27.06.2013 Aufrufe

ความตองการพลังงานของแพะ

ความตองการพลังงานของแพะ

ความตองการพลังงานของแพะ

MEHR ANZEIGEN
WENIGER ANZEIGEN

Sie wollen auch ein ePaper? Erhöhen Sie die Reichweite Ihrer Titel.

YUMPU macht aus Druck-PDFs automatisch weboptimierte ePaper, die Google liebt.

ปญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

ความตองการพลังงานของแพะนม<br />

Energy Requirement of Dairy Goat<br />

โดย<br />

นางสาวกอบพร ธรรมติกานนท<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตวและประมง<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

Curriculum of Animal Science<br />

Division of Animal Production Technology and Fisheries<br />

Faculty of Agricultural Technology<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา King Mongkut’s Institute of Technology<br />

เจาคุณทหารลาดกระบัง Chaokuntaharn Ladkrabang<br />

กรุงเทพฯ 10520 Bangkok 10520 Thailand


ใบรับรองปญหาพิเศษปริญญาตรี<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตวและประมง<br />

เรื่อง<br />

ความตองการพลังงานของแพะนม<br />

Energy Requirement of Dairy Goat<br />

โดย<br />

นางสาวกอบพร ธรรมติกานนท<br />

ไดรับการพิจารณาเห็นชอบโดย<br />

อาจารยที่ปรึกษา.........................................................................<br />

(ผศ.ดร. จงกลณี เยาวภาคยโสภณ)<br />

อาจารยที่ปรึกษา<br />

หลักสูตรรับรองแลว<br />

....................................................................................<br />

(รศ.ดร. กานต สุขสุแพทย)<br />

ประธานหลักสูตรสัตวศาสตร<br />

วันที่..........เดือน............................ป............


ปญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

ความตองการพลังงานของแพะนม<br />

Energy Requirement of Dairy Goat<br />

โดย<br />

นางสาวกอบพร ธรรมติกานนท<br />

เสนอ<br />

หลักสูตรสัตวศาสตร<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตวและประมง<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

พ.ศ.2553


บทคัดยอปญหาพิเศษ<br />

เรื่อง<br />

ความตองการพลังงานของแพะนม<br />

Energy Requirement of Dairy Goat<br />

ความตองการพลังงานของแพะมีความแตกตางกันโดยขึ้นกับสถานการณ ความตองการพลังงานใช<br />

ในการดํารงชีพ เพื่อใหรางกายอยูในภาวะสมดุล<br />

ความตองการพลังงานจะถูกใชเพื่อชดเชยกับที่สูญเสียไป<br />

หรือใชเพื่อใหปรับอยูไดในสิ่งแวดลอมตางๆ<br />

ความตองการสําหรับดํารงชีพถือเปนความตองการพลังงาน<br />

ขั้นพื้นฐานซึ่งจะตองการมากหรือนอยขึ้นกับชวงอายุ<br />

การใหผลผลิต พลังงานพื้นฐานนี้แพะยังใชในการ<br />

ปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมอีก<br />

ใชในการกินอาหาร การเดิน การแสดงพฤติกรรมตางๆ ซึ่ งกิจกรรมตางๆ ที่<br />

แพะปฏิบัติถือเปนกิจกรรมปกติที่ชวยใหแพะดํารงชีพอยูได<br />

สูตรอาหารแพะนมมีสวนผสมของ เปลือกถั่วเหลือง<br />

ขาวโพด รําละเอียด พลังงาน และแรดําแดง<br />

เปนอาหารขน และอาหารหยาบคือหญาแหงแพงโกลา จากการทดลองพบวาพลังงานยอยได (Digestible<br />

Energy) ของอาหารแพะเฉลี่ย 2144.61 kcal/kg และยอดโภชนะยอยไดรวม (Total Digestible Nutrient) ของ<br />

อาหารแพะเฉลี่ย<br />

54.84%<br />


คํานิยม<br />

การเรียบเรียงปญหาพิเศษเลมนี้ สําเร็จไดดวยการสนับสนุนจากหลายฝาย ขาพเจาใครขอบคุณ<br />

อาจารย จงกลณี เยาวภาคยโสภณ อาจารยที่ปรึกษาพิเศษ<br />

ซึ่งไดใหคําแนะนําในการตั้งปญหา<br />

วางแผนการ<br />

ทดลอง ตรวจสอบแกไขตนฉบับจนมีความสมบูรณ<br />

ขอขอบคุณ ฟารมแพะพี่สมหมาย ที่ใหความอนุเคราะหแพะจํานวนหนึ่งและสถานที่ทําการทดลอง<br />

ขอขอบคุณ อาจารยจรรยา คงฤทธิ์ อาจารยณหทัย วิจิตโรทัย เจาหนาที่ประจําหองปฏิบัติการ<br />

วิเคราะหอาหารสัตวของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตวและประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ขอขอบคุณ ชัยวัฒน, สลีลา, จิราภรณ และณัชชา ที่มีสวนชวยในการทําการทดลองและรูปเลมจน<br />

สําเร็จ<br />

ขาพเจาขอขอบคุณนักวิจัยคนควา อาจารย และผูประพันธตําราและเอกสารตางๆ<br />

ทุกฉบับ ซึ่ง<br />

ขาพเจาใชอางอิงในปญหาพิเศษเลมนี้ และคุณความดีที่ขาพเจาไดทําปญหาพิเศษเลมนี้ขาพเจาขอมอบคุณ<br />

ความดีนี้แดบิดามารดา ครูอาจารย และผูมีพระคุณทุกทานที่คอยเปนกําลังใจใหขาพเจาตลอดเวลา<br />

