>พ</strong>ืชซ้ํา ยับยั้งโรค<strong>พ</strong>ืช และไวรัส<strong>พ</strong>ืชอยางเห็น<br />

ไดชัด เชน ปุยชีวภา<strong>พ</strong>ที่ผลิตจากแบคทีเรียสังเคราะหแสงที่มีรงควัตถุ (Pigment) ประเภทแคโรทีนอยด (carotenoid)<br />

เปนสวนประกอบภายในเซลล เมื่อนํามาใชจะชวยเ<strong>พ</strong>ิ่มปริมาณ carotene ใน<strong>พ</strong>ืช เชนตนสมจีน ตน<strong>พ</strong>ลัม ตนมะเขือ<br />

เท<strong>ศ</strong> และ ตนขาวโ<strong>พ</strong>ด และยังสามารถเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิตของขาวไดมากกวาเมื่อเทียบกับการใชปุยชีวภา<strong>พ</strong>ที่ไมมี<br />

แบคทีเรียสังเคราะหแสง<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิต ระดับประเท<strong>ศ</strong> ของปุยชีวภา<strong>พ</strong> ที่ใชจุลินทรีย<br />

ผลิตปุยหมักและแบคทีเรียสังเคราะหแสงหมักรวมกับมูลวัวเปนวัตถุดิบหลักและวัตถุดิบประเภทอื่นรวมดวย เชน<br />

ฝุนขาวโ<strong>พ</strong>ด แกลบ เปนตน ดวยวิธี solid state fermentation แบบใชอากา<strong>ศ</strong><br />

4. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

- บริษัท รุงเจริญอุตสาหกรรม (1994) จํากัด 261 หมูที่ 7 ถ.รอยเอ็ด-โ<strong>พ</strong>นทอง ต.มะอึ อ.ธวัชบุรี จ.รอยเอ็ด<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : สารชีวภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อกําจัดเ<strong>พ</strong>ลี้ยกระโดดสีน้ําตาลในนาขาว<br />

(Biopesticide for Brown Planthopper Control)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท ภูธนเกษตรอุตสาหกรรม จํากัด และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การกําจัดและควบคุมเ<strong>พ</strong>ลี้ยกระโดดสีน้ําตาลนั้นจะทําไดโดยการไถกลบที่นาที่เกิดการระบาดของเ<strong>พ</strong>ลี้ย<br />

กระโดดสีน้ําตาล ทําใหเกษตรกรขาดรายไดจากการขายขาว หรือการใชสารเคมีกําจัด ซึ่งจากการใชวิธีการ<br />

ดังกลาวสงผลใหเกิดการ<strong>พ</strong>ัฒนาภูมิตานทานตอสารเคมีของเ<strong>พ</strong>ลี้ยกระโดดสีน้ําตาลเ<strong>พ</strong>ิ ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เกษตรกร<br />

จึงตองใชสารเคมีเ<strong>พ</strong>ื่อกําจัดแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชในระดับที่เขมขน และบอยครั้ง ทําใหตนทุนการผลิต<strong>พ</strong>ืชตอไรเ<strong>พ</strong>ิ่มสูงขึ้น<br />

นอกจากนี้สารเคมีที่ใชจะถูกดูดซึมเขาไปทางราก ใบ กิ่ง ลําตน หรือสวนหนึ่งสวนใดของ<strong>พ</strong>ืชที่สัมผัสกับสาร แลว<br />

จะเคลื่อนยายไปสะสมในสวนตางๆ โดยเฉ<strong>พ</strong>าะยอดออนที่แตกใหมๆ หรือเมล็ดขาว ทําใหขาวที่ผลิตไดเกิดการ<br />

ปนเปอนสารเคมี ดังนั้นการใชวิธีการควบคุมโดยชีววิธี (biological control) จึงเปนวิธีที่เหมาะสมในการควบคุมและ<br />

กําจัดแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช ซึ่งทําใหเกษตรกรสามารถควบคุมและกําจัดแมลงเหลานั้นไดอยางมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และ<br />

ผลิตภัณฑที่ผลิตออกมาไมเกิดการปนเปอนจากสารเคมี โดยจัดเปนวิธีการที่ใชจุลินทรียที่เปนปฏิปกษกับแมลง<br />

ควบคุมและกําจัดแมลง ซึ่งเชื้อจุลินทรียที่เปนปฏิปกษตอเ<strong>พ</strong>ลี้ยกระโดดสีน้ําตาล คือราขาวบิวเวอรเรีย (Beauveria sp.)<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเท<strong>ศ</strong> ดานกระบวนการผลิตสารชีวภา<strong>พ</strong>กําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชจากเชื้อ<br />

Beauveria bassiana (เชื้อราขาวบิวเวอรเรีย) ดวยถังหมักแบบแข็งอัตโนมัติ ภายใตการควบคุมสภาวะการหมักที่<br />

เหมาะสม ทําใหชวยลดระยะเวลาในการผลิตและไดสารชีวภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณสมบัติในการปองกันกําจัดเ<strong>พ</strong>ลี้ยกระโดดสี<br />

น้ําตาลไดอยางมีประสิทธิภา<strong>พ</strong><br />

4. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

- บริษัท ภูธนเกษตรอุตสาหกรรม จํากัด 109 หมู 4 ถ.บานเกา-กาญจนบุรี ต.บานเกา อ.เมือง จ.กาญจนบุรี<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ชีวภัณฑจากจุลินทรียปฏิปกษ (PMOs) ยับยั้งเชื้อกอโรคเหี่ยว (Ralstonia<br />

solanacearum)<br />

Bioproduct from Antagonistic Microorganisms, PMOs for Bacterial Wilt<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม<br />

และ บริษัท ปริ๊นเซส ฟูดส จํากัด<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

แบคทีเรีย Ralstonia solanacearum เปนเชื้อกอโรคเหี่ยวในผักหลายชนิด โดยเฉ<strong>พ</strong>าะอยางยิ่งผักตระกูล<br />

มะเขือ ซึ่งมักจะเขาทําลายและระบาดเปนวงกวางในระยะที่<strong>พ</strong>ืชใกลจะถูกเก็บเกี่ยว จึงสรางความเสียหายแก<br />

เกษตรกรเปนจํานวนมาก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม มีความมุงมั่นสูความเปนเลิ<strong>ศ</strong><br />

ทางวิชาการดานเกษตรอินทรีย จึงไดวิจัย<strong>ศ</strong>ึกษาหาจุลินทรียทองถิ่นที่เปนปฏิปกษตอเชื้อกอโรคเหี่ยวดังกลาว<br />

ภายใตการสนับสนุนของ บริษัท ปริ๊นเซส ฟูดส จํากัด เ<strong>พ</strong>ื่อนําเอาผลงานวิจัยที่ไดไปใชกับเกษตรกรในเครือขาย<br />

ของบริษัท เปนการลดละและเลิกการใชสารเคมีควบคุมเชื้อกอโรคเหี่ยวในการผลิตผักของเกษตรกร ซึ่งสอดคลอง<br />

กับนโยบายของบริษัทที่จะผลิตอาหารเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>จากระบบการผลิตแบบเกษตรอินทรีย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ชื่อ PMOs หรือ Princess Food Microorganisms เปนชีวภัณฑที่ไดจากเชื้อแบคทีเรียปฏิปกษที่ผานการ<br />

คัดเลือกและทดสอบความสามารถในการยับยั้งเชื้อ R. solanacearum ประกอบดวยแบคทีเรียจํานวน 14 สาย<br />

<strong>พ</strong>ันธุ ควบคุมการระบาดของเชื้อกอโรค ดวยความสามารถในการเขาครอบครองราก<strong>พ</strong>ืชไดเปนอยางดี ผลิตกรด<br />

อินทรียและสารชีวนะออกมายับยั้งเชื้อกอโรคเหี่ยว ทําใหผักมีอัตราการรอดชีวิตสูงถึง 100% นอกจากนี้วิธีการ<br />

นําเอาชีวภัณฑ PMOs ไปใชนั้น เกษตรกรสามารถขยายปริมาณเชื้อเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นไดแบบงายๆ คือ การใชเ<strong>ศ</strong>ษวัตถุดิบ<br />

อาหารประเภทผักและผลไมมาเ<strong>พ</strong>าะเลี้ยงเชนเดียวกับการทําน้ําหมักชีวภา<strong>พ</strong><br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ มีเทคโนโลยีการเ<strong>พ</strong>าะเลี้ยงและมีผลิตภัณฑตนแบบแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ต.สะลวง อ.แมริม จ. เชียงใหม 50330<br />

- บริษัท ปริ๊นเซส ฟูดส จํากัด เลขที่ 199 ถนนเชียงใหม-ฝาง ต.ขี้เหล็ก อ.แมริม จ.เชียงใหม 50330<br />

คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ. วารินชําราบ จ. อุบลราชธานี 34190


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การใชสาร allelopathy จาก<strong>พ</strong>ืชและการคลุมดินในการควบคุมวัช<strong>พ</strong>ืชในแปลงปลูกผัก<br />

ระบบเกษตรอินทรีย<br />

Plant Allelopathy Substance and Soil Mulching Use on Weed Control in<br />

Vegetables Organic Farm System<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นางสาวอตินุช แซจิว<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

วัช<strong>พ</strong>ืชในแปลงปลูก<strong>พ</strong>ืชเปนปญหาที่สงผลกระทบตอผลผลิตของ<strong>พ</strong>ืชหลัก ธวัชชัย และ J.F.Maxwell<br />

(2544) สํารวจวัช<strong>พ</strong>ืชในแปลงปลูกผักในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<strong>พ</strong>บวามีทั้ง<strong>พ</strong>ืชใบเลี้ยงเดี่ยวและ<strong>พ</strong>ืชใบเลี้ยงคูรวมประมาณ 27<br />

ชนิด อนึ่งการปลูก<strong>พ</strong>ืชในระบบเกษตรอินทรีย วัช<strong>พ</strong>ืชเปนปญหาสําคัญที่กอใหเกิดความเสียหายกับผลผลิตของ<strong>พ</strong>ืช<br />

หลักเชนกัน ทั้งนี้เนื่องจากการปลูก<strong>พ</strong>ืชระบบนี้ไมสามารถใชสารเคมีกําจัดวัช<strong>พ</strong>ืช ตองอา<strong>ศ</strong>ัยแรงงานในการกําจัด<br />

การใชสาร allelopathy สกัดจาก<strong>พ</strong>ืชรวมกับการคลุมดินจึงเปนแนวทางหนึ่งในการควบคุมและกําจัดวัช<strong>พ</strong>ืชในระบบ<br />

การผลิต<strong>พ</strong>ืชผักอินทรีย ซึ่งมุงเนนความปลอดภัยของผลผลิต และคํานึงถึงความยั่งยืนของระบบนิเว<strong>ศ</strong> ทั้งนี้<br />

เนื่องจากสาร allelopathy จาก<strong>พ</strong>ืชนี้มีแนวโนมที่จะสลายตัวตามธรรมชาติไดรวดเร็ว<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้เปนงานวิจัยการใชสารสกัดจาก<strong>พ</strong>ืช เชน ลําตนใตดินหญาแหวหมู ใบยูคาลิปตัส รากหญาแฝก<br />

เปนตน รวมกับการคลุมดินในการยับยั้งการงอกของเมล็ดวัช<strong>พ</strong>ืชกอนการปลูก<strong>พ</strong>ืชผักในระบบเกษตรอินทรีย<br />

ลําตนใตดินหญาแหวหมู ทดสอบการยับยั้งการงอกของเมล็ดวัช<strong>พ</strong>ืช<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ฝายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูก<strong>พ</strong>ืชทดลอง สถาบันวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนา กําแ<strong>พ</strong>งแสน มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร<br />

วิทยาเขตกําแ<strong>พ</strong>งแสน จ.นครปฐม


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การผลิตเชื้อจุลินทรียสําหรับยอยสลายสารในขยะและน้ําเสียเชิง<strong>พ</strong>าณิชย<br />

The Production of Effective Microorganisms in Compost and Sewage<br />

Biodegradation<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ดนุวัต เ<strong>พ</strong>็งอน อนันต ปนตารักษ <strong>พ</strong>ัฒน กสิกรรมยืนยง และสุชัญญา อรุณรุงโรจน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ขยะและของเสียมีปริมาณเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นทุกป ในกรุงเท<strong>พ</strong>มหานครมีขยะวันละ 8,240 ตัน ซึ่งมีทั้งขยะที่ยอย<br />

สลายไดและยอยสลายไมได ขยะที่ยอยสลายไดจะมีสารประกอบมากมายรวมกันอยู เชน เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส<br />

แปง โปรตีนและไขมันซึ่งหากนํามายอยสลายดวยเอนไซมจากจุลินทรียแลวสามารถใชเปนปุยหมักใหแก<strong>พ</strong>ืชได<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

<strong>พ</strong>บวาการใชจุลินทรียในรูปของปุยหมักจะทําใหการยอยสลายขยะเกิดขึ้นเร็วกวาการใชจุลินทรียในรูป<br />

ของเหลว และการใชเชื้อเดี่ยว MJUT076 ใหประสิทธิภา<strong>พ</strong>การยอยสลายขยะดีที่สุด<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สถาบันบริการตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong>และมาตรฐานผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยแมโจ ต.หนองหาร อ.สันทราย<br />

จ. เชียงใหม 50290 โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท 0 5387 3842 โทรสาร 0 5387 3843


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การใชถั่วปุย<strong>พ</strong>ืชสดเปนปุยอินทรียในการผลิตขาว<strong>พ</strong>ันธุสังขหยด<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

Application of Legume Green Manure as a Organic Fertilizer in<br />

Sangyodphatthalung Rice Variety Production<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ดร.สม<strong>พ</strong>ร ดําย<strong>ศ</strong> วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ในปจจุบันการใชปุยเคมีในระบบการปลูกขาว มีผลทําใหระดับความอุดมสมบูรณของดินลดลง แมวาจะ<br />

มีการใชปุยเคมีใหแกขาวเปนประจําแลวก็ตาม เนื่องจากการลดลงของอินทรียวัตถุในดินนาที่ไมมีการใชปุย<br />

อินทรีย ซึ่งเปนปจจัยหลักไปจํากัดการเจริญเติบโตและ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การใหผลผลิตของขาว ดังนั้นจึงมีความ<br />

จําเปนตองมีการใชอินทรียในดินนา โดยเฉ<strong>พ</strong>าะในระบบการผลิตขาวอินทรีย โดยการใชปุยอินทรียชนิดตางๆ<br />

การใชปุยหมักมีขอจํากัดดานการจัดหาและขนสง การใชปุยคอกมีขอจํากัดดานปริมาณ ในขณะที่การใชปุย<strong>พ</strong>ืช<br />

สด (green manure) <strong>พ</strong>วกถั่วปุย<strong>พ</strong>ืชสด (legume greem manure) <strong>พ</strong>บวามี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>เปนแหลงอาหารหลักที่<br />

มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และเกิดประสิทธิผลในการใชผลิตขาว โดยเฉ<strong>พ</strong>าะในระบบการผลิตขาวอินทรีย<strong>พ</strong>ันธุสังขหยด<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

เปนกระบวนการเทคโนโลยีการผลิตและนวัตกรรมผลิตภัณฑตนแบบระดับจังหวัด<strong>พ</strong>ัทลุง โดยการใชถั่ว<br />

ปุย<strong>พ</strong>ืชสด 3 ชนิด ไดแก ถั่ว<strong>พ</strong>ุม ถั่ว<strong>พ</strong>รา และโสนอัฟริกัน ในการผลิตขาวสังขหยด<strong>พ</strong>ัทลุงในระบบอินทรีย ซึ่ง<br />

เปน<strong>พ</strong>ืชยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรในการ<strong>พ</strong>ัฒนาจังหวัด<strong>พ</strong>ัทลุง<br />

ถั่วปุย<strong>พ</strong>ืชสด<br />

(ถั่ว<strong>พ</strong>ุม) (ถั่ว<strong>พ</strong>รา) (โสนอัฟริกัน)<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น และมีเทคโนโลยีตนแบบแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี<strong>พ</strong>ัทลุง ตําบลควนมะ<strong>พ</strong>ราว อําเภอเมือง<strong>พ</strong>ัทลุง จังหวัด<strong>พ</strong>ัทลุง 93000<br />

โทร. 0-7461-8056-7 โทรสาร 0-7461-8056


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : การประยุกตใชเชื้อรา Beauveria bassiana สาย<strong>พ</strong>ันธุทองถิ่นในการควบคุม<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช<br />

เ<strong>พ</strong>ื่อการผลิตผักวง<strong>ศ</strong>กะหล่ําปลอดภัยจากสาร<strong>พ</strong>ิษในสภา<strong>พ</strong>ควบคุม<br />

Application of Endogenous Strains of Beauveria bassiana for Insect Pests<br />

Control in Safety Cruciferous Vegetable Production in controlled condition<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: รุงเกียรติ แกวเ<strong>พ</strong>ชร และ <strong>ศ</strong>มา<strong>พ</strong>ร แสงย<strong>ศ</strong><br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

เชื้อรา B. bassiana เปนเชื้อราสาเหตุโรคของแมลง (entomopathogenic fungus) ที่สามารถควบคุมแมลง<br />