ข<br />

กอบพร ธรรมติกานนท<br />

13 มีนาคม 2554


สารบัญ<br />

หนา<br />

บทคัดยอ ก<br />

คํานิยม ข<br />

สารบัญ ค<br />

สารบัญตาราง ง<br />

สารบัญภาพ จ<br />

คํานํา 1<br />

วัตถุประสงค 1<br />

ตรวจเอกสาร 2<br />

อุปกรณและวิธีการ 16<br />

ผลการทดลอง 18<br />

สรุปและวิจารณผลการทดลอง 20<br />

ปญหาขอเสนอแนะ 21<br />

เอกสารอางอิง 22<br />

ภาพผนวก 23<br />


สารบัญตาราง<br />

ตารางที่ หนา<br />

1. คาพลังงานทั้งหมดของวัตถุดิบอาหาร 4<br />

2. โปรตีนและพลังงานของอาหารสัตว 7<br />

3. ความตองการโภชนะของแพะในแตละชวง 11<br />

4. ความตองการโภชนะของแพะโตเต็มวัย 12<br />

5. ความตองการโภชนะของแพะวัยเจริญเติบโต 12<br />

6. ความตองการพลังงานและโปรตีนเพื่อการดํารงชีพ 13<br />

7. ความตองการพลังงานและโปรตีนเพื่อการเจริญเติบโต 13<br />

8. ความตองการพลังงานและโปรตีนเพื่อการอุมทอง<br />

14<br />

9. ความตองการพลังงาน โปรตีนและแรธาตุเพื่อการผลิตนม<br />

1 กิโลกรัม 14<br />

10. พลังงานยอยไดของอาหารแพะ 18<br />

11. โภชนะยอยไดรวม 18<br />

12. การประเมินยอดโภชนะยอยไดรวมของอาหารหยาบและอาหารขน 19<br />


สารบัญภาพ<br />

่ ภาพที<br />

หนา<br />

1. แผนภูมิการใชพลังงาน 6<br />


ความตองการพลังงานของแพะนม<br />

Energy Requirement of Dairy Goat<br />

คํานํา<br />

้<br />

ในปจจุบันการเลี้ยงแพะเริ่มเปนที่แพรหลาย<br />

และขยายวงกวางมากขึ้น สวนหนึ่งนั้นมาจากการ<br />

สงเสริมผลักดันของภาครัฐ ที่ไดเล็งเห็นวากลุมผูบริโภคในบานเรา<br />

โดยเฉพาะชาวมุสลิม ยังมีความตองการ<br />

ที่จะใชแพะเปนอาหาร<br />

และเพื่อประกอบในพิธีกรรมตางๆ<br />

แตหากเมื่อเลี้ยงแลวไมมีการวางแผนและการ<br />

จัดการที่ดี<br />

แมความตองการบริโภคจะสูงมากเพียงใด ก็ยอมมีโอกาสประสบกับปญหาที่จะตามมาเชนกัน<br />

ประโยชนของนมแพะนั้น<br />

มีไขมันไลโนเลอิค ซึ่งน้ํานมแพะมีสูงถึง<br />

0.95/100 กรัม ซึ่งกรดไขมันนี้จะเปนตัว<br />

เพิ่มภูมิตานทานใหแกรางกายนอกจากนี<br />

ยังมีกรดไขมันไมอิ่มตัวสายโซสั้นและกลา<br />

ง ถือวาเปนกรดไขมัน<br />

หลักที่มีประโยชนตอผูบริโภคปจจุบัน<br />

เปนผลใหเกษตรกรในพื้นที่ภาคกลางหันมาเลี้ยงแพะมากขึ้น เพื่อ<br />

เปนทางเลือกในการบริโภคเนื้อแพะ นมแพะ โดยการนํามาเปนวัตถุดิบในการผลิตอาหารฮาลาล เพื่อการ<br />

สงออก นอกจากนี้ไขมันในน้ํานมแพะยังเปนตัวลําเลียงวิตามินที่มีสวนเพิ่มภูมิตานทานใหแกรางกายอีกดวย<br />

อาหารเปนองคประกอบที่สําคัญประการหนึ่ง ซึ่งมีบทบาทตอผลผลิตปศุสัตวทุกชนิด เพราะแมวาผู<br />

เลี้ยงจะมีพันธุดีไวเลี้ยง<br />

มีโรงเรือนที่ทันสมัย<br />

การจัดการสุขาภิบาลที่ถูกตองดีแลวก็ตาม<br />

ถาหากสัตวพันธุดี<br />

ไมไดกินอาหารที่มีคุณภาพ และคุณคาทางโภชนาการ และการใหอาหารไมถูกหลักวิชาการแลว การเลี้ยง<br />

สัตวก็จะไมประสบความสําเร็จตามความมุงหมาย โดยเฉพาะแพะซึ่งเปนสัตวที่กินอาหารงาย สามารถกิน<br />

อาหารไดหลายอยาง เชน หญา ใบไมตามพุมไม<br />

รวมทั้งวัสดุที่เหลือจากการเกษตร<br />

เ ชน กากปาลม กาก<br />

ยางพารา แตแพะก็ตายดวยโรคซึ่งเกิดจากอาหารเปนจํานวนมาก ดังนั้นจึงควรศึกษาและเอาใจใสเรื่องอาหาร<br />

เปนอยางดี โดยคํานึงถึงปจจัยและสถานการณตางๆ อันจะสงผลตอความตองการพลังงานของแพะดวย<br />

ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้ ไดทําการศึกษาถึงความตองการพลั งงานของแพะ โดยทําการเลี้ยงแพะ<br />

ควบคุมดูแลเรื่องการกินอาหารและหญา รวมถึงการเก็บตัวอยางมูลมาวิเคราะหในหองปฏิบัติการ<br />