<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชไดหลายชนิด เชน ตัวออนและตัวเต็มวัยของดวง และแมลงปากดูดตาง ๆ และมีประวัติและวิวัฒนาการอัน<br />

ยาวนานควบคูไปกับการควบคุมแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช แตยังไมมีรายงานถึงผลการใชเชื้อที่ไดจากทองถิ่นของประเท<strong>ศ</strong><br />

ไทยอยางชัดเจน เ<strong>พ</strong>ราะสาย<strong>พ</strong>ันธุเชื้อราดังกลาวที่ใชในปจจุบันเปนสวนใหญเปนสาย<strong>พ</strong>ันธุที่นําเขามาจาก<br />

ตางประเท<strong>ศ</strong>แถบยุโรปซึ่งมีราคาแ<strong>พ</strong>งและมีสภา<strong>พ</strong>แวดลอมที่แตกตางจากประเท<strong>ศ</strong>เรามาก จึงเปนความสําคัญของ<br />

การ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยเชื้อรานี้ในบริบทดังกลาวทั้งในดานประสิทธิภา<strong>พ</strong>และการเ<strong>พ</strong>ิ่มปริมาณเ<strong>พ</strong>ื่อใหเกิดความสะดวกในการ<br />

ใชงาน(Practical) และลดการใชสารเคมีของเกษตรกร<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การวิจัยครั้งนี้ไดมีการทดสอบประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการควบคุม<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชผักวง<strong>ศ</strong>กะหล่ําในสภา<strong>พ</strong>หองปฏิบัติการ<br />

ของเชื้อรา B. Bassiana โดยมีการรวบรวมสาย<strong>พ</strong>ันธุจาก<strong>พ</strong>ื้นที่ในจังหวัดสุ<strong>พ</strong>รรณบุรีและเชียงใหม ไดทั้งหมด 424<br />

ไอโซเลทส และยังทําการ<strong>ศ</strong>ึกษาถึงการเ<strong>พ</strong>าะเลี้ยงเชื้อในวัสดุตาง ๆ เ<strong>พ</strong>ื่อใหเกษตรกรสามารถนําไปผลิตในปริมาณ<br />

มาก (Mass Prodution)ได<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้นการดําเนินการวิจัยแลว<br />

การเจริญของเชื้อรา Beauveria bassiana บนวัสดุเ<strong>พ</strong>าะชนิดตาง ๆ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ถนนสิรินธร เขตบาง<strong>พ</strong>ลัด กทม. 10700<br />

- สถาบันวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 295 ถ.ราชสีมา เขตดุสิต กทม. 10300


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : การถายทอดเทคโนโลยีเชิงปฏิบัติการเรื่อง การผลิตปุยหมักชีวภา<strong>พ</strong>จากวัสดุ<br />

เหลือใช<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: สํานักงานคลินิกเทคโนโลยี เชียงราย<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปุยหมักชีวภา<strong>พ</strong> เปนปจจัยหลักที่สําคัญตอสุขภา<strong>พ</strong>อนามัยของประชาชนมากขึ้น เนื่องมาจากผลิตผลทาง<br />

การเกษตรที่ผลิตออกมาสูผูบริโภคจะตองปลอดสาร<strong>พ</strong>ิษและไมมีสารเคมีใด ๆ ตกคาง ดังนั้น การผลิตปุยหมัก<br />

ชีวภา<strong>พ</strong>จากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร ถือเปนการเ<strong>พ</strong>ิ่มมูลคาของ เหลือใชอีกทั ้งยังเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ูน รายได ลดตนทุนการ<br />

ทําการเกษตรและประหยัดการนําเขาสารเคมีหรือปุยจากตางประเท<strong>ศ</strong> รวมทั้งชวยลดปญหาสิ่งแวดลอม ดวย<br />

เหตุผลดังกลาว คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขต<strong>พ</strong>ื้นที่เชียงราย ในฐานะเครือขาย<br />

ถายทอดเทคโนโลยีสูชุมชนไดเล็งเห็นความสําคัญตอสิ่งแวดลอมและสุขภา<strong>พ</strong>ของชุมชนทองถิ่น จึงไดจัดทํา<br />

โครงการการถายทอดเทคโนโลยีเชิงปฏิบัติการเรื่องการผลิตปุยหมักชีวภา<strong>พ</strong>จากวัสดุเหลือใช เ<strong>พ</strong>ื่อเปนการสงเสริม<br />

ภูมิปญญาชาวบาน ทําใหชุมชนในทองถิ่นสามารถดํารงชีวิตไดอยางเขมแข็งเ<strong>พ</strong>ื่อใหเกิดความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจอยางสูงสุด<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้มีวัตถุประสงค คือ เ<strong>พ</strong>ื่อเปนการสรางวิทยากรเครือขายถายทอดเทคโนโลยีสูชุมชนในระดับ<br />

ทองถิ่นที่เปนรูปธรรมและสามารถถายทอดองคความรูที่ไดรับใหเปนไปตามความตองการของคนในชุมชนได และ<br />

สงเสริมใหคนในชุมชนไดเรียนรูวิธีการทําปุยหมักชีวภา<strong>พ</strong>จากวัสดุเหลือใชทางการเกษตรและเนนใหคนในชุมชน<br />

เล็งเห็นคุณคาการใชประโยชนจากการนําวัสดุเหลือใช นอกจากนี้ยังเปนการสรางเครือขายความรวมมือกับชุมชน<br />

เกี่ยวกับการนําภูมิปญญาทองถิ่นมา<strong>พ</strong>ัฒนาใหเกิดประโยชน ตลอดจนเปนการลดตนทุนการผลิตโดยการใชปุย<br />

หมักชีวภา<strong>พ</strong> ปุยน้ ําชีวภา<strong>พ</strong>หรือน้ําสกัดชีวภา<strong>พ</strong>ทดแทนปุยเคมีหรือปุยวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและสานเคมีปองกันกําตัดโรค<br />

และแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้นในป <strong>2552</strong> และมีการนําโครงการดังกลาวมาตอยอดในป 53 โดยใชใน<strong>พ</strong>ื้นที่ อ.แมลาว จ.เชียงราย<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขต<strong>พ</strong>ื้นที่เชียงราย<br />

99 หมู 10 ตําบลทรายขาว อําเภอ<strong>พ</strong>าน จังหวัดเชียงราย<br />

57120 โทร.053-729600-5 ตอ1004,1601


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : โครงการอบรมการทําปุยอินทรียจากมูลสัตวและเ<strong>ศ</strong>ษกาก<strong>พ</strong>ืช<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: นายยุทธ นนทะโคตร หัวหนาสาขาวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร<br />

คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยีการเกษตร เขต<strong>พ</strong>ื้นที่เชียงราย<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ตําบลทรายขาว ซึ่งอยูในเขตอําเภอ<strong>พ</strong>าน จังหวัดเชียงราย เปนอีก<strong>พ</strong>ื้นที่หนึ่งที่ประชากรสวนใหญมี<br />

อาชี<strong>พ</strong>ทําไร ทําสวน ทํานา และในปจจุบันปุยเคมีและยากําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชที่ผลิตจากสารเคมีไดเขามามีบทบาทใน<br />

การทําเกษตรของคนในตําบลทรายขาวมากยิ่งขึ้น และยัง<strong>พ</strong>บวามีชาวบานที่เจ็บปวย อันเนื่องมาจากการใชยา<br />

ปราบ<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช มีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งตนทุนการผลิตในการทําเกษตรก็มีแนวโนมสูงขึ้นดวยเชนกัน อัน<br />

เนื่องมาจากตนทุนการใชปุยเคมีตองใชในปริมาณที่เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น ทางสาขาวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร ไดเล็งเห็นความสําคัญถึง<br />

ปญหาในเรื่องนี้ จึงมีโครงการอบรมการผลิตปุยและยาจํากัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชโดยใชสารธรรมชาติใหกับเยาวชน ตําบล<br />

ทรายขาว เ<strong>พ</strong>ื่อจะไดรูจักการทําเกษตรที่ถูกวิธี ซึ่งการใชปุยและยากําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชที่ผลิตจากสารธรรมชาติ จะไม<br />

กอใหเกิดสาร<strong>พ</strong>ิษตกคางในดินและแหลงน้ํา รวมทั้งยังชวยรักษาคุณภา<strong>พ</strong>ดินใหดีขึ้น และชวยเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิตและ<br />

กําไรมากขึ้น เนื่องจากตนทุนการผลิตที่นอยลง รวมทั้งชวยปลูกฝงทั<strong>ศ</strong>นคติในการทําการเกษตรเชิงอนุรักษอีกดวย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการอบรมการทําปุยอินทรียจากมูลสัตวและเ<strong>ศ</strong>ษกาก<strong>พ</strong>ืชมีชาวบานในชุมชนบานรองธาร มีผูเขารวม<br />

โครงการ จํานวน 60 คน การดําเนินโครงการแบงเปนสามขั้นตอน คือ 1) ขั้นตอนการเตรียมการ มีการเตรียม<br />

สถานที่ที่จะใชอบรม เตรียมวัสดุตางๆ ที่ใชประกอบทําปุย เชน ผักตบชวา สารเคมีที่จําเปน 2) ขั้นตอนการอบรม<br />

ภาควิชาการใหความรูทางวิชาการดานการทําปุยอินทรีย ประโยชนจากการใชปุย รวมทั้งความรูทางดานการใช<br />

ปุยใหเหมาะสมตามชนิดของ<strong>พ</strong>ืช และ 3) ขั้นตอนการปฏิบัติในภาคปฏิบัตินําโดยวิทยากรที่มีความรูจากเกษตร<br />

อําเภอ<strong>พ</strong>าน และหมอดินที่ผานการอบรมและปฏิบัติเปนผูนําปฏิบัติ โดยแบงการปฏิบัติออกเปนกลุม<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้นและมีผลิตภัณฑตนแบบแลว<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

คณะวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขต<strong>พ</strong>ื้นที่เชียงราย<br />

99 หมู 10 ตําบลทรายขาว อําเภอ<strong>พ</strong>าน จังหวัดเชียงราย


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การผลิตจุลินทรียที่เปนประโยชนจากปุยอินทรีย<br />

(Compost Tea Production)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน - ผูชวย<strong>ศ</strong>าสตราจารยธีระ<strong>พ</strong>งษ สวางปญญางกูร<br />

เมธีสงเสริมนวัตกรรม ป <strong>2552</strong> ดาน eco-industry<br />

- ดร.ธารารัตน ซือตอฟ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การเ<strong>พ</strong>ิ่มปริมาณจุลินทรียที่เปนประโยชนในดินมีความจําเปนและสําคัญตอการผลิต<strong>พ</strong>ืชผักอินทรีย เ<strong>พ</strong>ราะ<br />

จุลินทรียที่เปนประโยชนในดินจะยอยสลายอินทรียวัตถุที่มีในดินแลวปลดปลอยธาตุอาหารหลัก (ไนโตรเจน<br />

ฟอสฟอรัส และโ<strong>พ</strong>แทสเซียม) ธาตุอาหารรอง (แคลเซียม แมกนีเซียม ฯลฯ) และจุลธาตุ (โบรอน สังกะสี เหล็ก<br />

ฯลฯ) ให<strong>พ</strong>ืชไดใชอยาง<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียง การผลิตจุลินทรียที่เปนประโยชนจากปุยอินทรีย (Compost Tea) แลวนํามารดตน<br />

<strong>พ</strong>ืชหรือฉีด<strong>พ</strong>นทางใบ จะชวยเ<strong>พ</strong>ิ่มปริมาณจุลินทรียที่เปนประโยชนในดินสามารถเปนปฏิปกษและยับยั้งการ<br />

เจริญเติบโตของเชื้อราที่เปนสาเหตุของโรค<strong>พ</strong>ืช ลดการใชสารเคมีในการผลิต<strong>พ</strong>ืชผักได โดยกระบวนการที่ใชเวลา<br />

สั้น มีความงาย ไมมีโทษใดๆ ตอ<strong>พ</strong>ืช และมีตนทุนการผลิตต่ํา<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การผลิตจุลินทรียที่เปนประโยชนจากปุยอินทรีย (Compost Tea) ทําไดโดยนําปุยอินทรียคุณภา<strong>พ</strong>ดี 1<br />

สวนผสมกับน้ํา 40 สวน เติมน้ําตาลทราย 0.25 สวน แลวทําการเปาอากา<strong>ศ</strong> (Brewing) เปนเวลา 48 ชั่วโมง ทําให<br />

มีจุลินทรียเ<strong>พ</strong>ิ่มจํานวนมากขึ้นถึงระดับ 1.210 8 – 4.510 8 โคโลนีตอมิลลิลิตร และ<strong>พ</strong>บวามีจุลินทรีย 34 ไอโซเลต<br />

จาก 178 ไอโซเลตสามารถยับยั้งเชื้อแอนแทรกโนสที่แยกไดจาก<strong>พ</strong>ริก (Colletotrichum capsici) ซึ่งลักษณะการ<br />

เปนปฏิปกษ<strong>พ</strong>บทั้งแบบที่เชื้อปฏิปกษผลิตสารที่มีฤทธิ์ยับยั้งและปลอยออกมาจากเซลล (Inhibition) และเชื้อ<br />

ปฏิปกษที่สามารถเจริญแขงขัน (Competitive) กับเชื้อราเฉ<strong>พ</strong>าะในขอบเขตที่เชื้อปฏิปกษเจริญ ปจจุบันไดมีการ<br />

นําไปใชกับ<strong>ศ</strong>ูนย<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ืชจักร<strong>พ</strong>ันธเ<strong>พ</strong>็ญ<strong>ศ</strong>ิริ มูลนิธิชัย<strong>พ</strong>ัฒนา อ.แมสาย จ.เชียงราย<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เริ่มดําเนินการถายทอดเทคโนโลยีตั้งแตป <strong>2553</strong><br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

คณะวิ<strong>ศ</strong>วกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน หัวเชื้อจุลินทรีย 8 <strong>พ</strong>ลัง (8 เซียน)<br />

Super Microorganisms 8 Forces (8 Sians)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน - ร.ต.อ.สามารถ นารถสูงเนิน วิทยากรเกษตรอินทรีย กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

และที่ปรึกษาชมรมเกษตรอินทรียแหงประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การผลิต<strong>พ</strong>ืชอินทรียในปจจุบันมีปญหาการปนเปอนสาร<strong>พ</strong>ิษสารเคมีในสิ่งแวดลอม เชนในดิน ในน้ํา และ<br />

ในอากา<strong>ศ</strong> ปญหาดินเสื่อมโทรม (ดินตาย) ดินไมอุมน้ําไมรวนซุย และขาดธาตุอาหาร<strong>พ</strong>ืช จึงไดคิดคนสารปรับปรุง<br />

ดินชนิดนี้ขึ้น เ<strong>พ</strong>ื่อชวยเหลือ<strong>พ</strong>ี่นองเกษตรกรที่ผลิต<strong>พ</strong>ืชอินทรีย ใหประสบความสําเร็จ และมีประสิทธิภา<strong>พ</strong><br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

หัวเชื้อจุลินทรีย 8 <strong>พ</strong>ลัง (8 เซียน) ประกอบดวย<br />

1) หัวเชื้อจุลินทรียเอสเอ็มเอส (SMS) Super Microbials Samart ใชเปนตัวยอยสลายอินทรียวัตถุใหมี<br />

อนุภาคเล็กลงจนละลายน้ําไดเ<strong>พ</strong>ื่อใหราก<strong>พ</strong>ืชดูดซึมซับไปใชประโยชนได (เซียนที่ 1)<br />

2) อาหารจุลินทรีย เชน กากน้ําตาล (Molasses) หรือน้ําออย น้ําเชื่อม น้ําผลไม ฯลฯ เปนอาหารของ<br />

จุลินทรีย ใชในการเ<strong>พ</strong>าะเลี้ยงขยาย และผลิตสารสกัดตางๆ (เซียนที่ 2)<br />

3) สารชีวภา<strong>พ</strong>สําหรับปองกันและกําจัดแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช เอสเอ็มเอส.3 (SMS.3) (เซียนที่ 3)<br />

4) ฮอรโมนชีวภา<strong>พ</strong> (Biotically Hormone) ใชเรงการเจริญเติบโตของ<strong>พ</strong>ืช (เซียนที่ 4)<br />

5) สารสกัดชีวภา<strong>พ</strong>จาก<strong>พ</strong>ืช เอสเอ็มเอส.เอฟ<strong>พ</strong>ีอี. SMS.FPE. (Fermented Plants Extract) เปน<br />

สารชีวภา<strong>พ</strong>ปองกันโรค<strong>พ</strong>ืช (เซียนที่ 5)<br />

6) น้ําชีวภา<strong>พ</strong>จากเ<strong>ศ</strong>ษอาหารหมัก (Biotically Food Fermented) ใชเ<strong>พ</strong>ิ่มธาตุอาหาร<strong>พ</strong>ืช (เซียนที่ 6)<br />

7) น้ําหมักชีวภา<strong>พ</strong>จากน้ําซาวขาว (Flour Fermented) ใชเสริมน้ําหมักจากเ<strong>ศ</strong>ษอาหาร (เซียนที่ 7)<br />

8) น้ําหมักจากเ<strong>ศ</strong>ษปลา – หอยเชอรี่หมัก (Amino Acid) ใชเ<strong>พ</strong>ิ่มแรธาตุและเรงการเจริญเติบโต<br />

(เซียนที่ 8)<br />

นําวัสดุทั้ง 8 ชนิดดังกลาวขางตนมารวมกัน ในอัตราสวนที่เหมาะสมจะไดหัวเชื้อจุลินทรีย 8 <strong>พ</strong>ลัง<br />

(8 เซียน) ใชผสมน้ํา 500 – 1,000 เทา ฉีด<strong>พ</strong>นรด ราดดินที่แปลงปลูก<strong>พ</strong>ืชอินทรีย จะทําใหดินรวนซุย อุมน้ํา<br />

อากา<strong>ศ</strong>ผานได ปองกันโรคและแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชได ใชไดผลในหลายๆ<strong>พ</strong>ื้นที่ทั่วทุกภาคของประเท<strong>ศ</strong> ขณะนี้ผลิตเปน<br />

สินคาออกจําหนายโดยรานโคราชเกษตรธรรมชาติ จังหวัดนครราชสีมา<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น และจําหนายเชิง<strong>พ</strong>าณิชยแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ร.ต.อ.สามารถ นารถสูงเนิน 414/56 หมู 5 ซอย 10 (โคราชวิลเลจ) ถนนเ<strong>พ</strong>ชรมาตุคลา ตําบลหัวทะเล<br />

อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทร.089-947-7009, 084-605-0569 โทรสาร044-221-062


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน เชื้อสเตรปโตมัยซิส : จุลินทรียควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียของแตง<br />

(Antagonistic Streptomyces for control bacterial fruit blotch disease in cucurbits)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ร<strong>ศ</strong>.ดร.เ<strong>พ</strong>ชรรัตน ธรรมเบญจ<strong>พ</strong>ล มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

และสํานักงาน<strong>พ</strong>ัฒนาวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

โรคผลเนาแบคทีเรียของแตงเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. citrulli (Aac) ซึ่งทํา<br />

ความเสียหายใหกับการผลิตแตงโม และแตงเท<strong>ศ</strong> (เมลอน) เปนอยางมาก โดยทําใหผลเนาและเชื้อยังสามารถ<br />

ถายทอดไปกับเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุและมีชีวิตอยูในเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุไดเปนเวลานาน สงผลกระทบตอธุรกิจการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุแตง<br />

ชนิดตางๆเปนอยางมาก เนื่องจากโรคนี้<strong>พ</strong>บในแตงชนิดอื่นๆ ดวย เชน แตงกวา สคว็อช (squash) น้ําเตา และ<br />

มะระ เ<strong>พ</strong>ื่อการควบคุมโรคนี้อยางมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และยั่งยืน ร<strong>ศ</strong>.ดร.เ<strong>พ</strong>ชรรัตน ธรรมเบญจ<strong>พ</strong>ล ไดคน<strong>พ</strong>บ<br />

เชื้อจุลินทรียปฏิปกษสเตรปโตมัยซิส (Streptomyces) ที่สรางสารยับยั้งเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรค Aac ไดอยางแรง<br />

มาก และเ<strong>พ</strong>าะเลี้ยงเ<strong>พ</strong>ิ่มปริมาณไดเร็ว ผานการวิจัยทดสอบดานความสามารถควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียไดอยาง<br />

ชัดเจนในระดับโรงเรือนปลูก<strong>พ</strong>ืชทดลองและการทดสอบในแปลง เมื่อนําเชื้อ Streptomyces นี้ไปคลุกกับเมล็ด<br />

แตงโมที่มีเชื้อ Aac (โดยการปลูกเชื้อ) <strong>พ</strong>บวาชวยลดการเกิดโรคจากเชื้อ Aac บนตนกลาไดอยางชัดเจนและยังทํา<br />

ใหเปอรเซ็นตความงอกและสงเสริมการเจริญเติบโตของตนกลาตนแตงโมเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น ตนกลาโตเร็ว มีระบบรากที่<br />

แข็งแรง เชื้อ Streptomyces นี้จึงเหมาะสมสําหรับใชเปนชีวภัณฑควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียและสงเสริมการ<br />

เจริญเติบโตของแตง ลดการใชสารเคมีกําจัดโรค<strong>พ</strong>ืช เหมาะสําหรับการผลิตแตงในระบบเกษตรอินทรีย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

เชื้อสเตรปโตมัยซิสควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียของแตงในรูปที่เปนเชื้อสด นํามาใชคลุกเมล็ดและ<strong>พ</strong>นใบ<br />

และตนในระหวางการเ<strong>พ</strong>าะปลูก<br />

ภา<strong>พ</strong>ที่ 1. เชื้อ Streptomyces สรางสารยับยั้งการ<br />

เจริญของเชื้อ Aac(A, B) เปรียบเทียบกับชิ้นวุน<br />

ปกติ (C) และสรางเอนไซมเซลลูเลสไดมากและ<br />

รวดเร็ว (D, E)<br />

ภา<strong>พ</strong>ที่ 2 เชื้อ Streptomyces ชวยกระตุนการงอกและ<br />

การเจริญเติบโตของตนกลาแตงโมและควบคุมเชื้อ<br />

สาเหตุโรคผลเนาแบคทีเรีย<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ร<strong>ศ</strong>.ดร.เ<strong>พ</strong>ชรรัตน ธรรมเบญจ<strong>พ</strong>ล สาขาโรค<strong>พ</strong>ืชวิทยา ภาควิชา<strong>พ</strong>ืช<strong>ศ</strong>าสตรและทรั<strong>พ</strong>ยากรการเกษตร<br />

คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40002 โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท/โทรสาร 043 343114<br />

โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ทเคลื่อนที่ 085-0109667 E-mail : petsir@kku.ac.th


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-1<br />

(Liquid Biofertilizer Biotech-1)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สิทธิ<strong>ศ</strong>ักดิ์ อุปริวง<strong>ศ</strong> และคณะ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-1 ผลิตโดยโครงการผลิตปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะ<br />

เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยขอนแกน ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2546 โดยมี<br />

เปาหมายหลักเ<strong>พ</strong>ื่อใชเปนผลิตภัณฑปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ และการประยุกตใชประโยชนอื่นๆ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-1 เปนผลิตภัณฑน้ําหมักชีวภา<strong>พ</strong>ชนิดหนึ่งที่ผลิตจากกระบวนการหมักวัตถุดิบ<br />

เ<strong>ศ</strong>ษผักผลไม เ<strong>ศ</strong>ษอาหาร <strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>ร หลากหลายชนิด ฯลฯ โดยหมักกับกากน้ําตาลเปนสารอาหาร ทําการหมัก<br />

โดยใชหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> มข.1 ซึ่งผลิตโดยโครงการปรับปรุงผลิตภัณฑปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong>ชุมชนเกษตร<br />

เท<strong>พ</strong>ารักษ ของภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี รวมกับภาควิชาทรั<strong>พ</strong>ยากรที่ดินและสิ่งแวดลอม คณะ<br />

เกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยที่หัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> มข.1 เปนหัวเชื้อจุลินทรียกลุมหมัก<br />

สังเคราะห จํานวน 18 ชนิดสาย<strong>พ</strong>ันธุ ประกอบดวย แบคทีเรีย 9 ชนิด รา 6 ชนิด และยีสต 3 ชนิด ซึ่งคิดคนโดย<br />

<strong>ศ</strong>.ดร. ชัยทั<strong>ศ</strong>น ไ<strong>พ</strong>รินทร คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ดําเนินการเสร็จสิ้น และมีผลิตภัณฑตนแบบ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002<br />

โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ทและโทรสาร: 043-362121 E-mail: sittisak@kku.ac.th


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-2<br />

(Liquid Biofertilizer Biotech-2)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สิทธิ<strong>ศ</strong>ักดิ์ อุปริวง<strong>ศ</strong> และคณะ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-2 ผลิตโดยโครงการผลิตปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อชุมชนเกษตรกร ภาควิชา<br />

เทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัย<br />

ขอนแกน ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2547 โดยมีเปาหมายหลักเ<strong>พ</strong>ื่อใชเปนผลิตภัณฑปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ และการ<br />

ประยุกตใชประโยชนอื่นๆ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-2 เปนผลิตภัณฑน้ําหมักชีวภา<strong>พ</strong>ชนิดหนึ่งที่ผลิตจากกระบวนการหมักวัตถุดิบ<br />

<strong>พ</strong>ืชผักผลไม รําขาว <strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>ร หลากหลายชนิด ฯลฯ และใชกากน้ําตาลเปนสารอาหาร ทําการหมักโดยใชหัว<br />

เชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-1 ซึ่งผลิตโดยโครงการผลิตปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะ<br />

เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน และหรือหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> มข.1 ซึ่งผลิตโดยโครงการปรับปรุง<br />

ผลิตภัณฑปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong>ชุมชนเกษตรเท<strong>พ</strong>ารักษ ของภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี รวมกับภาควิชา<br />

ทรั<strong>พ</strong>ยากรที่ดินและสิ่งแวดลอม คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยที่หัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong><br />

มข.1 เปนหัวเชื้อจุลินทรียกลุมหมักสังเคราะห จํานวน 18 ชนิดสาย<strong>พ</strong>ันธุ ประกอบดวย แบคทีเรีย 9 ชนิด รา 6<br />

ชนิด และยีสต 3 ชนิด ซึ่งคิดคนโดย <strong>ศ</strong>.ดร.ชัยทั<strong>ศ</strong>น ไ<strong>พ</strong>รินทร คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ดําเนินการเสร็จสิ้น และมีผลิตภัณฑตนแบบ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002<br />

โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ทและโทรสาร: 043-362121 E-mail: sittisak@kku.ac.th


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-3<br />

(Liquid Biofertilizer Biotech-3)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สิทธิ<strong>ศ</strong>ักดิ์ อุปริวง<strong>ศ</strong> และคณะ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-3 ผลิตโดยโครงการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตและใชปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong>สูชุมชน<br />

เกษตรกร ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2548 โดยมีเปาหมายหลักเ<strong>พ</strong>ื่อใชเปนผลิตภัณฑปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดม<br />

สมบูรณ และการประยุกตใชประโยชนอื่นๆ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-3 เปนผลิตภัณฑน้ําหมักชีวภา<strong>พ</strong>ชนิดหนึ่งที่ผลิตจากกระบวนการหมักวัตถุดิบ<br />

<strong>พ</strong>ืชผักผลไม <strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>ร หลากหลายชนิด ฯลฯ รวมกับปุยเคมีบางชนิด และใชกากน้ําตาลเปนสารอาหาร ทําการ<br />

หมักโดยใชหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-1 ซึ่งผลิตโดยโครงการผลิตปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ภาควิชา<br />

เทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน และหรือหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> มข.1 ซึ่งผลิต<br />

โดยโครงการปรับปรุงผลิตภัณฑปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong>ชุมชนเกษตรเท<strong>พ</strong>ารักษ ของภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะ<br />

เทคโนโลยี รวมกับภาควิชาทรั<strong>พ</strong>ยากรที่ดินและสิ่งแวดลอม คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยที่หัว<br />

เชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> มข.1 เปนหัวเชื้อจุลินทรียกลุมหมักสังเคราะห จํานวน 18 ชนิดสาย<strong>พ</strong>ันธุ ประกอบดวย<br />

แบคทีเรีย 9 ชนิด รา 6 ชนิด และยีสต 3 ชนิด ซึ่งคิดคนโดย <strong>ศ</strong>.ดร.ชัยทั<strong>ศ</strong>น ไ<strong>พ</strong>รินทร คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ดําเนินการเสร็จสิ้น และมีผลิตภัณฑตนแบบ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002<br />

โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ทและโทรสาร: 043-362121 E-mail: sittisak@kku.ac.th


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> มข.1<br />

(Liquid Biofertilizer KKU.1)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สิทธิ<strong>ศ</strong>ักดิ์ อุปริวง<strong>ศ</strong> และคณะ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> มข.1 ผลิตโดยโครงการปรับปรุงผลิตภัณฑปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong>ชุมชนเกษตรเท<strong>พ</strong>ารักษ ภาควิชา<br />

เทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี รวมกับภาควิชาทรั<strong>พ</strong>ยากรที่ดินและสิ่งแวดลอม คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากทบวงมหาวิทยาลัย (ขณะนั้น) ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2545 โดยมี<br />

วัตถุประสงคหลักเ<strong>พ</strong>ื่อใชเปนผลิตภัณฑปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ และการประยุกตใชประโยชนอื่นๆ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> มข.1 เปนผลิตภัณฑน้ําหมักชีวภา<strong>พ</strong>ชนิดหนึ่งที่ผลิตจากกระบวนการหมักวัตถุดิบทั้ง<strong>พ</strong>ืช<br />

และสัตว หลากหลายชนิด ฯลฯ และกากน้ําตาล ทําการหมักโดยใชหัวเชื้อจุลินทรียกลุมหมักสังเคราะห จํานวน 18<br />

ชนิดสาย<strong>พ</strong>ันธุ ประกอบดวย แบคทีเรีย 9 ชนิด รา 6 ชนิด และยีสต 3 ชนิด ซึ่งคิดคนโดย <strong>ศ</strong>.ดร.ชัยทั<strong>ศ</strong>น ไ<strong>พ</strong>รินทร<br />

คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ดําเนินการเสร็จสิ้น และมีผลิตภัณฑตนแบบ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002<br />

โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ทและโทรสาร: 043-362121 E-mail: sittisak@kku.ac.th


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>ศ</strong>ึกษาประสิทธิภา<strong>พ</strong>ของเชื้อรา Pochonia chlamydosporia ตอการควบคุม<br />

ไสเดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita<br />

Efficacy of Pochonia chlamydosporia in controlling Meloidogyne incognita<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ยุวดี ชูประภาวรรณ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ไสเดือนฝอยรากปม (root-knot nematode: Meloidogyne spp.) เปน<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชสําคัญที่ทําความเสียหาย<br />

กับ<strong>พ</strong>ืชปลูกทั่วโลกทั้ง<strong>พ</strong>ืชผัก ไมดอกไมประดับ <strong>พ</strong>ืชไร รวมทั้งไมผล <strong>พ</strong>ืชที่ถูกทําลายแสดงอาการรากบวม<strong>พ</strong>อง<br />

(root knot, gall) กุดสั้น ทอลําเลียงน้ําและอาหารอุดตัน ลําตนแคระแกร็น ทําใหผลผลิตลดลง หรือตายในที่สุด<br />

การควบคุมดวยสารเคมีใหประสิทธิภา<strong>พ</strong>สูง แตเกิดสาร<strong>พ</strong>ิษตกคางในระบบนิเว<strong>ศ</strong>นที่เปนอันตรายตอหวงโซอาหาร<br />

การควบคุมโดยชีววิธีจึงเปนอีกทางเลือกหนึ่ง เชื้อรา Pochonia chlamydosporia (PC) เปนเชื้อราชนิดหนึ่งที่มี<br />

การ<strong>ศ</strong>ึกษากันมากในตางประเท<strong>ศ</strong>และ<strong>พ</strong>บวามี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการควบคุมไสเดือนฝอยรากปม แตการ<strong>ศ</strong>ึกษาในประเท<strong>ศ</strong><br />

ไทยยังมีขอมูลจํากัด ดังนั้นจึงควรมีการเก็บรวบรวมเชื้อราชนิดนี้และคัดเลือกไอโซเลตที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการนํามาใช<br />

ควบคุมไสเดือนฝอยรากปมโดยชีววิธีตอไป<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

สามารถเก็บรวบรวมเชื้อรา PC ได 29 ไอโซเลต เมื่อนําเชื้อราไปทดสอบการทําลายไขไสเดือนฝอย<br />

รากปม Meloidogyne incognita (MI) ในหองปฏิบัติการ <strong>พ</strong>บวาเชื้อราทุกไอโซเลตสามารถทําลายไขของ MI ได ใน<br />

จํานวนนี้มี 11 ไอโซเลต ทําลายไขไดตั้งแต 90% ขึ้นไป และไอโซเลต YT 008 เปนไอโซเลตที่สามารถทําลายไข<br />

MI สูงสุดคือ 97.4% เมื่อนําเชื้อราไอโซเลต YT 008 ทดสอบประสิทธิภา<strong>พ</strong>การควบคุมโรครากปมของ<strong>พ</strong>ริก<br />

มะเขือเท<strong>ศ</strong> และคะนา ในเรือนปลูก<strong>พ</strong>ืชทดลอง <strong>พ</strong>บวาเชื้อราสามารถควบคุมประชากรของ MI ได โดยสามารถลด<br />

จํานวนปม จํานวนไข จํานวนตัวที่ราก<strong>พ</strong>ืช และจํานวนตัวในดินปลูก<strong>พ</strong>ริกและคะนาไดดี และในขณะนี้อยูระหวาง<br />

การทดสอบประสิทธิภา<strong>พ</strong>การควบคุมโรครากปมในสภา<strong>พ</strong>แปลงปลูก<br />