วัตถุประสงค<br />

เพื่อการศึกษาถึงความตองการพลังงานของแพะ<br />

ประโยชนที<br />

่คาดวาจะไดรับ<br />

สามารถหาคาพลังงานการยอยไดและยอดโภชนะรวม


ตรวจเอกสาร<br />

พลังงาน (Energy)<br />

สวนประกอบในพืชหรือในอาหารที่สัตวนําไปเผาผลาญเปนพลังงานไดแก<br />

คารโบไฮเดรต และ<br />

ไขมัน พลังงานนี้จะถูกใชในการเคลื่อนไหวของอวัยวะตาง<br />

ๆ การเดิน การเคี้ยวอาหาร<br />

กานยอยอาหาร และ<br />

กระบวนการสรางน้ํานมเปนตน<br />

ผลผลิตของสัตวขึ้นอยูกับพลังงานที่สัตวไดรับ<br />

ซึ่งก็ขึ้นอยูกับปริมาณที่สัตว<br />

กิน (เฉลิมพล,ไมระบุป)<br />

พลังงานในอาหารสัตว<br />

คําจํากัดความทางอาหารสัตว<br />

1.1 หนวย น้ําหนัก<br />

หนวยที่ใชวัดในเรื่องน้ําหนักจะใชหนวยของ metric<br />

1 กิโลกรัม = 1,000 กรัม (g) = 2.205 ปอนด (lb)<br />

1 ปอนด = 453.6 g<br />

1 oz (ออนซ) = 28.35 g<br />

1.2 หนวยพลังงาน<br />

มีหนวยที่ใชพื้นฐานเปนแคลอรี<br />

calorie = cal หรือ “c” ปริมาณ 1 cal หรือ 4.184 joule (J) หมายถึง<br />

จํานวนความรอนที่ตองการเพิ่มขึ้นในการทําใหน้ําที่หนัก<br />

1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มจาก<br />

14.5 เปน 15.5 o<br />

C<br />

กิโลแคลอรี่ (kcal) 1 กิโลแคลอรี = 1,000 cal<br />

แม็กกะแคลอรี (Mcal) 1 แม็กกะแคลอรี = 1,000 kcal = 4.184 MJ<br />

= 1,000,000 cal<br />

= 1 T (Therm)<br />

Gross energy (GE)<br />

หมายถึงพลังงานรวม หรือพลังงานทั้งหมด ที่ไดจากการนําอาหารไปเผาหรือคือจํานวนของความ<br />

รอนที่วัดเปนแคลอรีของวัตถุดิบอาหาร<br />

ที่นําไปเผาใน<br />

bomb calorimeter หรือทําใหเกิดปฏิกิริยา oxidized<br />

ซึ่งจะไดคาพลังงานความรอนเกิดขึ้นจากการเผา<br />

คานี้บงบอกถึงปริมาณพลังงานที่มีอยูของวัตถุดิบ และมี<br />

ความจําเปนที่นํามาใชในการเริ่มตนคํานวณของสูตรอาหาร โดยทั่วไปอาหารคารโบไฮเดรตหรือแปง มีคา<br />

พลังงานทั้งหมด 4200 kcal. GE/กก.น้ําหนักแหง<br />

โปรตีนในอาหารมีคาพลังงาน ทั้งหมด 5600 kcal. GE/ กก.


น้ําหนักแหง และ ไขมันในอาหาร (long chain fatty acid, glycerol) มีคาพลังงานทั้งหมด 9400, 4300 kcal.<br />

GE/กก.น้ําหนักแหง จะพบวาหญาจะมีสัดสวนของ พลังงานทั้งหมด ประมาณ 4420 kcal. GE/กก.น้ําหนัก<br />

แหง แตหญาหมักจะมี พลังงานทั้งหมด เพิ่มขึ้นเนื่องจากปริมาณกรดที่เกิดขึ้นในขบวนการหมัก<br />

สวนไขมัน<br />

จะมีคาพลังงานทั้งหมดสูงสุด<br />

Total Digestible Nutrients (TDN)<br />

คือยอดโภชนะยอยไดรวม เปนคาพลังงานรวมจาการยอยได คาTDN มีความเหมาะสมสําหรับบง<br />

บอกถึงความตองการพลังงาน (Schroeder, 2004)<br />

% TDN = CP + CF + (EE x 2.25) + NFE<br />

CP = %digestible crude protein<br />

CF = %digestible crude Fiber<br />

EE = %digestible ether extract<br />

NFE = %digestible starch and sugar<br />

TDN = เปนคาของพลังงานรวมในอาหารที่เกิดจากการยอยได<br />

1) เปนคาที่ขึ้นกับผลการวิเคราะหอาหารสัตวทางเคมีของอาหารและมูล<br />

ซึ่งมาจากการรวบรวมคา<br />

การยอยไดของโภชนะ<br />

2) TDN เปนคาที่รวมเอาคาการยอยได (digestive) ของโปรตีนยอยได เยื่อใยยอยได<br />

ไขมันยอยได<br />

และแปงกับน้ําตาลที่ยอยไดงาย<br />

3) คา TDN จะแสดงออกมาในรูปเปอรเซ็นต (%) หรือในหนวยปอนด (lb) หรือกิโลกรัม แตระดับ<br />

พลังงานยอยไดจะมีหนวยเปน calories<br />

4) TDN จะไมคํานึงถึงคา gaseous energy การสูญเสียความรอนจากรางกาย หรือ heat production<br />

ที่เสียไป<br />

5) TDN จะใหคาเกินความเปนจริงในอาหารหยาบ (roughage) เมื่อเทียบกับอาหารขน<br />

(concentrates) คาความคลาดเคลื่อนนี้จะไมเปนปญหาหาก<br />

เทียบคาในกลุมเดียวกัน<br />

เชน อาหารขนดวยกัน<br />

หรือพวก grain ดวยกัน หรือกลุมอาหารหยาบดวยกันเอง<br />

แตหากเทียบตางกลุม<br />

เชน เทียบกลุมอาหารขนกับ<br />

กลุมอาหารหยาบ ตองคํานึงถึงความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นดวย โดยเฉพาะในกรณี คํานวณสูตรอาหารในรูป<br />

TMR (total mixed ration) แตถาคํานวณเฉพาะ concentrate ration ก็ไมเปนไร<br />

อยางไรก็ตาม การใชขอมูลของ TDN ยังคงใชควบคูกับการใช<br />

พลังงานสุทธิ หรือ Net Energy<br />

( Henning et al., 1996)


ตารางที่ 1 คาพลังงานทั้งหมดของวัตถุดิบอาหาร<br />

อาหาร GE (Kcal./ kg.DM)<br />

ฟาง 4.37<br />

หญาสด 4.47<br />

ขาวสาลี 4.4<br />

หญาหมัก 4.54<br />

กากถั่วเหลือง<br />

4.71<br />

กากเรปซีด 4.71<br />

ปลาปน 4.76<br />

ไขมัน 8.37<br />

ที่มา<br />

: Chamberlain and Wilkinson (1996)<br />

Digestible Energy (DE)<br />

พลังงานที่เกิดจากการยอยได เนื่องจากคาพลังงานในรูปของพลังงานทั้งหมด (GE) ทั้งหมดนั้นสัตว<br />

ไมสามารถยอยไดทั้งหมด<br />

และสัมพันธกับปริมาณขับถายออกมาในมูล ดังนั้นในสวนที่ยอยไดเราเรียกวา<br />

คา<br />

พลังงานจากการยอยได (DE) คานี้สามารถแปรปรวนไดตั้งแต 45% ของ GEในอาหารคุณภาพต่ําเชนฟาง<br />

ถึงมีคา 85% ของ GE ในอาหารที่มีคุณภาพสูงเชนเมล็ดธัญพืช<br />

คา DE ที่ขึ้นกับพลังงานที่สัตวกินเขาไป<br />

แลว<br />

หักดวยพลังงานที่มีอยูในมูล<br />

DE = energy consumed - fecal energy<br />

การใชคา DE ไมไดมีขอไดเปรียบแตกตางกับการใชคา TDN เทาใดนัก<br />

Metabolizable Energy (ME)<br />

พลังงานที่เกิดจากการเผาผลาญสารอาหารในรางกาย คา ME จะเปนพลังงานที่สัตวนําไปใชในการ<br />

เกิดขบวนการเผาผลาญสารอาหารตางของรางกาย จึงเปนคาที่วัดพลังงานของอาหารในสวนที่ยอยไดและหัก<br />

ออกดวยคาพลังงานที่สูญเสียไปในรูปส<br />

ารอาหารที่ขับถายออ กไปทางยูรีนและพลังงาน ที่เสียไปในรูปกาซ<br />

หรือกาซมีเทนการประเมินและการวัดคอนขางจะยุงยากกวาการวัดคาพลังงานที่เกิดจากการยอยได (DE) แต<br />

ก็มีความละเอียดมากขึ้น<br />

ME = energy consumed - fecal energy - gaseous energy - urinary energy


สําหรับพลังงานที่อยูในรูปกาซและยูรีนที่สัตวเคี้ยวเอื้องผลิตขึ้นมา<br />

จะมีเปนสัดสวนนอยเมื่อเทียบ<br />

กับพลังงานทั้งหมด (gross) ในสูตรอาหารหนึ่งๆ จะมี Gaseous Energy รวมกับ Urinary Energy ประมาณ 5-<br />

7% คา ME จะประเมินเกินความจริงเชนเดียวกับ TDN และ DE จึงควรเทียบกันเฉพาะในกลุมอาหาร<br />

ประเภทเดียวกันเทานั้น<br />

เชน อาหารขนกับอาหารขน คา ME เปนคาที่ใชกันมากทางประเทศอังกฤษ คา ME<br />

จะคลายคลึงกับระบบ Net energy ของประเทศอเมริกา<br />

Net Energy (NE)<br />

คือพลังงานสุทธิ เปนคาที่คํานวณและวัดไดยากที่จะใหไดคาถูกตองจริง<br />

แต อยางไรก็ตามการใช<br />

พลังงานสุทธิ (NE) คํานวณสูตรอาหารเพื่อใหใกลเคียงกับความตองการโภชนะของแพะและประหยัด<br />

อาหารที่สุด<br />

NE ไดจากการหักออกของคาพลังงานตางๆ<br />

NE = Gross energy - fecal energy - gaseous energy - urinary energy - heat increment<br />

ในโคนมคาประมาณของแผนภูมิการใชพลังงาน (รูปที่<br />

1) โดยทั่วไปถาใหโคนมไดรับอาหารเต็มที่<br />

จะเห็นวามีเพียง 20% ของพลังงานที่โคกินเขาไปเพื่อเปลี่ยนเปนผลผลิต<br />

อีก 20% ใชในการดํารงชีพของ<br />

รางกาย ประมาณ 20% จะสูญเสียเปนพลังงานความรอนสูญเสียออกมา อีก 30% สูญเสียออกมาในรูปมูลโค<br />

และอีกอยางละ 5% สูญเสียออกมาในรูปกาซกับยูรีน<br />

จะเห็นวาสัตวสามารถใชพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพเพียงเกือบครึ่งหนึ่งของที่ไดรับโดยการกิน<br />

เทานั้น<br />

ดังนั้นเพื่อใหเกิดประโยชนและทําความเขาใจไดจึงแบงสวนของ<br />

NE ยอยเปน NEm<br />

(Net energy for maintenance) NEg<br />

(Net energy for gain) NEl (Net energy for lactation)


รูปที่1<br />

แผนภูมิการใชพลังงาน (Schroeder, 2004)<br />

NE m<br />

เปนพลังงานที่สัตวใชเพื่อใหดํารงชีพอยูไดในภาวะสมดุลของรางกาย<br />

อยูในสภาวะที่ไมมีการ<br />

เพิ่มน้ําหนักและไมสูญเสียพลังงาน<br />

NEg<br />

เปนพลังงานที่รางกายตองการเพื่อนําไปใชในการเจริญเติบโต<br />

การเพิ่มน้ําหนักตัว<br />

การเพิ่มของ<br />

เนื้อเยื่อในรางกาย<br />

NEl<br />

เปนพลังงานที่ใชในการดํารงชีพและการใหผลผลิตน้ํานมในระหวางชวงการใหน้ํานม และใช<br />