ราก<strong>พ</strong>ริก+PC+MI ราก<strong>พ</strong>ริก+MI Chlamydospore ของเชื้อ PC Conidia ของเชื้อ PC<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการทดสอบประสิทธิภา<strong>พ</strong>การควบคุมโรครากปมในสภา<strong>พ</strong>แปลงปลูก<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- <strong>ศ</strong>ูนยวิจัยควบคุม<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชโดยชีวินทรียแหงชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง<br />

คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : การผลิตปุยอินทรียแบบเติมอากา<strong>ศ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อเปนปจจัยการผลิต<strong>พ</strong>ืชผักอินทรีย<br />

(Aerated-Static-Pile Composting)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: ผูชวย<strong>ศ</strong>าสตราจารยธีระ<strong>พ</strong>งษ สวางปญญางกูร<br />

เมธีสงเสริมนวัตกรรม ป <strong>2552</strong> ดาน eco-industry<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การผลิตปุยอินทรียหรือปุยหมักแบบเดิมในประเท<strong>ศ</strong>ไทยเ<strong>พ</strong>ื่อใชเปนปจจัยการผลิต<strong>พ</strong>ืชผักอินทรีย <strong>พ</strong>บวา<br />

มักจะประสบปญหาหลายประการ เชน เปลืองแรงงานในการ<strong>พ</strong>ลิกกลับกอง (เ<strong>พ</strong>ื่อเติมออกซิเจนใหกับจุลินทรียใน<br />

กองปุย) ไดปุยอินทรียปริมาณนอยไม<strong>พ</strong>อกับความตองการ และใชเวลานาน 3 – 6 เดือน เปนตน ดังนั้น เ<strong>พ</strong>ื่อเปน<br />

การแกปญหาดังกลาวจึงมีการไดนําองคความรูดานวิ<strong>ศ</strong>วกรรมมาประยุกตใชและทําการ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยจนไดวิธีการผลิต<br />

ปุยอินทรียแบบเติมอากา<strong>ศ</strong> ที่สามารถผลิตปุยอินทรียคุณภา<strong>พ</strong>ดีไดครั้งละ 10 ตันโดยไม<strong>พ</strong>ลิกกลับกอง และ<br />

กระบวนการใชเวลาเ<strong>พ</strong>ียง 1 เดือนเทานั้น<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การผลิตปุยอินทรียแบบเติมอากา<strong>ศ</strong>มีการจัดรูปรางและขนาดของกองปุยใหมีความเหมาะสมที่จะเกิดการ<br />

<strong>พ</strong>าความรอน (Chimney Convection) ในกองปุยเ<strong>พ</strong>ื่อใหมีการไหลของอากา<strong>ศ</strong>เขาไปในกองปุยตามธรรมชาติ<br />

(Passive Aeration) มีการใช<strong>พ</strong>ัดลม (Blower) ขนาด 3 แรงมาอัดอากา<strong>ศ</strong>วันละ 2 ครั้ง ๆ ละ 15 นาที เขาไปในกอง<br />

ปุยผานทอ<strong>พ</strong>ีวีซีขนาด 4 นิ้ว (Active Aeration) ทําใหสามารถผลิตปุยอินทรียขนาดกองละ 1 ตันไดครั้งละ 10 กอง<br />

มีคาไฟฟากองละ 100 บาท มีอัตราสวนเ<strong>ศ</strong>ษ<strong>พ</strong>ืชตอมูลสัตว 3 ตอ 1 โดยปริมาตร ไดปุยอินทรียคุณภา<strong>พ</strong>ดีตาม<br />

มาตรฐานปุยอินทรียของประเท<strong>ศ</strong>ภายในเวลาเ<strong>พ</strong>ียง 1 เดือนโดยไมตอง<strong>พ</strong>ลิกกลับกอง ปจจุบันไดมีผูนําวิธีนี้ไปใช<br />

แลวถึง 480 แหงทั่วประเท<strong>ศ</strong> เทคโนโลยีนี้ไดรับรางวัลนวัตกรรมแหงชาติป 2549 รองชนะเลิ<strong>ศ</strong>อันดับสอง ดาน<br />

สังคม<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ดําเนินการถายทอดเทคโนโลยีใหแกชุมชนและสังคมแลวตั้งแตป 2547<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

คณะวิ<strong>ศ</strong>วกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : การผลิตปุยอินทรียไม<strong>พ</strong>ลิกกลับกองวิธีวิ<strong>ศ</strong>วกรรมแมโจ 1<br />

(MaejoEngineering1 Composting)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: ผูชวย<strong>ศ</strong>าสตราจารยธีระ<strong>พ</strong>งษ สวางปญญางกูร<br />

เมธีสงเสริมนวัตกรรม ป <strong>2552</strong> ดาน eco-industry<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การผลิตปุยอินทรียไม<strong>พ</strong>ลิกกลับกองวิธีวิ<strong>ศ</strong>วกรรมแมโจ 1 เปนการวิจัยตอยอดจากการผลิตปุยอินทรีย<br />

แบบเติมอากา<strong>ศ</strong>ซึ่งเปนของเจาของผลงาน เ<strong>พ</strong>ื่อแกปญหาการใช<strong>พ</strong>ลังงานไฟฟาที่เปนขอจํากัดในการผลิตปุยอินทรีย<br />

แบบเติมอากา<strong>ศ</strong> โดยเฉ<strong>พ</strong>าะอยางยิ่งใน<strong>พ</strong>ื้นที่ที่ไฟฟาเขาไมถึง เชน ในบริเวณไรนาเ<strong>พ</strong>าะปลูก เปนตน โดย<br />

ประยุกตใชองคความรูดานวิ<strong>ศ</strong>วกรรมทําใหสามารถผลิตปุยอินทรียไดโดยไมตอง<strong>พ</strong>ลิกกลับกอง การผลิตปุยอินทรีย<br />

วิธีวิ<strong>ศ</strong>วกรรมแมโจ 1 จะชวยใหมีการผลิตและใชปุยอินทรียมากขึ้น เกษตรกรและผูประกอบการสามารถนําไปใช<br />

ผลิตปุยอินทรียไดเลยในแปลงเ<strong>พ</strong>าะปลูก เมื่อแลวเสร็จก็สามารถนําไปใชในแปลงไดเลย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การผลิตปุยอินทรียวิธีวิ<strong>ศ</strong>วกรรมแมโจ 1 มีการจัดรูปรางและขนาดของกองปุยใหมีความเหมาะสมที่จะ<br />

เกิดการ<strong>พ</strong>าความรอน (Chimney Convection) ในกองปุยเ<strong>พ</strong>ื่อใหมีการไหลของอากา<strong>ศ</strong>เขาไปในกองปุยตาม<br />

ธรรมชาติ (Passive Aeration) ทําใหการยอยสลายทางชีวภา<strong>พ</strong>แบบใชออกซิเจนเกิดไดสมบูรณ อัตราสวนผสม<br />

เ<strong>ศ</strong>ษ<strong>พ</strong>ืชตอมูลสัตวมีคา 3 ตอ 1 โดยปริมาตร กองปุยมีความกวางฐาน 2.5 เมตร สูง 1.5 เมตร กองเปนรูป<br />

สามเหลี่ยม มีความยาวของกองปุยไมจํากัด สามารถผลิตปุยอินทรียคุณภา<strong>พ</strong>ดีไดครั้งละ 30 – 100 ตันที่มีคุณภา<strong>พ</strong><br />

ตามมาตรฐานปุยอินทรียของประเท<strong>ศ</strong>ไดภายในเวลาเ<strong>พ</strong>ียง 2 เดือนโดยไมตอง<strong>พ</strong>ลิกกลับกอง<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เริ่มดําเนินการถายทอดเทคโนโลยีตั้งแตป <strong>2552</strong><br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

คณะวิ<strong>ศ</strong>วกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การผลิตเชื้อจุลินทรียควบคุมเชื้อสาเหตุโรค<strong>พ</strong>ืช โดยใชสารเรงซุปเปอร <strong>พ</strong>ด3.<br />

(Microbial activator Super LDD3 form antagonistic microorganisms)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน<br />

กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การเ<strong>พ</strong>าะปลูก<strong>พ</strong>ืช ทั้งไมผล <strong>พ</strong>ืชไร และ<strong>พ</strong>ืชสวน ทุกชนิดลวนมีการใชสารเคมีในการปองกันการเกิดโรค<br />

และกําจัดแมลง เ<strong>พ</strong>ื่อใหผลผลิตที่ไดมีคุณภา<strong>พ</strong>ดี ซึ่งการเกิดโรคเปนปญหาหนึ่งที่สรางความเสียหายแกผลผลิต<strong>พ</strong>ืช<br />

ทําใหผลผลิตลดลงและราคาตก จึงจําเปนตองมีการปองกันกําจัด การใชสารเคมีเปนวิธีหนึ่งที่เกษตรกรนํามาใช<br />

ในการควบคุมโรค<strong>พ</strong>ืช ซึ่งในปจจุบันมีการนําเขาสารเคมีจากตางประเท<strong>ศ</strong>เปนจํานวนมากทําใหตนทุนการผลิต<br />

เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น และมีสาร<strong>พ</strong>ิษตกคางเปนอันตรายกับสิ่งแวดลอมและมนุษย ดังนั้นจึงไดมีการ<strong>ศ</strong>ึกษากลุมจุลินทรียที่มี<br />

คุณสมบัติเปนปฏิปกษตอเชื้อสาเหตุโรค<strong>พ</strong>ืชในดิน ที่มีความสามารถปองกัน หรือยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ<br />

สาเหตุโรค<strong>พ</strong>ืชไดซึ่งเปนแนวทางหนึ่งที่นํามาใชในการเกษตร เ<strong>พ</strong>ื่อการผลิต<strong>พ</strong>ืชผลทางการเกษตรที่ปลอดภัยจาก<br />

สารเคมี รวมถึงการทําเกษตรอินทรีย และรักษาสิ่งแวดลอมอีกทางดวย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้เปนนวัตกรรมผลิตภัณฑจุลินทรีย เ<strong>พ</strong>ื่อผลิตเชื้อจุลินทรียควบคุมเชื้อสาเหตุโรค<strong>พ</strong>ืชในดินมี<br />

คุณสมบัติ<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษคือ สามารถทําลายหรือยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรียในดินในสภา<strong>พ</strong>น้ําขังที่เปนสาเหตุทําให<br />

เกิดอาการรากเนาหรือโคนเนา ประกอบดวยเชื้อราไตรโคเดอรมา (Trichoderma sp.) และเชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส<br />

(Bacillus sp.) โดยมีกลไกการควบคุมโรค<strong>พ</strong>ืชดังนี้ คือ การเขาทําลายเชื้อสาเหตุไดโดยตรง มีความสามารถในการ<br />

แขงขันการใชอาหารและเจริญเติบโตไดดีกวาเชื้อสาเหตุโรค<strong>พ</strong>ืช ทําใหแหลงอาหารของเชื้อสาเหตุโรค<strong>พ</strong>ืชในดินถูก<br />

จํากัด และเชื้อสาเหตุโรค<strong>พ</strong>ืชไมสามารถเจริญไดในที่สุด ตลอดจนสามารถสรางสารปฏิชีวนะหรือสาร<strong>พ</strong>ิษเ<strong>พ</strong>ื่อ<br />

ทําลายหรือยับยั้งการเจริญของเชื้อสาเหตุโรค<strong>พ</strong>ืชในดิน ทําใหเชื้อสาเหตุโรค<strong>พ</strong>ืช ไมสามารถแ<strong>พ</strong>รกระจายได<br />

เชื้อแบคทีเรีย Bacillus sp.<br />

เชื้อราสาเหตุโรค<strong>พ</strong>ืช<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้นแลว ผลิตเปนผลิตภัณฑตนแบบและ เทคโนโลยีตนแบบ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สํานักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ โทร 02-579 0679


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน สารเรงซุปเปอร <strong>พ</strong>ด.7 สําหรับผลิตสารควบคุมแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช<br />

Microbial activator Super LDD7 to extract active ingredients for control insect pest<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปจจุบันมีการใชสารเคมีในการกําจัดแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชกันมาก ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงตอสุขภา<strong>พ</strong>ของ<br />

เกษตรกรผูผลิตและผูบริโภค รวมถึงสงผลตอสภา<strong>พ</strong>แวดลอมตามธรรมชาติ กอใหเกิดปญหาความเสื่อมโทรมของ<br />

ทรั<strong>พ</strong>ยากรดิน น้ํา และระบบนิเว<strong>ศ</strong> เกษตรกรหลายทานจึงมีความสนใจที่จะหันมาทําเกษตรอินทรียเ<strong>พ</strong>ื่อผลิตอาหาร<br />

ที่มีคุณภา<strong>พ</strong>และปลอดภัย การใชสารสกัดจาก<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>รที่มีสารออกฤทธิ์ในการปองกันแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชเปนแนวทาง<br />

หนึ่งที่ทําใหเกษตรกรหลีกเลี่ยงการใชสารเคมีกําจัดแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช ในการสกัดสารออกฤทธิ์จาก<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>รนั้น<br />

สามารถใชสารสกัดไดหลายชนิด เชน น้ํา แอลกอฮอล เฮกเซน และน้ําสมสายชู เปนตน ดังนั้นกรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดินจึง<br />

ไดมีการคัดเลือกจุลินทรียที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการผลิตแอลกอฮอล กรดอะซิติก และกรดแลคติก เ<strong>พ</strong>ื่อใชในการสกัด<br />

<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>ร ใชทดแทนสารสกัดดังกลาว<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

สารเรงซุปเปอร <strong>พ</strong>ด.7 สําหรับผลิตสารควบคุมแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช เปนนวัตกรรมผลิตภัณฑจุลินทรียที่มี<br />

คุณสมบัติเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>การสกัดสารออกฤทธิ์โดยกระบวนการหมัก<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>รชนิดตาง ๆ เ<strong>พ</strong>ื่อผลิตสาร<br />

ควบคุมแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช ประกอบดวยยีสตผลิตแอลกอฮอล และกรดอินทรียแบคทีเรียผลิตกรดอะซิติก และแบคทีเรีย<br />

ผลิตกรดแลคติกโดยผานการคัดเลือกชนิดที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>สูงเ<strong>พ</strong>ื่อผลิตสารดังกลาวสกัดสารออกฤทธิ์ และสารไล<br />

แมลงที่อยูใน<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>ร รวมทั้งกรดอินทรียหลายชนิด ที่มีผลตอการปองกันและกําจัดแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช โดยเนนสกัด<br />

<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>รที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการควบคุมเ<strong>พ</strong>ลี้ยแปง เ<strong>พ</strong>ลี้ยออน หนอนกระทูผัก และหนอนใยผัก ดังนี้ สมุนไ<strong>พ</strong>รที่<br />

มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ควบคุมเ<strong>พ</strong>ลี้ย (เ<strong>พ</strong>ลี้ยแปง และเ<strong>พ</strong>ลี้ยออน) ไดแก ยาสูบ ดีปลี หางไหล กลอย และ<strong>พ</strong>ริก สวน<br />

สมุนไ<strong>พ</strong>รที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ควบคุมหนอน (หนอนกระทูผัก และหนอนใยผัก) ไดแก วานน้ํา มันแกว สะเดา หนอน<br />

ตายหยาก และขมิ้นชัน<br />

Candida tropicalis Gluconobacter oxydans Lactobacillus fermentum<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

การวิจัยในหองปฏิบัติการ และโรงเรือนกระจกเสร็จสิ้นแลว แตในภาคสนามเ<strong>พ</strong>ื่อทดสอบประสิทธิภา<strong>พ</strong>อยู<br />

ระหวางการดําเนินโครงการ และคาดวาจะผลิตผลิตภัณฑตนแบบในป <strong>2553</strong><br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สํานักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน 2003/61 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10900


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ปุยชีวภา<strong>พ</strong> <strong>พ</strong>ด.12<br />

Bio-fertilizer LDD 12<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปจจุบันปุยเคมีมีราคาแ<strong>พ</strong>งทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้น และเ<strong>พ</strong>ิ่มความเสี่ยงในการลงทุนใหกับเกษตรกร<br />

ปุยชีวภา<strong>พ</strong>เปนเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ที่สําคัญยิ่ง เปนแนวทางหนึ่งที่ชวยเ<strong>พ</strong>ิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยอา<strong>ศ</strong>ัย<br />

กิจกรรมของจุลินทรีย ซึ่งจะชวยลดหรือทดแทนปุยเคมีทางการเกษตรได ประกอบกับความใสใจในดานสุขภา<strong>พ</strong><br />

และสิ่งแวดลอมทําใหเกิดความตองการบริโภคสินคาอินทรียมากขึ้น ซึ่งการใชปุยชีวภา<strong>พ</strong>สามารถสนับสนุนการ<br />

ผลิต<strong>พ</strong>ืชในระบบเกษตรอินทรียได และยัง สามารถเ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิต เ<strong>พ</strong>ิ่มคุณภา<strong>พ</strong>และเปนที่ยอมรับในการ<strong>พ</strong>ัฒนาดาน<br />

เกษตรอินทรีย ดังนั้น กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดินจึงไดคัดเลือกจุลินทรียที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> โดยมุงเนนกิจกรรมของจุลินทรีย<br />

ที่สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากา<strong>ศ</strong> และจุลินทรียที่สามารถละลายหรือดูดซับจากหินแรในดินทําใหไดธาตุอาหาร<br />

ที่<strong>พ</strong>ืชสามารถนําไปใชประโยชนได รวมทั้งจุลินทรียที่สรางสารเสริมการเจริญเติบโตใหกับ<strong>พ</strong>ืช แลวผลิตเปน<br />

ผลิตภัณฑ ปุยชีวภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อใหเกษตรกรนําไปใชประโยชนทางการเกษตรตอไป<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ปุยชีวภา<strong>พ</strong> <strong>พ</strong>ด.12 เปนกลุมจุลินทรียที่สามารถสรางธาตุอาหารหรือชวยใหธาตุอาหารเปนประโยชนกับ<br />

<strong>พ</strong>ืชเ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มความอุดมสมบูรณใหกับดิน และสรางฮอรโมนสงเสริมการเจริญเติบโตของ<strong>พ</strong>ืช ประกอบดวยจุลินทรีย<br />

4 ประเภท ไดแก จุลินทรียที่ใหธาตุไนโตรเจน (Azotobacter tropicalis) จุลินทรียที่ใหธาตุฟอสฟอรัส<br />

(Burkholderia unamae) จุลินทรียที่ใหธาตุโ<strong>พ</strong>แทสเซียม (Bacillus subtilis) และจุลินทรียที่สรางสารกระตุนการ<br />

เจริญเติบโตหรือฮอรโมน<strong>พ</strong>ืช (Azotobacter chroococcum)<br />

Azotobacter tropicalis<br />

Burkholderia unamae<br />

Bacillus subtilis<br />

Azotobacter chroococcum<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

มีผลิตภัณฑตนแบบแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สํานักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน 2003/61 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10900


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน จุลินทรียสําหรับ<strong>พ</strong>ืชปรับปรุงบํารุงดิน <strong>พ</strong>ด11.<br />

(Microbial activator Super LDD11 form Green manure crops)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน<br />

กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ไนโตรเจนเปนกาซที่อยูในอากา<strong>ศ</strong>มากถึงประมาณ 78 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร แตมนุษยนํามาใช<br />

ประโยชนไดนอยมากเมื่อเทียบกับจุลินทรีย ซึ่งจุลินทรียบางชนิดสามารถนํากาซไนโตรเจนไปใชประโยชนไดโดย<br />

วิธีการตรึงจากอากา<strong>ศ</strong>ใหกลายเปนแอมโมเนีย (NH 3 ) แลวดูดกินแอมโมเนียไปสรางเปนกรดอะมิโนและโปรตีนใน<br />

เซลลของจุลินทรีย การตรึงไนโตรเจนทางชีวภา<strong>พ</strong> ซึ่งเกิดขึ้นมากที่สุด โดยปริมาณการตรึงไนโตรเจนทางชีวภา<strong>พ</strong><br />

50 เปอรเซ็นต จะถูกนําไปใชทางดานการเกษตร ซึ่งแบคทีเรีย Genus Rhizobium มีบทบาทสําคัญที่สุดในการ<br />

ตรึงไนโตรเจนทางดานการเกษตร ดังนั้นการ<strong>ศ</strong>ึกษาถึงความสัม<strong>พ</strong>ันธแบบไดประโยชนรวมกันระหวางแบคทีเรียไร<br />

โซเบียมและ<strong>พ</strong>ืชตระกูลถั่วที่นํามาเปน<strong>พ</strong>ืชปรับปรุงบํารุงดินจึงมีความสําคัญมาก ในการเ<strong>พ</strong>ิ่มมวลชีวภา<strong>พ</strong>ของตน<strong>พ</strong>ืช<br />

นอกจากนี้ยังเปนการลดการใชปุยไนโตรเจน สงผลตอการลดนําเขาของปุยไนโตนเจน และยังประโยชนตอ<br />

สิ่งแวดลอมของดินดวย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้เปนนวัตกรรมผลิตภัณฑจุลินทรีย โดยจุลินทรีย<strong>พ</strong>ด. 11 เปนผลิตภัณฑจุลินทรียที่มี<br />

ประสิทธิภา<strong>พ</strong>สูงในการตรึงไนโตรเจนจากบรรยากา<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มมวลชีวภา<strong>พ</strong>ใหแก<strong>พ</strong>ืชปรับปรุงบํารุงดิน โดยแบง<br />

ออกเปน จุลินทรีย <strong>พ</strong>ด.11 สําหรับโสนอัฟริกัน และจุลินทรีย <strong>พ</strong>ด.11 สําหรับปอเทือง ซึ่งจุลินทรียชนิดดังกลาวจะมี<br />

ประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการตรึงไนโตรเจนสําหรับ<strong>พ</strong>ืชชนิดนั้นๆ อีกทั้งยังมีจุลินทรียที่มีความสามารถในการละลาย<br />

ฟอสฟอรัสในดินใหเปนประโยชนแก<strong>พ</strong>ืช เ<strong>พ</strong>ื่อการใชประโยชน<strong>พ</strong>ืชปรับปรุงบํารุงดินใหเกิดประสิทธิภา<strong>พ</strong>สูงสุด<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้นแลว ผลิตเปนผลิตภัณฑตนแบบและ เทคโนโลยีตนแบบ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สํานักเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong>ทางดิน กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ โทร 02-579 0679


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : โครงการนํารองการใชถุงขยะ<strong>พ</strong>ลาสติกชีวภา<strong>พ</strong> PBS ในการคัดแยกขยะอินทรีย<br />

เ<strong>พ</strong>ื่อผลิตปุยอินทรีย ณ เกาะเสม็ด<br />

(Bioplastic PBS Bags Usage for Seperating Organic Waste for Organic<br />

Fertilizer Production in Samed Island)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท แบ็กส แอนด โกลฟ จํากัด และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

โครงการนี้เปนโครงการนวัตกรรมเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรดานอุตสาหกรรม<strong>พ</strong>ลาสติกชีวภา<strong>พ</strong>และธุรกิจเกษตร<br />

อินทรีย ที่ไดรับการสนับสนุนทางดานวิชาการจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งนับวาเปนโครงการที่เนนการ<br />

รณรงคสนับสนุนการใช<strong>พ</strong>ลาสติกชีวภา<strong>พ</strong>ในการคัดแยกขยะอินทรีย ในแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ และอุทยาน<br />

แหงชาติๆ เ<strong>พ</strong>ื่อทําใหเกิดการจัดการขยะที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> และเปนการสรางเ<strong>พ</strong>ิ่มมูลคาใหกับขยะอินทรีย จะ<br />

กอใหเกิดมาตรการดานสิ่งแวดลอมเกี่ยวกับการจัดการขยะใน<strong>พ</strong>ื้นที่อุทยานแหงชาติตอไปในอนาคต โดยจัดทํา<br />

แผนการดําเนินงานที่ชัดเจนในการสรางความรูความเขาใจและกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน ในการคัด<br />

แยกขยะตนทางไดอยางมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> รวมทั้งสรางแนวทางการดําเนินการขายปุยอินทรียที่เกิดขึ้นในโครงการ<br />

เ<strong>พ</strong>ื่อใหโครงการสามารถสรางความยั่งยืนตอไป<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเท<strong>ศ</strong>ดานกระบวนการผลิตปุยอินทรียจากการคัดแยกขยะอินทรียใน<br />

<strong>พ</strong>ื้นที่ทองเที่ยวของอุทยานแหงชาติเขาแหลมหญา หมูเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง ดวยถุงขยะ<strong>พ</strong>ลาสติกสลายตัวได<br />

ทางชีวภา<strong>พ</strong>ชนิด PBS เ<strong>พ</strong>ื่อนําไปเปนวัตถุดิบผลิตปุยอินทรียในโรงผลิตปุยอินทรียกึ่งอัตโนมัติที่ไมตองทําการ<strong>พ</strong>ลิก<br />

กองที่มีกําลังการผลิตสูงสุด 100 ตันตอเดือน<br />

4. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

- บริษัท แบ็กส แอนด โกลฟ จํากัด 481/791-2 ซ.จรัญสนิทวง<strong>ศ</strong> 37 แขวงบางขุน<strong>ศ</strong>รี เขตบางกอกนอย<br />

กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10700<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี<br />

กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : ผลิตภัณฑกําจัดแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชจากสารสกัดสมุนไ<strong>พ</strong>รหนอนตายหยาก<br />

(New Bio-Pesticide from Stemona sp.)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท ไบโอเซเวน จํากัด และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

หนอนตายหยาก (Stemona spp.) เปนไมเถาชนิดหนึ่งซึ่งมีรากเปน<strong>พ</strong>วงคลายกระชาย <strong>พ</strong>บไดในปาทั่วไป<br />

ของประเท<strong>ศ</strong>จีน ญี่ปุน อินโดจีน มาเลเซีย ลาว และประเท<strong>ศ</strong>ไทย ทั้งนี้ หนอนตายหยากจะมีชื่อเรียกแตกตางกันตาม<br />

ทองถิ่น อาทิ <strong>พ</strong>ญารอยหัว กระเ<strong>พ</strong>ียดหนู ตนสามสิบกลีบ โปงมดงาม สลอดเชียงคํา เปนตน อนึ่ง ประโยชนทางการ<br />

แผนโบราณของสมุนไ<strong>พ</strong>รหนอนตายหยาก ไดมีการนํารากมาใชประโยชนในการรักษาหิด เหา และใชเปนยาถาย<br />

<strong>พ</strong>ยาธิ นอกจากนี้ ยังไดมีการนํามาใชเ<strong>พ</strong>ื่อการกําจัดเห็บเหาในโคและกระบือ ใชฆาหนอน ตลอดจนกําจัดลูกน้ํา<br />

สารสกัดหยาบของสมุนไ<strong>พ</strong>รหนอนตายหยากมีคา LD 50 ในหนูเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>ผู 1,078.95 มิลลิกรัม/น้ําหนัก 1 กิโลกรัม ในขณะ<br />

ที่คา LD 50 ในหนูเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>เมีย 630.96 มิลลิกรัม/น้ําหนัก 1 กิโลกรัม ซึ่งจัดไดวาเปนสารประเภท slightly toxic อีกทั้ง<br />

จากการ<strong>ศ</strong>ึกษาในแปลง<strong>พ</strong>บวาสารสกัดหยาบสามารถสลายตัวไดภายใน 3 วัน ดังนั้น จึงมีความเปนไปไดในการนํา<br />

สารสกัดสมุนไ<strong>พ</strong>รหนอนตายหยากมาใชเ<strong>พ</strong>ื่อการผลิตเปนผลิตภัณฑกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชชีวภา<strong>พ</strong>ที่เหมาะสําหรับ<br />

การเกษตรของประเท<strong>ศ</strong> โดยเฉ<strong>พ</strong>าะเกษตรอินทรีย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเท<strong>ศ</strong>ดานกระบวนการผลิตผลิตภัณฑกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชจากสมุนไ<strong>พ</strong>ร<br />

หนอนตายหยาก โดยเปนการนําสมุนไ<strong>พ</strong>รหนอนตายหยาก<strong>พ</strong>ันธุ Stemona curtisii มาผานกระบวนการสกัดดวย<br />

สารละลายแอลกอฮอล เ<strong>พ</strong>ื่อใหไดสารสกัดหนอนตายหยากที่มีสารออกฤทธิ์ทางชีวภา<strong>พ</strong>กลุมอัลคาลอยด อาทิ<br />

ออกซิ<strong>พ</strong>ิโอสติโมนีน (oxypeostemonine) สตีโมเคอรทิซีน (stemocurtisine) และสตีโมเคอรทิซินอล<br />

(stemocurtisinol) ซึ่งเปนสารกลุมใหมที่มีฤทธิ์ตอระบบประสาทของแมลงซึ่งทําใหแมลงหยุดกินและตายไปในที่สุด<br />

แลวจึงนํามา<strong>พ</strong>ัฒนาใหเปนผลิตภัณฑสารกําจัดแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช<br />

4. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

- บริษัท ไบโอเซเวน จํากัด 406 ถ.รัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10310<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี<br />

กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400


รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย<br />

ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong><br />

กลุมที่ 6: มาตรฐาน


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การจัดทํามาตรฐานเกษตรอินทรีย ป <strong>2553</strong><br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปจจุบันความตองการผลิตผลและผลิตภัณฑเกษตรอินทรียมีมากขึ้นตามลําดับ เนื่องจากผูบริโภค<br />

คํานึงถึงสุขภา<strong>พ</strong>และสุขอนามัยความปลอดภัยในการบริโภค รวมทั้งสิ่งแวดลอมมากขึ้น ดังนั้นจึงจัดทํามาตรฐาน<br />

เกษตรอินทรียที่มีความสอดคลองกับมาตรฐานเกษตรอินทรียในระดับสากลขึ้น เ<strong>พ</strong>ื่อใหเกษตรกร ผูประกอบการ<br />

รวมถึงผูเกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน ไดนําไปใชปฏิบัติในการผลิต<strong>พ</strong>ืช สัตวและประมงอินทรีย หรือใชเปนแมบท<br />

ในการอางอิง เ<strong>พ</strong>ื่อนําไป<strong>พ</strong>ัฒนาเปนมาตรฐานเฉ<strong>พ</strong>าะของกลุม หรือ<strong>พ</strong>ัฒนาเปนแนวทางสําหรับหนวยงานทําหนาที่<br />

ตรวจประเมินและตรวจรับรอง รวมถึงการแปลงเปนเอกสารคําแนะนําสําหรับเกษตรกรผูตองการทําการผลิตแบบ<br />

อินทรีย ทั้งนี้เ<strong>พ</strong>ื่อใหสินคาเกษตรอินทรียของประเท<strong>ศ</strong>เปนที่ยอมรับในระดับชาติและระดับสากล<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

4.1 มาตรฐานเกษตรอินทรีย : เกษตรอินทรีย เลม 1: การผลิต แปรรูป แสดงฉลากและจําหนายผลิตผลและ<br />

ผลิตภัณฑเกษตรอินทรีย (มกษ. 9000 เลม 1-<strong>2552</strong>)<br />

4.2 มาตรฐานเกษตรอินทรีย : เกษตรอินทรีย เลม 2: ป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรีย (มกษ. 9000 เลม 2-2548)<br />

4.3 มาตรฐานเกษตรอินทรีย : เกษตรอินทรีย เลม 3: อาหารสัตวน้ําอินทรีย (มกษ. 9000 เลม 3-<strong>2552</strong>)<br />

4.4 มาตรฐานเกษตรอินทรีย : การเลี้ยงกุงทะเลระบบอินทรีย (มกษ. 7413 2550)<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ เลขที่ 50 ถนน<strong>พ</strong>หลโยธิน<br />

แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10900


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบการผลิตและมาตรฐานระบบการตรวจรับรองเกษตรอินทรีย<br />

ทองถิ่น<br />

Development of Production and Standards Accreditation for Local Organic<br />

Agriculture<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การสํารวจและ<strong>ศ</strong>ึกษามาตรฐานและระบบการตรวจรับรองของระบบการผลิต<strong>พ</strong>ืชอินทรียชุมชนเปน<br />

การ<strong>ศ</strong>ึกษาเ<strong>พ</strong>ื่อใหทราบขอมูลเบื้องตนของมาตรฐานและการตรวจสอบรับรองเกษตรอินทรียของชุมชน วามี<br />

<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>และความ<strong>พ</strong>รอมในการ<strong>พ</strong>ัฒนาสูมาตรฐานระดับชาติและสากล เ<strong>พ</strong>ื่อเปนการยกระดับการผลิต และการ<br />

ตรวจสอบรับรองของชุมชนที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>เหลานั้นใหเปนที่ยอมรับในระดับชาติและระดับสากล เ<strong>พ</strong>ื่อขยายการ<br />

สงออกตอไปในอนาคต โดยในป 2551 สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ (มกอช.) รวมกับ<br />

มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร ไดดําเนินการสํารวจในภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือไปแลว สําหรับโครงการนี้<br />

ซึ่งเปนโครงการในป <strong>2552</strong> มกอช. รวมกับมหาวิทยาลัยขอนแกน จึงไดดําเนินการสํารวจตอเนื่องในภาคกลาง<br />

ภาคตะวันออก และภาคใต<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้ไดดําเนินการ<strong>ศ</strong>ึกษาในดานการผลิต มาตรฐานและระบบการรับรอง ดังนี้<br />

1. ดานการผลิต มีการสํารวจขอมูลการผลิต<strong>พ</strong>ืชอินทรีย รวมทั้ง<strong>ศ</strong>ึกษาสภา<strong>พ</strong>ปญหา/อุปสรรคที่เกี่ยวของกับ<br />

การผลิต<strong>พ</strong>ืชอินทรียใน<strong>พ</strong>ื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต ของประเท<strong>ศ</strong>ไทย ซึ่งผลการ<strong>ศ</strong>ึกษา <strong>พ</strong>บวา จาก<br />

การสุมสอบถาม ผูผลิตใน<strong>พ</strong>ื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต ของประเท<strong>ศ</strong>ไทยสวนใหญไมมีความรู<br />

เกี่ยวกับการทํานาระบบเกษตรอินทรียในระยะปรับเปลี่ยน ผูผลิตสวนใหญเปนเจาของ<strong>พ</strong>ื้นที่ทํากิน ใชน้ําจากแหลง<br />