สําหรับดํารงชีพในชวง 2 เดือนสุดทายระหวางพักรีดนมและตั้งทอง<br />

สวน NEm และ NEg จะใชใน<br />

ความหมายสําหรับเพื่อการเจริญเติบโตในวัยเติบโต


ตารางที่2 โปรตีนและพลังงานของอาหารสัตว<br />

อาหาร/วัตถุดิบอาหารสัตว โปรตีน พลังงาน<br />

ทุงหญา พืชอาหารโตเต็มที่ 8% CP 50% TDN<br />

กากถั่วเหลือง<br />

44% CP 88% TDN<br />

อาหารอัดเม็ด อาหารสําเร็จรูป 12% CP 78% TDN<br />

เมล็ดขาวบารเลย 13.5% CP 84% TDN<br />

เมล็ดขาวโพด 10% CP 89% TDN<br />

ฟางพืชแหงคุณภาพต่ํา<br />

8% CP 50% TDN<br />

หญาแหง 12% CP 58% TDN<br />

หญาแหงผสม 15% CP 60% TDN<br />

ถั่วอาหารสัตวแหง 18% CP 62% TDN<br />

ที่มา : ดัดแปลงจาก Schoenian (2011)<br />

ตัวอยางความตองการพลังงานของโค<br />

ความตองการพลังงานสําหรับการดํารงชีพ<br />

สัตวตองการพลังงานใชในการดํารงชีพ เพื่อใหรางกายอยูในภาวะสมดุล ความตองการพลังงานจะ<br />

ถูกใชเพื่อชดเชยกับที่สูญเสียไปหรือใชเพื่อใหปรับอยูไดในสิ่งแวดลอมตางๆ<br />

ความตองการสําหรับดํารงชีพ<br />

ถือเปนความตองการพลังงานขั้นพื้นฐานซึ่งจะตองการมากหรือนอยขึ้นกับขนาดของรางกาย<br />

เชน โคตัวโต<br />

ตองการพลังงานมากกวาโคตัวเล็กในการดํารงชีพ พลังงานพื้นฐานนี้โคยังใชในการปรับตัวเขากับสิ่งแวด-<br />

ลอมอีกใชในการกินอาหาร การเดิน การแสดงพฤติกรรมตางๆ ซึ่ง<br />

กิจกรรมตางๆ ที่โคปฏิบัติถือเปน<br />

กิจกรรมปกติที่ชวยใหโคดํารงชีพอยูได<br />

จะเห็นไดวา แมโ คตัวเดียวกันเมื่ออยูในตางสถานการณก็มีความ<br />

ตองการตางกัน เชน โคเลี้ยงในคอกกักขัง เมื่อถูกปลอยลงเลี้ยงในแปลงหญาที่ดี ความตองการพลังงานจะ<br />

เพิ่มขึ้น<br />

10% แตถาปลอยลงในแปลงหญาที่ไมดี<br />

ความตองการอาจเพิ่มขึ้นอีกถึง<br />

20% เพราะโคตองใช<br />

พลังงานทั้งการกิน การเดิน เพิ่มมากขึ้นกวาโคเมื่อตอนถูกเลี้ยงในโรงเรือนนั่นเอง<br />

ความตองการพลังงานในการดํารงชีพเปนตนทุนหลักของการผลิตโคนม พลังงานสําหรับการดํารง<br />

ชีพเปนปริมาณพลังงานที่ตองการเพื่อใหรางกายดํารงอยูไดอยางปกติในขนาดตัวและมีจํานวน tissue เทา<br />

เดิม โดยไมรวมพลังงานที่จะใชเพื่อการอื่น<br />

เชน การใหผลผลิต , การสืบพันธุ<br />

ในโคนมจะไมไดใชพลังงาน<br />

อยางมีประสิทธิภาพเทากันทุกสวน โคนมใช NEm กับ NEl ไดมีประสิทธิภาพใกลเคียงกัน แตใช NEg ไดมี


ประสิทธิภาพนอย แตก็ขึ้นอยูกับแตละวัตถุดิบวา<br />

วัตถุดิบอาหารสั ตวตัวใดให NEm, NEl, NEg อันไหนมาก<br />

สุดดวย<br />

ปริมาณพลังงานที่ตองการเพื่อการดํารงชีพจะเพิ่มขึ้นสัมพันธกับขนาดของรางกายสัตว แตไมไดมี<br />

ความสัมพันธกันโดยตรงกับน้ําหนักตัวแตจะสัมพันธกันเปนสัดสวนยกกําลัง 0.75 ของน้ําหนักตัว<br />

เชน ใน<br />

0.75<br />

โครุนมีความตองการพลังงานในรูป NE เทากับ 0.077 Mcal x (กก. ของน้ําหนักตัว)<br />

สําหรับโครีดนมจะ<br />

ตองการ NE เทากับ 0.08 Mcal x (กก. ของน้ําหนักตัว)<br />

0.75 สําหรับตัวเลขถาตองการคํานวณในรูป DE, ME,<br />

TDN ก็ใชหลักการเดียวกัน แตเปลี่ยนคาคงที่ของพลังงานดังกลาวเปน<br />

0.155 Mcal.DE, 0.133 Mcal.ME<br />

และ/หรือ 0.0352 กก. TDN/(กกของน้ําหนักตัว)<br />

0.75<br />

พลังงานสําหรับดํารงชีพในโคนมจะมีความแตกตางกัน<br />

บางตามปจจัยรวมที่มีผลตอน้ําหนักตัว<br />

เชน ลักษณะการดํารงชีพ การเคลื่อนไหว<br />

ความแตกตางระหวางตัว<br />

จะอยูในชวง<br />

8-10%<br />

0.75<br />

Metabolic size (Wกก.<br />

) หมายถึงหนวยคํานวณน้ําหนักของตัวสัตว ที่แสดงใหเห็นวาความตองการ<br />

พลังงานของสัตว จะแปรผันตามขนาดและพื้นที่ตัวของสัตวมากกวาจะแปรผันตามน้ําหนักตัวของสัตว<br />