ชลประทานในการทํานา ใชแรงงานในครอบครัว เมล็ด<strong>พ</strong>ันธุที่ใชเปน<strong>พ</strong>ันธุปทุมธานี ปุยอินทรียทําเ<strong>พ</strong>ื่อใชในการ<br />

เ<strong>พ</strong>าะปลูกดวยตนเอง และการจําหนายผลผลิตจะจําหนายใหกับตลาดกลาง โดยมีปญหาและอุปสรรคดานการผลิต<br />

3 ลําดับแรก คือ แมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช ระบบเกษตรอินทรียไมสามารถปองกัน/กําจัดแมลง<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชได และไมมีการ<br />

สนับสนุนจากภาครัฐในเรื่องการขอการรับรอง เชน คาใชจายในการตรวจรับรอง เปนตน<br />

2. ดานมาตรฐานและระบบการรับรอง มีการ<strong>ศ</strong>ึกษาสภา<strong>พ</strong>ปญหา/อุปสรรคที่เกี่ยวของกับการตรวจรับรองตาม<br />

มาตรฐานเกษตรอินทรีย ในดานสภา<strong>พ</strong>แวดลอม ปจจัยการผลิต และระบบการตรวจรับรองใน<strong>พ</strong>ื้นที่ภาคกลาง ภาค<br />

ตะวันออก และภาคใต ของประเท<strong>ศ</strong>ไทย และ<strong>ศ</strong>ึกษาระบบการตรวจรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรียของประเท<strong>ศ</strong><br />

และตางประเท<strong>ศ</strong> ผลการ<strong>ศ</strong>ึกษา <strong>พ</strong>บวา ปญหาและอุปสรรคดานการตรวจรับรอง 3 ลําดับแรก คือ ไมมีความรู<br />

เกี่ยวกับมาตรฐานและการตรวจรับรองเกษตรอินทรียมากอน ไมชํานาญกับระบบเอกสารตรวจสอบ/รับรอง และ<br />

ขั้นตอนการตรวจสอบหลายขั้นตอน มีความยุงยาก<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ 50 ถนน<strong>พ</strong>หลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ<br />

10900


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาตลาดและระบบการตรวจรับรองสินคาเกษตรอินทรีย<br />

Marketing Development and Organic Agricultural Product Accreditation<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

เนื่องจาก สินคาเกษตรอินทรียของไทยสวนใหญเปนสินคาขั้นตน มีมูลคาคอนขางต่ํา สินคาแปรรูปมี<br />

จํากัดและไมแ<strong>พ</strong>รหลาย สินคาเกษตรอินทรียดาน<strong>พ</strong>ืชของไทยที่ไดการรับรองระบบการผลิตตามมาตรฐานของไทย<br />

(มาตรฐานของกรมวิชาการเกษตร หรือมาตรฐานของ มกอช.) ยังไมสามารถสงออกไปจําหนายในสหภา<strong>พ</strong>ยุโรป<br />

สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน หรือ ประเท<strong>ศ</strong>ที่<strong>พ</strong>ัฒนาแลว (ยกเวน ออสเตรเลีย ที่ยังไมมีกฎหมายการนําเขาสินคาเกษตร<br />

อินทรีย) เนื่องจากมาตรฐานการผลิตและการตรวจรับรองดานเกษตรอินทรียของประเท<strong>ศ</strong>ไทยยังไมไดรับการ<br />

ยอมรับ (recognized) จากประเท<strong>ศ</strong>ขางตน ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะตองเรงเสริมสรางความเขมแข็งระบบการ<br />

ผลิตสินคาขั้นตน และแปรรูป (Primary and processed products) ใหมีความหลากหลาย มีคุณภา<strong>พ</strong>และปริมาณ<br />

ตามความตองการของผูบริโภคทั้งภายในและตางประเท<strong>ศ</strong>โดยเร็ว เ<strong>พ</strong>ื่อใหระบบการควบคุมและการตรวจรับรอง<br />

มาตรฐานดานเกษตรอินทรียเปนที่ยอมรับของประเท<strong>ศ</strong>นําเขารายใหญที่สําคัญ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ผลการ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>พ</strong>บวา จากการสุมตัวอยางผูบริโภคในกรุงเท<strong>พ</strong>ฯ จังหวัดขอนแกน จังหวัดเชียงใหม จังหวัด<br />

ลําปาง จังหวัดชุม<strong>พ</strong>ร ผูบริโภคสินคาเกษตรอินทรียสวนใหญเปนผูมีอํานาจตัดสินใจซื้อสินคาเกษตรอินทรีย และ<br />

นิยมบริโภคซื้อผลิตภัณฑอินทรียแปรรูปที่เปนอาหาร โดยเปนสินคาที่แปรรูปจากขาว รองลงมาคือ แปรรูปจาก<br />

ธัญ<strong>พ</strong>ืชและแปรรูปจากผลไม ในการ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>พ</strong>บปญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการซื้อผลิตภัณฑแปรรูปอินทรีย เชน<br />

ผูบริโภคไมสะดวกในการจัดซื้อ ไมมั่นใจในเรื่องของความปลอดภัยจากสารปนเปอน ผลิตภัณฑมีราคาสูง ความ<br />

ไมเขาใจถึงความแตกตางระหวางผลิตภัณฑปลอดภัยจากสาร<strong>พ</strong>ิษกับผลิตภัณฑอินทรีย ไมมีการลดราคา เปนตน<br />

จากการสํารวจขอมูลและจากการวิเคราะหขอจํากัดตางๆ ทําใหสามารถกําหนดชนิดของผลิตภัณฑอินทรียแปรรูป<br />

ที่สอดคลองกับความตองการของผูบริโภค โดยดําเนินการแปรรูปเปนผลิตภัณฑ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ<br />

ผลิตภัณฑอินทรียแปรรูปจากขาว ไดแก กวยเตี๋ยวเสนสด กวยเตี๋ยวเสนสดผสมฟกทอง กวยเตี๋ยวเสนแหง<br />

กวยเตี๋ยวเสนแหงผสมฟกทอง ขนมจีนเสนสด ขนมจีนเสนสดผสมผักและสมุนไ<strong>พ</strong>ร ขนมจีนเสนแหงผสมผักและ<br />

สมุนไ<strong>พ</strong>ร ขนมนางเล็ด และผลิตภัณฑ<strong>พ</strong>าสตา สําหรับผลิตภัณฑอินทรียแปรรูปจากผักและผลไม ไดแก เยลลี่จาก<br />

น้ําลําไยผสมเนื้อลําไย เยลลี่น้ําสมผสมน้ํามะเขือเท<strong>ศ</strong> น้ําสมอินทรีย<strong>พ</strong>าสเจอไรซ ผักอินทรียรวมชนิดกึ่งสําเร็จรูป<br />

(ผักอินทรียอบแหง)<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ 50 ถนน<strong>พ</strong>หลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ<br />

10900


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การใช IT ในการบริหารจัดการระบบควบคุมภายใน สําหรับการตรวจสอบรับรอง<br />

มาตรฐานเกษตรอินทรียแบบกลุมผูผลิต<br />

Using IT to manage internal control system (ICS) for organic certification under<br />

grower group scheme<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน มูลนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สืบเนื่องจากปญหาคอขวดสําคัญประการหนึ่งของการ<strong>พ</strong>ัฒนาเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทยก็คือ การที่<br />

กลุมผูผลิต ที่ตองการขอการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียแบบกลุมผูผลิต จะตองจัดทําระบบควบคุมภายใน<br />

(internal control system - ICS) ขึ้น เ<strong>พ</strong>ื่อชวยลดคาใชจายในการตรวจสอบรับรองมาตรฐาน แตการบริหารจัดการ<br />

ระบบควบคุมภายในนี้ยังคอนขางขาดประสิทธิภา<strong>พ</strong> เนื่องจากยังไมไดมีการนําเทคโนโลยีใหมๆ เชน เทคโนโลยี<br />

ขอมูล (information technology - IT) มาประยุกตใชกันมากนัก<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

มูลนิธิสายใยแผนดิน ซึ่งไดทํางานเกี่ยวกับการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบควบคุมภายในมานานกวา 10 ป จึงไดริเริ่ม<br />

การนํา IT มาใชในระบบควบคุมภายใน โดยการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบ software ระบบควบคุมภายในขึ้น ซึ่งจะชวยให<br />

ผูจัดการระบบควบคุมภายในสามารถจัดทําระบบขอมูลตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>มากขึ้น<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูในระหวาการดําเนินโครงการ และมีผลิตภัณฑตนแบบแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

มูลนิธิสายใยแผนดิน 6 ซ.วัฒนานิเว<strong>ศ</strong>น7 ถ.สุทธิสาร แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10310<br />

โทร 02-277-9380-1, 02-277-9653 โทรสาร 02-277-9654


รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย<br />

ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong><br />

กลุมที่ 7: รูปแบบการผลิต


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : ระบบ ICM สําหรับการผลิต<strong>พ</strong>ืชอินทรีย<br />

(Integrated Cropping Management for Organic Agriculture)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท ไบโอ-อะกริ จํากัด และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สืบเนื่องจากการบริหารจัดการองคความรูและนวัตกรรมตลอดทั้งหวงโซการผลิตในธุรกิจเกษตรอินทรีย<br />

โดยเฉ<strong>พ</strong>าะสวนของการผลิต และการสงเสริมการผลิต ยังมีขอจํากัดอยูหลายประการ เนื่องจากเปนการผลิตที่<br />

อา<strong>ศ</strong>ัยภูมิปญญา หรือประสบการณเขามาแกปญหาในขั้นตอนการผลิต มากกวาการประยุกตใชองคความรูทาง<br />

วิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและเทคโนโลยีที่มีการ<strong>พ</strong>ิสูจนทราบแลว สงผลใหผลผลิตเกิดความเสียหาย หรือมีคุณภา<strong>พ</strong>ต่ํากวา<br />

มาตรฐานในการสงออก ดังนั้น โครงการนี้จึงมีวัตถุประสงคในการจัดตั้งบริษัทเ<strong>พ</strong>ื่อใหบริการวิชาการและให<br />

คําปรึกษาดานการผลิต<strong>พ</strong>ืชปลอดภัยตอสารเคมี / อินทรีย ตามหลักของเกษตรอินทรียเชิงผสมผสาน (Organic-<br />

ICM system) ใหกับเกษตรกรในลักษณะการบริหารงานครบวงจร โดยมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาชุดองคความรูและเทคโนโลยี<br />

การผลิต<strong>พ</strong>ืช (เฉ<strong>พ</strong>าะกลุม) ดวยวิธีทางธรรมชาติ บน<strong>พ</strong>ื้นฐานทางวิชาการที่ทุกปจจัยการผลิตและทุกขั้นตอนการ<br />

จัดการในระบบการปลูกจะไดรับการ<strong>พ</strong>ิจารณาและคัดเลือกอยางเหมาะสม และมีการดูแลติดตามผลอยางใกลชิด<br />

จากทีมผูเชี่ยวชาญ และนักวิชาการที่ปรึกษาโครงการฯ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจระดับประเท<strong>ศ</strong>สําหรับการบริการใหคําปรึกษาการผลิตผัก<br />

อินทรีย โดยอา<strong>ศ</strong>ัยเทคโนโลยี การจัดการการผลิตเกษตรอินทรียแบบผสมผสาน (integrated cropping<br />

management) และกระบวนการผลิตของเกษตรกรรายยอยใน<strong>พ</strong>ื้นที่จํากัด จากเครือขายผูเชี่ยวชาญคณะเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร โดยเปนรูปแบบที่ใชแกปญหา (solutions) ตลอดทั้งหวงโซการผลิตในระบบเกษตร<br />

อินทรีย<br />

4. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

- บริษัท ไบโอ-อะกริ จํากัด 67/17 หมู 8 ต.บางกระสอ ถ.รัตนาธิเบ<strong>ศ</strong>ร อ.เมือง จ.นนทุบรี<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี<br />

กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืน เ<strong>พ</strong>ื่อประโยชนตอการ<strong>ศ</strong>ึกษาและการอนุรักษ<br />

สิ่งแวดลอม : มิติใหมของการเกษตรเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>และความอยูรอด<br />

(Research and Development of Sustainable Agricultural System : A New<br />

Agricultural Paradigm for Health and Survival)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ดนุวัต เ<strong>พ</strong>็งอน อนันต ปนตารักษ อานัฐ ตันโช ดําเกิง ปอง<strong>พ</strong>าล มนัส กัม<strong>พ</strong>ุกุล ขยัน<br />

สุวรรณเกรียง<strong>ศ</strong>ักดิ์ เมงอํา<strong>พ</strong>ัน ประวิตร <strong>พ</strong>ุทธานนท บัญญัติ มณเฑียรอาสน อาคม กาญจนประโชติ อภิชาติ สวน<br />

คํากอง ณัฐวุฒิ ดุษฎี สุภักตร ปญญา ตะวัน ฉัตรสูงเนิน วร<strong>ศ</strong>ิลป มาลัยทอง สุรชัย <strong>ศ</strong>าลิรั<strong>ศ</strong> และธนวัฒน รอดขาว<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

เนื่องจากตนทุนทางการผลิต<strong>พ</strong>ืชแบเคมีหรือ<strong>พ</strong>ืชเชิงเดี่ยวสูงขึ้น อีกทั้งยังมีปญหาสาร<strong>พ</strong>ิษตกคางใน<br />

กระบวนการผลิต ทําใหมีสารเคมีตกคางในหวงโซอาหาร น้ํา ดิน อากา<strong>ศ</strong> ตลอดจนผลผลิตทางการเกษตรปนเปอน<br />

ไปดวยสารเคมีและยาฆาแมลง จึงไดมีแนวคิดเ<strong>พ</strong>ื่อทดลองใชปจจัยการผลิตภายในประเท<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>ศ</strong>ึกษาการ<br />

เจริญเติบโตและผลผลิตทั้ง<strong>พ</strong>ืชไร <strong>พ</strong>ืชสวน สัตวปก ประมง โดยการใชเชื้อจุลินทรีย ปุยหมักอินทรีย และปุยน้ํา<br />

ชีวภา<strong>พ</strong> รวมกับการใชสารสกัดสมุนไ<strong>พ</strong>รเ<strong>พ</strong>ื่อควบคุมและปองกัน<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชและสัตว โดยทําการทดลองควบคูไปกับ<br />

การดําเนินการจัดการฟารมใน<strong>พ</strong>ื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม ตามแนว<strong>พ</strong>ระราชดําริภายในมหาวิทยาลัยแมโจ จํานวน<br />

<strong>พ</strong>ื้นที่ 10 ไร<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

จากสภา<strong>พ</strong>ดินที่มีความเปนกรด-ดางต่ํากวา 5 และมีอินทรียวัตถุต่ํามากเมื่อป 2544 จนกระทั่งป 2548<br />

ดินมีความเปนกรด-ดางอยูในระดับ 6-7 และดินมีอินทรียวัตถุมากขึ้น จากการทดลองปลูกขาวหอมมะลิ 105 และ<br />

ขาวหอมแดง<strong>พ</strong>บวาไดผลผลิตสูง หลังจากปลูกขาวแลวทําการปลูก<strong>พ</strong>ืชไรหมุนเวียน <strong>พ</strong>บวามีการเจริญเติบโตดี<br />

แข็งแรง ดินมีความโปรงและรวนซุย สําหรับไมผล<strong>พ</strong>บวาทั้งมะมวง ลําไย และลิ้นจี่สามารถเจริญเติบโตไดดีเชนกัน<br />

สวนระหวางแปลงไมผลระยะแรกปลูกเบญจมา<strong>ศ</strong> <strong>พ</strong>ืชไรและ<strong>พ</strong>ืชผัก <strong>พ</strong>บวาไดผลผลิตดีโดยไมตองใชสารเคมีและ<br />

<strong>พ</strong>บวาสภา<strong>พ</strong>ดินดีมาก นอกจากนี้ไดทดลองเลี้ยงปลา ไก เปดและสุกร <strong>พ</strong>บวาการใชเชื้อจุลินทรียและสมุนไ<strong>พ</strong>ร (ฟา<br />

ทะลายโจรและขมิ้นชัน) ผสมอาหารทําใหลดรายจายและลดการใชสารปฏิชีวนะไดระดับหนึ่ง และจากการทดลอง<br />

ใชมูลสัตวผลิตกาซชีวภา<strong>พ</strong><strong>พ</strong>บวาการใชมูลโคและกระบือทําใหมูลหมุนเวียนไดดี บอกาซไมเต็มเร็วคือสามารถ<br />

ใชไดนานกวา เกษตรกรมีความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจนําไปเผยแ<strong>พ</strong>รและปฏิบัติตามกันอยางแ<strong>พ</strong>รหลาย<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น และไดยกระดับเปนฐานเรียนรูของมหาวิทยาลัย “ฐานเรียนรูเกษตรทฤษฎีใหม ตามแนว<br />

<strong>พ</strong>ระราชดําริ”<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

สถาบันบริการตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong>และมาตรฐานผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยแมโจ ต.หนองหาร อ.สันทราย<br />

จ. เชียงใหม 50290 โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท 0 5387 3842 โทรสาร 0 5387 3843


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : การ<strong>พ</strong>ัฒนาความสามารถในการทําเกษตรอินทรียของกลุมชุมชนวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรเกษตรกร<br />