โดยตรง หรือคิดเปนสัดสวนยกกําลัง 0.75 ของน้ําหนักตัวเชนโคน้ําหนัก 1,000 กก. ไมไดตองการ<br />

สารอาหารเปน 2 เทาของโคที่หนัก 500 กก.<br />

ความตองการใชพลังงานสําหรับเจริญเติบโต<br />

โคตองการพลังงานเพื่อสรางเสริมเนื้อเยื่<br />

อของรางกายใหเพิ่มจํานวนมากขึ้น พลังงานจะใชเพื่อ<br />

กระบวนการของ physiological และ biochemical reaction เชนใชในกระบวนการขนสงโภชนะและ<br />

สังเคราะหเซลลใหม ดังนั้นการเจริญเติบโตจะตองการพลังงานมากกวาการดํารงชีพ<br />

พลังงานที่ใชสําหรับ<br />

การเจริญเติบโตในแตละกิโลกรัมของน้ําหนักตัวจะ<br />

แตกตางกันตามวัยของโค เชน ในลูกโค น้ําหนักที่<br />

เพิ่มขึ้น<br />

จะเกิดจากการเพิ่มของโปรตีน<br />

น้ํา<br />

และแรธาตุในรางกาย มากกวาเพิ่มไขมัน<br />

แตในโคโตน้ําหนักตัวที่<br />

เพิ่มขึ้น<br />

จะเกิดจาการเพิ่ม/สะสมของไขมันมากกวาน้ํา<br />

, โปรตีน และแรธาตุในรางกายความตองการพลังงาน<br />

ที่ใชเพื่อเพิ่มปริมาณไขมันในรางกายจะใชมากกวาใชเพิ่มปริมาณโปรตีนในรางกายหรือองคประกอบ<br />

รางกายอื่นๆดังนั้น<br />

โคที่ตัวโตมากจะตองการพลังงานในการเพิ่มน้ําหนักตัวมากกวาเมื่อเทียบกับลูกโค ในโค<br />

เล็ก-โครุนจํานวนของไขมันสะสม โปรตีน แรธาตุ และน้ํา<br />

สะสมในรางกายจะขึ้นอยูกับอัตราการ<br />

เจริญเติบโต (weight gain) ถาเพิ่มน้ําหนักอยางรวดเร็ว<br />

โครุนเหลานี้จะอวนไขมันและตองการพลังงานตอ<br />

กก. น้ําหนักตัวมากขึ้น<br />

โคเล็ก -โคสาวที่อยูในวัยกําลั<br />

งเจริญเติบโต ยอมตองการพลังงานสวนเกินจากการ<br />

ดํารงชีพ เพื่อใชพลังงานในการแปรเปนเนื้อเยื่อเสริมสรางความแข็งแรงของรางกาย และเพิ่มน้ําหนักตัวโต<br />

ขึ้นเรื่อยๆ<br />

โคจะโตเต็มที่เมื่ออายุได<br />

5 ป พลังงานที่ตองการสําหรับการดํา รงชีพ การเจริญของโคจะแตกตาง<br />

กัน


ความตองการพลังงานเพื่อการสืบพันธุ<br />

ปกติโคจะใหลูกปละ 1 ครั้ง<br />

หรือ มีชวงหางการตกลูก (calving interval) 365 วัน เพื่อใหโคนม<br />

สามารถใหลูกไดเปนปกติ หรือมีชวงหางของการตกลูกใกลเคียงกับทฤษฎีนั้น เราตองคํานึงถึงความตองการ<br />

พลังงานในสวนนี้ดวย<br />

โคที่ตั้งทอง<br />

และมีอายุลูกในทอง 6 เดือนแรกนั้นมีความตองการพลังงานเพิ่มขึ้นไม<br />

มากนัก แตจะเพิ่มขึ้นมากในระยะ<br />

3 เดือนสุดทายกอนคลอด เพราะลูกในทองจะโตมากตองการสารอาหาร<br />

ใชในการเติบโตมาก ถามีการเผื่อพลังงานในสวนนี้อยางพอเพียง<br />

ก็จะชวยใหลูกในทองเจริญเติบโตแข็งแรง<br />

และคลอดออกมาเจริญเติบโตไดแข็งแรง รวมถึงแมโคก็จะกลับมาเปนสัด ผสมติด และตั้งทองในรอบตอไป<br />

ไดงายขึ้น<br />

ความตองการพลังงานสําหรับการเจริญเติบโตของลูกโคในทองจะมีลักษณะเปนเสนโคงแบบ<br />

exponential ในโคพันธุเจอรซี่มีน้ําหนักของ<br />

reproductive products (หมายถึงสวนของลูกโคและน้ําคร่ํา)<br />

ประมาณ 55 กก. น้ําหนักรวมนี้กวา 64% จะพัฒนาขึ้นในชวง 2 เดือนสุดทายกอนคลอด สวนในโคโฮนส<br />

ไตนฟรีเชี่ยนจะมี<br />

reproductive products มากกวาเจอรซี่<br />

1-2 เทาตัว โดยทั่วไปจํานวนพลังงานที่ตองการ<br />

ในชวง 4-8 สัปดาหสุดทายของการตั้งทองโคจะตองการเพิ่มขึ้นอีก 3.0-6.0Mcal.NE หรือ 0.57-1.146 kg.<br />

TDN ตอวัน พลังงานจํานวนนี้ไมรวมการเพิ่มน้ําหนักตัว<br />

(gain for fattening)<br />

ความตองการพลังงานเพื่อการใหน้ํานม<br />

พลังงานที่นํามาใชผลิตน้ํานมนั้น<br />

จะเปนสวนที่นอกเหนือจากการดํารงชี<br />

พ การเติบโต การสืบพันธุ<br />

เพราะโคนมแตละตัวใหผลผลิตที่ตางกัน<br />

ทั้งปริมาณและคุณภาพน้ํานม<br />

โดยเฉพาะ %ไขมันในน้ํานม โคที่มี<br />

%ไขมันในน้ํานมมากยอมตองการพลังงานมากกวาโคที่มี %ไขมันในน้ํานมนอยกวา หรือโคที่ใหปริมาณ<br />

น้ํานมมากกวาก็ยอมตองการพลังงานมากกวาโคใหปริมาณน้ํานมนอย<br />

การเปรียบเทียบผลผลิตน้ํานมจึงตอง<br />

เทียบกันที่<br />

%ไขมันมาตรฐาน เชน ที่<br />

4% FCM (Fat corrected milk)<br />

ปริมาณน้ํานมมาตรฐานที่ 4%ไขมัน<br />

4%FCM = 0.4 (กก. น้ํานม) + 15 (กก.ไขมัน)<br />

หรือ = {0.4 + (0.15 x %ไขมัน)}กก.น้ํานม<br />

ปริมาณน้ํานมมาตรฐานที่ 3.5%ไขมัน<br />

3.5%FCM = {0.432+ (0.1625 x %ไขมัน)} x กก.น้ํานม<br />

ในโคนมทุกชวงอายุการใหน้ํานมมีความตองการพลังงานสัมพันธกับไขมันนมและปริมาณน้ํานม<br />

นั่นเอง การสังเคราะหน้ํานมตองการพลังงานเพื่อสรางองคประกอบตางๆ ของน้ํานม และพลังงานที่ ใชใน<br />

การสรางน้ํานมแตละกิโลกรัมจะเกี่ยวของกับพลังงานที่มีอยูในน้ํานมอยางใกลชิดโดยเฉพาะระหวางจํานวน<br />

ไขมันและพลังงานในนม ดังนั้นเราจึงใชปริมาณน้ํานมที่ผลิตไดในการคํานวณหาความตองการพลังงานเพื่อ<br />

การผลิตน้ํานม<br />

(4% FCM) คาพลังงานที่ตองการเพื่อการผลิตน้ํานมนี้จะไมรวมพลังงานสําหรับการดํารงชีพ


ดังนั้นแตละกิโลกรัมของน้ํานมที่เพิ่มขึ้นจะตองการพลังงานรวมสําหรับดํารงชีพและเพื่อการใหน้ํานม<br />

ลดลง<br />

เปนสัดสวนเพราะความตองการเพื่อดํารงชีพจะคงที่<br />

ความตองการพลังงานสําหรับการทํางาน<br />

ในโคนมความตองการพลังงานเพื่อสวนนี้จะนอย เพ ราะไมไดใชโคนมเพื่อการทํางาน การทํางาน<br />

ของกลามเนื้อในโคนมจึงสัมพันธกับการเดินแทะเล็มหญา<br />

หรือกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นในแตละวัน<br />

เชน การ<br />

กิน การเคี้ยว<br />

การเดินไป-มา ดังนั้นถาเราใหโคนมมีกิจกรรมมาก หมายถึงการเพิ่มรายจายคาพลังงาน<br />

สวนเกินมากขึ้นเชนกัน<br />

ประสิทธิภาพของการใชพลังงาน<br />

ปริมาณอาหารที่ใหโคกินจะมีผลกระทบตอประสิทธิภาพของการใชยอยอาหารและในการเผา<br />

ผลาญสารอาหารของรางกาย การใหอาหารที่มีสัดสวนของอาหารขน (concentrate) มาก จะมีผลทําใหการ<br />

ยอยไดลดลงเพราะอัตราการไหลผานสารอาหารเร็วขึ้นประสิทธิภาพการใช อาหารพลังงานจะลดลงได<br />

เนื่องจากการสูญเสียออกมาในรูปกาซ methane และยูรีนในขณะที่ความตองการพลังงานเพื่อการดํารงชีพ<br />

ของโคทั้งที่ใหผลผลิตต่ํากับโคที่ใหผลผลิตสูงจะใกลเคียงกันและความตองการพลังงานเพื่อการใหผลผลิต<br />

จะตางกัน ทําใหโคที่ใหน้ํานมมากจึงตองการอาหารมากขึ้นตอหนวย<br />

กก. น้ํานมที่เพิ่มขึ้น<br />

และการใหอาหาร<br />

ที่มากเกินไปจะเปนสัดสวนกับการสะสมไขมันในรางกายดวย ประสิทธิภาพการใชอาหารจะผันแปรตาม<br />

ชนิดของอาหารซึ่งถูกยอยสลายในกระเพาะหมักเชนสูตรอาหารที่มีอาหารขนมากจะมีสวนของแปงมากเปน<br />

ผลใหอัตราสวนของ acetate ตอ propionate ลดลง สูตรอาหารเชนนี้จึงมีแนวโนมที่จะทําใหโคอวนมากกวา<br />

ทําใหโคใหน้ํานมได ประสิทธิภาพของพลังงานที่ยอยได (DE) ที่จะเปลี่ยนไปเปนน้ํานมไดจะมีคาประมาณ<br />

55% (53-57%) หรือคิดในรูป Metabolizable energy (ME) เปลี่ยนไปเปนน้ํานมจะมีประสิทธิภาพ<br />

62% (61-<br />

64%)<br />

ผลกระทบของการขาดพลังงาน<br />

การขาดอาหารพลังงานในโคนมมักเกิดจากการที่โคกินอาหารนอยเกินไปหรือไดรับอาหารที่มี<br />

ความเขมขนของอาหารพลังงานต่ํา รวมถึงอาจมีความนากินต่ํา ในโคนมปกติจะกินอาหารเพื่อสนับสนุนการ<br />

ทํางานของรางกาย และกิจกรรมตางๆ ในกรณีการใหอาหารแบบแยก มักจะใหอาหารหยาบแบบใหกินเต็มที่<br />