<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียงบานหนองมัง อําเภอสําโรง จังหวัดอุบลราชธานี : กรณีเกษตรอินทรียกับ<br />

นิเว<strong>ศ</strong>นเกษตร<br />

(Science Community for Development Organic Farm at Ban Nong Mung Sumrong<br />

District, Ubonratchathani Province. : In Case Organic Farm and Farm Ecology.)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: ผ<strong>ศ</strong>.ดร.นิตยา วานิกร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การทําเกษตรอินทรีย และเกษตรปลอดสาร<strong>พ</strong>ิษ เปนระบบการผลิตทางการเกษตรที่คนเราเคยปฏิบัติกัน<br />

มาแตโบราณ จนกระทั่งในยุคของการ<strong>พ</strong>ัฒนาอุตสาหกรรมที่ทุกอยางจะตองเรงรีบผลิตเ<strong>พ</strong>ื่อใหไดผลผลิตปริมาณ<br />

มากๆ สําหรับปอนระบบอุตสาหกรรม ทําใหมีการใชสารเคมีเ<strong>พ</strong>ื่อเรงการผลิต และใชสารเคมีในการกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืช<br />

กันอยางกวางขวาง ซึ่งสารเคมีเหลานั้นสวนใหญจะมี<strong>พ</strong>ิษตกคางกอใหเกิดอันตรายทั้งตอตัวเกษตรกรผูผลิตและ<br />

ผูบริโภค อีกทั้งยังเปนการเ<strong>พ</strong>ิ่มตนทุนใหแกเกษตรกรเปนอยางมากและการผลิตเ<strong>พ</strong>ื่อมุงหวังผลกําไรเ<strong>พ</strong>ียงอยาง<br />

เดียวในระบบเกษตรเคมีนั้น ยังทําใหวัฒนธรรมการผลิตแบบดั้งเดิมที่เคย<strong>พ</strong>ึ่ง<strong>พ</strong>ากันของคนในชุมชนสูญหายไป<br />

ความผูก<strong>พ</strong>ันในระบบสังคมของชุมชนก็ลดลง ระบบการผลิตที่หวัง<strong>พ</strong>ึ่งเ<strong>พ</strong>ียงผลผลิตอยางเดียวไมสามารถทําให<br />

เกษตรกรในชุมชนสามารถ<strong>พ</strong>ึ่ง<strong>พ</strong>าตนเองได<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ รวมทั้งการตรวจสุขภา<strong>พ</strong>ตอภาวะเสี่ยงจากสารเคมีทางการเกษตรดวยการเจาะ<br />

เลือดทดสอบดวยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส สําหรับผลการประเมินระดับความรูตนเองของผูเขารวม<br />

โครงการจากแบบสอบถามมีรอยละ 75 ของผูเขารวมโครงการที่มีความรูในเรื่อง<strong>พ</strong>ิษภัยจากสารเคมีทางการเกษตร<br />

เปนอยางดี และมีเ<strong>พ</strong>ียงรอยละ 25 ของผูเขารวมโครงการเทานั้นที่มีระดับความรูดังกลาวอยูในเกณฑ<strong>พ</strong>อใช แตผล<br />

การตรวจสารเคมีตกคางในเลือดของผูเขารวมโครงการประมาณรอยละ 88 อยูในระดับเสี่ยงและไมปลอดภัย ซึ่งมี<br />

ทั้งผูที่ทําเกษตรอินทรีย เกษตรเคมี และผูที่อยูระหวางการปรับเปลี่ยนจากการทําเกษตรเคมีไปเปนเกษตรอินทรีย<br />

แสดงใหเห็นวาแมผูเขารวมโครงการเหลานั้น มีระดับความรูในเรื่องดังกลาวดีก็ตาม แตมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการใชสารเคมี<br />

กําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชในปจจุบัน (สําหรับผูที่ยังคงใชสารเคมีกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชอยู) และในอดีต (ผูที่อยูระหวางการ<br />

ปรับเปลี่ยน) ยังไมถูกตองและเหมาะสมหรืออาจมีการฉีด<strong>พ</strong>นสารเคมีกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชในความถี่สูงมาก จึงทําใหมี<br />

สารเคมีตกคางอยูในเลือดคอนขางสูงมาก สําหรับผูทําเกษตรอินทรียนั้น อาจเปนผลมาจากการใชสารฆาแมลงใน<br />

ครัวเรือนที่ไมถูกตองและเหมาะสม หรืออาจไดรับจากการใชสารเคมีกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชของผูทําเกษตรเคมีที่อยู<br />

แวดลอมแปลงปลูก<strong>พ</strong>ืชของตนเอง ผลจากการเขารวมโครงการ ทําใหเกษตรกรทราบถึงอันตรายและ<strong>พ</strong>ิษภัยจาก<br />

สารเคมีกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชตอตนเอง ผูอื่น และสิ่งแวดลอม และทราบถึงผลตกคางของสารเคมีกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชในเลือดของ<br />

ตนเอง การทราบถึงขอมูลดังกลาวนาจะเปนแรงจูงใจใหเกษตรกรกลุมตัวอยางลดปริมาณการใชปุ ยเคมีและ<br />

สารเคมีกําจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชลง <strong>พ</strong>รอมทั้งปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตเปนระบบเกษตรอินทรียในที่สุด<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ภาควิชา<strong>พ</strong>ืชไร คณะเกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมือง<strong>ศ</strong>รีไค<br />

อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน การ<strong>พ</strong>ัฒนารูปแบบการทําเกษตรอินทรียของสมาชิกชมรมรักษธรรมชาติ จังหวัดยโสธร<br />

Development a organic agricultural model of Nature keeping club's member in<br />

Yasothon province.<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน วิทยาลัยชุมชนยโสธร สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน<br />

สํานักงานคณะกรรมการการอุดม<strong>ศ</strong>ึกษา กระทรวง<strong>ศ</strong>ึกษาธิการ<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สืบเนื่องจากการมองเห็นวิสัยทั<strong>ศ</strong>นของจังหวัดยโสธร <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2553</strong> – 2556 ที่กลาววา “ยโสธรนาอยู<br />

การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียสูสากล” นโยบายของจังหวัดยโสธรคือสงเสริมและ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การบริหาร<br />

ทรั<strong>พ</strong>ยากรการเกษตรเปนเกษตรปลอดภัย และเกษตรอินทรียไมกระทบสิ่งแวดลอม และใหมีมูลคาเ<strong>พ</strong>ิ่มความ<br />

สอดคลองกับความตองการของตลาด โดยเริ่มจากชุมชนบานนาโซ อําเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ที่ไดเริ่มทําเกษตร<br />

อินทรียอยางครบวงจร โดยเริ่มแรกคือการปลูก<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>รเ<strong>พ</strong>ื่อตองการลดคาใชจายในการรักษาโรค และได<br />

<strong>พ</strong>ัฒนาการปลูก<strong>พ</strong>ืชชนิดอื่นมาเรื่อยๆ และแกนนําหลายคนไดมีโอกาสไปสัมมนาในที่ตางๆ ไดรับความรูเกี่ยวกับ<br />

การเกษตรแบบยั่งยืน แนวคิดเกษตรผสมผสานเขามา จึงไดจัดตั้งเปนชมรมรักษธรรมชาติ โดยมีการทําเกษตร<br />

อินทรีย เ<strong>พ</strong>ื่อการบริโภคและการสงออก กอตั้งเมื่อ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2534 จนถึงปจจุบัน มีสมาชิกในกลุมที่ทําเกษตรอินทรีย<br />

ประมาณ 40 ครัวเรือน<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

การ<strong>พ</strong>ัฒนารูปแบบการทําเกษตรอินทรียของสมาชิกชมรมรักษธรรมชาติ จังหวัดยโสธรนี้นับเปน<br />

นวัตกรรมการทําเกษตรอินทรียรูปแบบใหม ที่ไดรวบรวมองคความรูการทําเกษตรอินทรียมาหลายสิบป<br />

ผสมผสานกับองคความรูสมัยใหมในปจจุบัน การถายทอดความทันสมัยทางเทคโนโลยีโดยมีผลกระทบตอ<br />

สิ่งแวดลอมนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได การแปรรูปผลิตภัณฑที่หลากหลายและตอบสนองความตองการของ<br />

ผูบริโภคมากขึ้น ซึ่งรูปแบบที่ไดจะเปนตนแบบการทําเกษตรอินทรียของจังหวัดยโสธรตอไป<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

วิทยาลัยชุมชนยโสธร ถ.สุวรรณภูมิ-ยโสธร ต.สําราญ อ.เมือง จ.ยโสธร 35000


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน โครงการวิจัยการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ืชอาหารสัตวอินทรียเ<strong>พ</strong>ื่อใชเปนอาหารสัตวอินทรีย<br />

The Organic Pasture Seed Production for Organic Livestock Feeding<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน ดร.ธํารง<strong>ศ</strong>ักดิ์ <strong>พ</strong>ลบํารุง<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การเกษตรอินทรียเปนวาระแหงชาติ และเปนนโยบายสําคัญที่รัฐบาลไดบรรจุไวในแผนบริหารราชการ<br />

แผนดิน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2548-2551 ในชวงเวลาดังกลาว ประเท<strong>ศ</strong>ไทยไดผลักดันใหการเกษตรอินทรียขยายตัวเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น การ<br />

ป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรียก็เปนระบบการผลิตที่ไดรับการ<strong>พ</strong>ัฒนาใหขยายตัวรองรับกระแสอนุรักษสิ่งแวดลอมและการผลิต<br />

อาหารปลอดภัย เนื่องจากการผลิตป<strong>ศ</strong>ุสัตวอินทรียมีผลตอการอนุรักษระบบนิเว<strong>ศ</strong>และสิ่งแวดลอม โดยเฉ<strong>พ</strong>าะระบบ<br />

การผลิตสัตวเคี้ยวเอื้องในแปลง<strong>พ</strong>ืชอาหารสัตว รวมทั้งการผลิต<strong>พ</strong>ืชอาหารสัตวอินทรีย หากสามารถผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ<br />

ไดตามมาตรฐานอินทรีย จะทําใหการเกษตรอินทรียขยายตัวอยางกวางขวางและยั่งยืน นอกจากนั้น ยังสามารถ<br />

<strong>พ</strong>ัฒนาการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุอินทรียไปสูการผลิตเชิงการคา และการสงออกไปจําหนายตางประเท<strong>ศ</strong> เนื่องจาก<br />

ประเท<strong>ศ</strong>ไทยมี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ืชอาหารสัตวเขตรอน (Tropical pasture seed) สูงกวาประเท<strong>ศ</strong>อื่นใน<br />

ภูมิภาคเอเชีย<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

สามารถผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ<strong>พ</strong>ืชอาหารสัตวทั้ง 3 ชนิด มีคุณภา<strong>พ</strong>ดีตามมาตรฐาน ภายใตการจัดการระบบ<br />

อินทรีย โดยการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุถั่วอินทรียมีความเปนไปไดมากกวาการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุหญา เนื่องจากสามารถ<br />

ผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุถั่วฮามาตาอินทรียไดผลผลิต 30.00 ก.ก./ไร มีตนทุนการผลิต 60.66 บาท/ก.ก. เมื่อไมใชปุย และ<br />

เ<strong>พ</strong>ิ่มผลผลิตเปน 48.00 ก.ก./ไร และมีตนทุนเฉลี่ย 85.40 บาท/ก.ก. เมื่อใชปุยร็อคฟอสเฟตอัตรา 16 ก.ก. P2O5/<br />

ไร และ<strong>พ</strong>บวาการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุหญากินนีสีมวงมีผลผลิตเฉลี่ยสูงกวาหญารูซี่ โดย จังหวัดกาฬสินธุและเลยมี<br />

ความเหมาะสมมากกวานคร<strong>พ</strong>นมและสกลนคร เนื่องจากหญากินนีสีมวงอินทรียสามารถใหผลผลิต 26.35 และ<br />

26.50 ก.ก./ไร โดยไมใสปุย และมีตนทุนการผลิตต่ําที่สุดเฉลี่ย 85.70 และ 128.34 บาท/ก.ก. ตามลําดับ สวนการ<br />

ผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุหญารูซี่อินทรียนั้นไดผลผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุต่ํามาก อยางไรก็ตาม การทดลองนี้แสดงใหเห็นวา<br />

คุณภา<strong>พ</strong>ปุยอินทรีย ซึ่งธาตุอาหาร<strong>พ</strong>ืชสวนใหญอยูในรูป organic nutrients มีธาตุอาหาร<strong>พ</strong>ืชที่นําไปใชไดไม<br />

เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อตอการผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ และอัตราปุย วิธีการใสปุย ตลอดจนชวงเวลาใสปุยยังไมเหมาะสม นอกจากนั้นปุย<br />

อินทรียสําเร็จรูปยังมีราคาแ<strong>พ</strong>ง ควรมีการ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ปุยอินทรียที่มีธาตุอาหารในรูปที่<strong>พ</strong>ืชนําไป<br />

ผลิตเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุใหไดผลผลิตสูง <strong>ศ</strong>ึกษาอัตราปุย วิธีใสปุย และชวงเวลาใสปุยที่เหมาะสมที่สุดกอนแนะนําและ<br />

สงเสริมสูเกษตรกร<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

- กองอาหารสัตว กรมป<strong>ศ</strong>ุสัตว ถนน<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี 10400


รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย<br />

ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2552</strong>-<strong>2553</strong><br />

กลุมที่ 8: อื่นๆ


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน เครื่องปนวัสดุการเกษตรเอนกประสงค<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน นายทวี ปงสุเสน<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ปจจุบันวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี<strong>พ</strong>ะเยามีการจัดการเรียนการสอนในวิชา การผลิตสารชีวภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อ<br />

การเกษตรซึ่งยังขาดอุปปกรณในการสับบดเ<strong>ศ</strong>ษวัสดุ<strong>พ</strong>ืชผลการเกษตรเ<strong>พ</strong>ื่อใชในการทําปุยหมัก ที่ใชในการเรียน<br />

การสอนเรื่อง การเลือกใชเ<strong>ศ</strong>ษวัสดุเ<strong>พ</strong>ื่อการผลิตปุยหมัก โดยในรายวิชา การผลิตสรชีวภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อการเกษตร มี<br />

บทเรียนเรื่อง การทําปุยหมักและที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือในการผลิตปุยหมักนั้นมีขอเสียคือตองใชเวลาในการ<br />

ผลิตนานและวัสดุที่ใชนั้นเกิดการยอยสลายในเวลาที่แตกตางกันทําใหสูญเสียธาตุอาหารโดยไมจําเปน ซึ่งในสวน<br />

ของวัสดุที่ใชหมักมีปริมาณธาตุอาหารที่คอนขางต่ําอยูแลวดังนั้นหากมีการยอยสลายเ<strong>ศ</strong>ษวัสดุที่เหลือใชทาง<br />

การเกษตรที่สามารถนํามาผลิตปุยหมักไดใหมีขนาดเล็กลงแบบสม่ําเสมอกันจะทําใหขบวนการหมักและการยอย<br />

สลายมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>มากขึ้นและยนระยะเวลาในการหมักใหสามารถนําไปใชเปนปุยอินทรียไดเร็วยิ่งขึ้น ดังนั้น<br />

คณะผูวิจัยจึงมีแนวคิดในการจัดทําเครื่องปนเอนกประสงคเ<strong>พ</strong>ื่อเปนการแกปญหาดังกลาวขางตน<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

เครื่องปนวัสดุการเกษตรเอนกประสงค เปนเครื่องที่ใชสําหรับปนยอยเ<strong>ศ</strong>ษวัสดุการเกษตรเชน ฟางขาว<br />

ตอซังขาว ซังขาวโ<strong>พ</strong>ด หรือ กิ่งไมแหงขนาดเล็ก เ<strong>พ</strong>ื่อนํามาผลิตปุยหมัก หรือเปนวัสดุในการเ<strong>พ</strong>าะเห็ดรวมถึงยัง<br />

สามารถใชตีฝกถั่ว ๆ เ<strong>พ</strong>ื่อแยกเมล็ดถั่วไดดวย<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

เสร็จสิ้น<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี<strong>พ</strong>ะเยา เลขที่ 1 หมู 6 ต. แมนาเรือ อ. เมือง จ. <strong>พ</strong>ะเยา 56000<br />

โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท 054-483055


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน เครื่องอัดเม็ดปุยอินทรียแบบประยุกต<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน แผนกวิชาชางยนตการเกษตร<br />

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี<strong>พ</strong>ิจิตร<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

จากการ<strong>ศ</strong>ึกษารูปแบบกระบวนการผลิตปุยอินทรียอัดเม็ด <strong>พ</strong>บวาในปจจุบันมีวิธีการอยู 3 รูปแบบที่ใช<br />

กันในครัวเรือนและกลุมเกษตรกรคือ แบบอัดแทง แบบรีดเปนแทงและแบบจานฉีด<strong>พ</strong>นน้ําใหเปนเม็ด ซึ่งในแต<br />

ละรูปแบบจะมีขอดี ขอเสีย แตกตางกันไปเชน แบบอัดจะมีการสึกหรอเร็วมากโดยเฉ<strong>พ</strong>าะใบมีด แบบจานจะมี<br />

ราคาคอนขางสูง สวนแบบรีดราคาปานกลาง แตใหประสิทธิภา<strong>พ</strong>และคงทนกวา แตการนําวัสดุใสเครื่องลําบาก<br />

จึง<strong>พ</strong>ัฒนาทอลําเลียงแบบเกรียวมาประยุกต เ<strong>พ</strong>ื่อใหการทํางานสะดวกขึ้น<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

เครื่องอัดเม็ดปุยอินทรียแบบประยุกต เปนการนํารูปแบบการทํางานของเครื่องมือ 2 ชนิด มารวมกัน<br />

คือ เครื่องอัดเม็ดปุยแบบ Pellet mill กับทอลําเลียงขาวเปลือกแบบเกลียวสวานที่เกษตรกรใชลําเลียงขาวเปลือก<br />

จาก<strong>พ</strong>ื้นที่สูรถบรรทุก เ<strong>พ</strong>ื่อชวยประหยัดแรงและเวลาใหสะดวกและงายตอการทํางาน จากการ<strong>ศ</strong>ึกษาหลักการ<br />

ทํางานของเครื่องมือทั้งสอง จึงนํามาสูการประยุกตใช โดยมือฝายชางที่เปนนัก<strong>ศ</strong>ึกษา และชางมืออาชี<strong>พ</strong> อธิบาย<br />

ในสิ่งที่เราตองการใหมืออาชี<strong>พ</strong>ชวยในสิ่งที่เกินกําลังความสามารถ และที่สุดก็ไดนําเครื่องมือที่ประยุกตแลว มา<br />

ทดสอบกับเครื่องยนตการเกษตรและมอเตอรไฟฟา <strong>พ</strong>บขอบก<strong>พ</strong>รองก็ทําการแกไข เชน เสียงดัง กําลังไม<strong>พ</strong>อ รอบ<br />

ไมถึง จนกระทั่ง<strong>พ</strong>ัฒนาปรับเปลี่ยนเครื่องมือดังกลาวใหอยูดังรูปรางที่เห็น ซึ่งมีขีดความสามารถในการทํางานที่มี<br />

ประสิทธิภา<strong>พ</strong> และมีคุณภา<strong>พ</strong>กําลังการผลิตเปนที่นา<strong>พ</strong>อใจไดระดับหนึ่ง<br />

คุณสมบัติหรือคุณลักษณะเฉ<strong>พ</strong>าะของผลงานสิ่งประดิษฐ<br />

1. สามารถอัดเม็ดปุยอินทรียไดทุกชนิด<br />

2. ในความชื้นนอย ทําใหไมเสียเวลาตากนาน<br />

3. สามารถอัดเม็ดปุยไดไมต่ํากวา 100 กิโลกรัมตอชั่วโมง<br />

4. มีทอสงวัสดุไปยังกระบอกอัดเม็ด<br />

5. สามารถปฏิบัติงานไดเ<strong>พ</strong>ียงคนเดียว<br />

6. ในความชื้นที่เหมาะสมเม็ดปุยที่ไดสามารถนําไปใชหรือเก็บไดเลย<br />

7. สามารถใชไดทั้งกับเครื่องยนตการเกษตร,มอเตอร 3 แรง 3 เฟส หรือ 5 แรง 2 เฟส<br />

8. สามารถเคลื่อนที่ไปตามจุดตางๆ ที่มีวัตถุดิบได<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

มีตนแบบแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี<strong>พ</strong>ิจิตร


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน: ผาทอเสนใยกัญชงอินทรียแบบยกดอกสําเร็จรูป<br />

(Organic Hemp Textile Weaving Apparatus)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท ดีดี เนเจอร คราฟ จํากัด และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สืบเนื่องจากปจจุบันผาทอจากใยกัญชงไดรับความนิยมอยางมากในตลาดตางประเท<strong>ศ</strong> ตามกระแสของ<br />

การรณรงคการใชเสนใยผาจากธรรมชาติปรา<strong>ศ</strong>จากสารเคมี (Organic fiber) และคุณสมบัติที่ดีของผาใยกัญชง ทํา<br />

ใหความตองการของตลาดเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้นเรื่อย บริษัท ดีดี เนเจอร คราฟ จํากัด เปนผูผลิตรายแรกและรายเดียว<br />

ในการผลิตผาทอใยกัญชงมานานกวา 6 ป โดยในขั้นตอนการทอจะมี 2 แบบ คือ การทอดวยมือ และการทอดวย<br />

เครื่องจักร แตเดิมในอดีตใชการทอดวยมืออยางเดียว แต<strong>พ</strong>บปญหาหลัก คือ ลวดลายการทอไมสม่ําเสมอ แต<strong>พ</strong>อ<br />

นําเครื่องจักรมาชวยในการทอทําใหเกิดความยุงยากและเสียเวลาในการปรับแตงเครื่องทอ เนื่องจากเสนใยกัญชง<br />

จะมีความหยาบและขนาดไมสม่ําเสมอ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเท<strong>ศ</strong>ดานผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตผาทอเสนใยกัญชงแบบ<br />

ยกดอกสําเร็จรูป โดยการออกแบบและ<strong>พ</strong>ัฒนาเครื่องทอผาแบบมือสําหรับเสนใยกัญชง โดยการสรางกี่ทอมือ 20<br />

ตะกอ โดยใช 2 ขาเหยียบ และมีระบบมวนผาอัตโนมัติ รวมทั้งการปรับฟนหวีและตะกอใหมีขนาดใหญเปน<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษ<br />

สําหรับรองรับการใชเสนใยกัญชงที่มาจากธรรมชาติและผานการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย<br />

4. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

- บริษัท ดีดี เนเจอร คราฟ จํากัด เลขที่ 4 หมูบานสุดจิตตนิเว<strong>ศ</strong>น ซอย 1 ตรอก 3 ถนน<strong>พ</strong>ระราม 2 แขวง<br />

แสมดํา เขตบางขุนเทียน กรุงเท<strong>พ</strong> ฯ 10150<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี<br />

กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน: การบมเ<strong>พ</strong>าะผูประกอบการเกษตรอินทรีย<br />

Organic Enterprise Incubation<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: มูลนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

สืบเนื่องจากปญหาคอขวดสําคัญประการหนึ่งของการ<strong>พ</strong>ัฒนาเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทยก็คือ การที่<br />

ผูประกอบการขาดความรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการหวงโซเกษตรอินทรีย ตั้งแตการสงเสริมการผลิตกับเกษตรกร<br />

รายยอย การบริหารจัดการระบบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย และการบริหารหวงโซผลิตภัณฑ ทําใหการ<br />

<strong>พ</strong>ัฒนาเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไมสามารถขยายตัวไปไดอยางกวางขวาง<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

มูลนิธิสายใยแผนดินรวมกับสมาคมการคาเกษตรอินทรียไทยไดริเริ่ม<strong>พ</strong>ัฒนากระบวนการฝกอบรมและ<br />

การเปน<strong>พ</strong>ี่เลี้ยงที่ปรึกษาใหกับผูประกอบการไทยที ่สนใจที่จะ<strong>พ</strong>ัฒนาโครงการเกษตรอินทรียของตัวเอง โดยเริ่ม<br />

ตั้งแตการสัมมนาใหความรูกับผูบริหารของหนวยงาน (หลักสูตร 3 - 4 วัน) การจัดอบรมเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ<br />

ที่รับผิดชอบโครงการเกษตรอินทรียและการทํางานกับเกษตรกร (หลักสูตร 12 วัน) และกระบวนการในการเปน<strong>พ</strong>ี่<br />

เลี้ยง เ<strong>พ</strong>ื่อใหคําปรึกษาและคําแนะนํากับผูประกอบการ จนกระทั่งสามารถดําเนินโครงการเกษตรอินทรียประสบ<br />

ความสําเร็จตามเปาหมาย (รวมระยะเวลาอีก 10 เดือน)<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

มีรูปแบบ เนื้อหา และกระบวนการตางๆ <strong>พ</strong>รอมใหบริการกับผูประกอบการแลว<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

มูลนิธิสายใยแผนดิน 6 ซ.วัฒนานิเว<strong>ศ</strong>น7 ถ.สุทธิสาร แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10310<br />

โทร 02-277-9380-1, 02-277-9653 โทรสาร 02-277-9654


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน ไบโอคลีน<br />

BioClean<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน สิทธิ<strong>ศ</strong>ักดิ์ อุปริวง<strong>ศ</strong><br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

ไบโอคลีน ผลิตโดยโครงการไบโอคลีน ซึ่งวิวัฒนาการจากโครงการวิจัยปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong>หลากหลาย<br />

โครงการที่ผานมา (ไดแก โครงการปรับปรุงผลิตภัณฑปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong>ชุมชนเกษตรเท<strong>พ</strong>ารักษ ซึ่งไดรับทุนสนับสนุน<br />

การวิจัย ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2545 จากทบวงมหาวิทยาลัย ในขณะนั้น และโครงการผลิตปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ซึ่งไดรับทุนอุดหนุน<br />

การวิจัย ป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2546 จากมหาวิทยาลัยขอนแกน) ดวยทุนสวนตัวเริ่มตั้งแตป <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2546 เ<strong>พ</strong>ื่อแกไขปญหาเรื่อง<br />

กลิ่นจากการใชปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ดวยเหตุนี้กระบวนการผลิตไบโอคลีนจึงเลือกใชวัตถุดิบจากดอกไมนานา<strong>พ</strong>ันธุ<br />

เ<strong>พ</strong>ื่อใหมีกลิ่นหอมสอดคลองกับความตองการของผูใชบริการ โดยมีเปาหมายหลักเ<strong>พ</strong>ื่อใชเปนผลิตภัณฑเ<strong>พ</strong>ื่อ<br />

สิ่งแวดลอม เชน การบําบัดน้ําเสีย การกําจัดกลิ่นในหองน้ํา/ทอ/รอง/รางระบายน้ํา/บอ<strong>พ</strong>ักน้ําเสีย ฯลฯ และ<br />

ประยุกตใชในการปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ รวมทั้งการประยุกตใชประโยชนอื่นๆ<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ไบโอคลีน เปนผลิตภัณฑน้ําหมักชีวภา<strong>พ</strong>ชนิดหนึ่งที่ผลิตจากกระบวนการหมักดอกไมนานา<strong>พ</strong>ันธุ 14<br />

ชนิด อาทิเชน ดอกกุหลาบ ดอกดาวเรือง ดอกกลวยไม ดอก<strong>พ</strong>ุทธรักษา ดอกบัว ฯลฯ และใชกากน้ําตาลเปน<br />

สารอาหาร ทําการหมักโดยใชหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> ไบโอเทค-1 และหรือหัวเชื้อจุลินทรียปุยน้ําชีวภา<strong>พ</strong><br />

มข.1 โดยที่หัวเชื้อจุลินทรียปุ ยน้ําชีวภา<strong>พ</strong> มข.1 เปนหัวเชื้อจุลินทรียกลุมหมักสังเคราะห จํานวน 18 ชนิดสาย<strong>พ</strong>ันธุ<br />

ประกอบดวย แบคทีเรีย 9 ชนิด รา 6 ชนิด และยีสต 3 ชนิด ซึ่งคิดคนโดย <strong>ศ</strong>.ดร.ชัยทั<strong>ศ</strong>น ไ<strong>พ</strong>รินทร คณะ<br />

เกษตร<strong>ศ</strong>าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

ดําเนินการเสร็จสิ้น และมีผลิตภัณฑตนแบบ<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002<br />

โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ทและโทรสาร: 043-362121 E-mail: sittisak@kku.ac.th


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน บานหญาแฝก<br />

Vetiver grass house<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน <strong>ศ</strong>ูนยเรียนรูเกษตรอินทรียทะเลแกว เ<strong>พ</strong>ื่อขับเคลื่อนปรัชญาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียง<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

การสรางบานหญาแฝก เปนการสงเสริมใหคนไทยมีบานแบบประหยัด ตามหลักปรัชญาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ<br />

<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียง <strong>พ</strong>รอมๆ กับการสงเสริมใหคนไทยหันปลูกหญาแฝก ดวยการเ<strong>พ</strong>ิ่มรูปแบบการใชประโยชนของหญาแฝก<br />

ใหมากขึ้น และยังเปนทางเลือกใหผูที่สนใจที่อยากจะมีบานไดเขามา<strong>ศ</strong>ึกษาและทดลองทําบานหญาแฝก จากที่เคย<br />

เห็นการสรางบานดิน บานไมไผหรือบานฟาง มาแลวกอนหนานี้<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

ใชหญาแฝกที่มีใบยาวไดขนาด ตัดใบมาตากแดด ผึ่งใหแหงแลวนํามาคลุกกับดินเหนียวที่เตรียมไว<br />

จากนั้นนํามากอเปนผนังบาน ยึดโครงดวยไมไผ แลวตกแตงตามที่ตองการ โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังรูป<br />

Vetiver Fiber-Clay Composite<br />

Fresh Vetiver Grass<br />

Natural Clay<br />

Sun-Dried<br />

Dried Vetiver Fiber<br />

Sun-Dried Clay<br />

Preparation<br />

Vetiver Fiber Bundle<br />

Clay Slurry<br />

Parametric Studies<br />

• Ages of Vetiver<br />

6, 12 and 18 months<br />

Composite<br />

Vetiver Fiber-Clay Composite<br />

Testing<br />

Part a & b<br />

Properties of VF & Clay<br />

aaaaaaaaaaaaaaaaaaa<br />

1.1 Properties of VF<br />

- Natural Moisture Content<br />

- Water Absorption Test<br />

- Direct Tensile Strength<br />

1.2 Properties of Clays<br />

- Specific Gravity<br />

- Moisture Content<br />

- Liquid Limit and Plastic Limit<br />

- Shrinkage Limit<br />

- Particle Size Analysis by<br />

Hydrometer<br />

5. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินงาน<br />

Part c<br />

Mechanical and Physical<br />

Properties of VFCC<br />

2.1 Direct Tensile Strength<br />

2.2 Axial Compressive<br />

Strength<br />

2.3 Flexural Strength<br />

2.4 Direct Shear Strength<br />

2.5 Bearing Strength<br />

2.6 Density of VFCC<br />

- ASTM D2395-83<br />

Part d<br />

Construction of<br />

Vetiver-Clay Silo<br />

Demonstration to<br />

evaluate the<br />

Performance<br />

6. สถานที่ติดตอ<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏ<strong>พ</strong>ิบูลสงคราม<br />

ตําบล<strong>พ</strong>ลายชุม<strong>พ</strong>ล อําเภอเมือง<strong>พ</strong>ิษณุโลก จังหวัด<strong>พ</strong>ิษณุโลก โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท 055-267 080 ตอ 5000


การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

1. ชื่อผลงาน : “สรีรารมย” รานสปาอินทรียรักษาสุขภา<strong>พ</strong><br />

(“Sareerarom” Organic Medical Spa)<br />

2. ชื่อเจาของผลงาน: บริษัท มายด เบลนเดอร จํากัด และ<br />

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)<br />

3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน<br />

โครงการตนแบบสปาอินทรียรักษาสุขภา<strong>พ</strong>หรือ Organic Medical Spa นี้ จึงเปนสวนหนึ่งของการสราง<br />

รูปแบบธุรกิจนวัตกรรมดานการบริการ เ<strong>พ</strong>ื่อเปนสวนหนึ่งของการสงเสริมตลาดเกษตรอินทรียที่ใชวัตถุดิบ<br />

ภายในประเท<strong>ศ</strong> และยังเปนการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงสุขภา<strong>พ</strong> (Medical Tourism) เ<strong>พ</strong>ื่อดึงดูดนักทองเที่ยวตางชาติ<br />

อีกดวย โครงการตนแบบนี้จะเริ่มตนจากโปรแกรมการรักษาอาการปวดหลังดวยวิธีการทางเวช<strong>ศ</strong>าสตรเ<strong>พ</strong>ื่อปรับสมดุล<br />

กลามเนื้อของคลินิค Back & Spa by Sareerarom เปนรายแรก<br />

4. รายละเอียดผลงาน<br />

โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมระดับประเท<strong>ศ</strong>ดานการบริการ ดวยโปรแกรมการปรับสมดุลกลามเนื้อตอ<br />

อาการปวดหลังตามคําแนะนําโดยแ<strong>พ</strong>ทยและนักกายภา<strong>พ</strong>บําบัด เปนการรักษาดวยการใชรังสีอินฟาเรด Ultrasound<br />

และแผนความรอนชวยในการปรับสมดุลกลามเนื้อในระดับลึก รวมถึงการนวดบําบัดดวยผลิตภัณฑสปาที่เปน<br />

อินทรียทั้งหมด นับเปน Organic Medical Spa แหงแรกในประเท<strong>ศ</strong>ไทย<br />

4. สถานภา<strong>พ</strong>ของผลงาน<br />

อยูระหวางการดําเนินโครงการ<br />

5. สถานที่ติดตอ<br />

- บริษัท มายด เบลนเดอร จํากัด 152 หมู 14 บางนาตราด บาง<strong>พ</strong>ลี สมุทรปราการ 10540<br />

- สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 73/1 ถ.<strong>พ</strong>ระรามที่ 6 แขวงทุง<strong>พ</strong>ญาไท เขตราชเทวี<br />

กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ 10400

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!