โอกาสในการขาดพลังงานก็จะมีมากเพราะเรามักไมทราบคุณภาพของอาหารหยาบ โดยเฉพาะอาหารหยาบ<br />

ที่มีคุณภาพต่ํา


ความตองการพลังงานของแพะ<br />

แพะเปนสัตวกระเพาะรวม (Ruminant) เชนเดียวกับโค กระบือ และแกะ จึงสามารถใชหญาและ<br />

อาหารหยาบตาง ๆ ไดเชนเดียวกัน แพะมีความสามารถหาอาหารกินไดเกงเปนพิเศษ เชน หากินใบไมตาม<br />

พุมไมตาง<br />

ๆ ไดเปนอยางดี และยังมีความสามารถกินอาหารไดมากคิดเปนน้ําหนักวัตถุอาหารแหงถึงรอยละ<br />

2 – 5 กิโลกรัม ซึ่งก็เปนการเพียงพอ<br />

แตควรจะมีอาหารแรธาตุเสริมใหบางเล็กนอย อาหารหยาบสด ในทาง<br />

ปฏิบัตินั้นจะไมใหแพะกินอาหารหยาบสดลวน ๆ ตลอดวัน แตจะจัดอาหารหยาบแหง เชน หญาแหงฟาง<br />

แหง ตนขาวฟางแหง หรือตนขาวโพดแหงสับเปนทอนเล็ก ๆ สั้น<br />

ๆ ใหแพะกินสวนหนึ่งเสียกอน กอนที่จะ<br />

ปลอยลงเลี้ยงในแปลงหรือนําหญาสดใหกิน<br />

ทั้งนี้เพื่อปองกันโรคทองอืด<br />

ทองรวมหรือทองเสีย เพราะแพะ<br />

เปนโรคทองอืดเนื่องจากอาหารหยาบสดไดงายมากในฤดูแลง หญาสดไมคอยพอกิน อาจจะใหอาหารผสม<br />

(อาหารขน) ชวยบางการใหอาหารขนเสริมผูเลี้ยงตอระมัดระวัง<br />

คือ จัดใหตามความจําเปน เพื่อใหสัตวไดรับ<br />

โภชนะพอตามความตองการเทานั้น เชน แพะรีดนมตองการโภชนะเพื่อการดํารงชีพและเพื่อการผลิตน้ํานม<br />

หากใหอาหารกินมากเกินไปจะทําใหแพะอวนงายมากและมักจะผสมพันธุไมคอยติด<br />

และจะไมมีแพะไดรีด<br />

นมในฤดูถัดไป คิดคํานวณสูตรอาหาร เชน อาหารผสมสําหรับแพะพอพันธุหรือแมพันธุที่ไมใหนม<br />

มี<br />

โปรตีนประมาณ 10-12 เปอรเซ็นต สวนแพะรุนกําลังเติบโตและแพะรีดนม อาหารควรมีโปรตีน 10 - 21<br />

เปอรเซ็นต เปนตนอาหารเสริม เชน แรธาตุปลีกยอยและเกลือ มีตั้งใหกินตลอดเวลา<br />

(งานศูนยบริการ<br />

วิชาการและฝกอบรม, ไมระบุป)<br />

ตารางที่ 3 ความตองการโภชนะของแพะในแตละชวง<br />

แตละชวงของแพะ โปรตีน พลังงาน<br />

พอแพะ (Bucks) 11% CP 60% TDN<br />

แมแพะโตเต็มวัยแหงนม (Dry Doe) 10% CP 55% TDN<br />

แมแพะปลายตั้งทอง (Late Gestation) 11% CP 60% TDN<br />

แมแพะชวงใหน้ํานม (ระดับการใหน้ํานมปกติ<br />

หรือมีคาเฉลี่ยของน้ํานม : Average Milk)<br />

11% CP 60% TDN<br />

แมแพะชวงใหน้ํานม (ใหน้ํานมระดับสูง<br />

: High<br />

Milk)<br />

14% CP 65% TDN<br />

ลูกแพะ (น้ําหนัก 30 ปอนด) 14% CP 68% TDN<br />

ที่มา : National Research Council (NRC, 1981) อางโดย Schornia (2011)


ตารางที่ 4 ความตองการโภชนะของแพะโตเต็มวัย<br />

ขั้นตอนการผลิต<br />

ความตองการโภชนะ (DMbasis)<br />

DMI, % of BW % โปรตีนหยาบ % TDN<br />

การดํารงชีพ 1.8 – 2.4 7 53<br />

ชวงแรกของการทอง 2.4 – 3.0 9 – 10 53<br />

ชวงปลายของการทอง 2.4 – 3.0 13 - 14 53<br />

ระยะใหนม<br />

ที่มา : Rashid (2008)<br />

2.8 – 4.6 12 - 17 53 - 66<br />

ตารางที่ 5 ความตองการโภชนะของแพะวัยเจริญเติบโต<br />

Production stage ความตองการโภชนะ (DMbasis)<br />

DMI % of BW %โปรตีนหยาบ %TDN<br />

- 25 kg dairy doelings<br />

and castrates, gaining<br />

100 – 150 g/hd/day<br />

3.3 – 3.8 12<br />

67<br />

-25 kg boer dairy<br />

doelings and castrates,<br />

gaining 100 – 150<br />

g/hd/day<br />

-25 kg intact dairy male,<br />

gaining<br />

- 100 g/hd/day<br />

- 150 g/hd/day<br />

-25 kg intact dairy male,<br />

gaining<br />

g/hd/day<br />

100 – 150<br />

ที่มา<br />

: Rashid (2008)<br />

3.0 – 3.4<br />

15 - 17<br />

3.2 – 3.7 10<br />

15<br />

3.3 – 3.7<br />

15<br />

67<br />

67<br />

86<br />

67


ตารางที่6 ความตองการพลังงานและโปรตีนเพื่อการดํารงชีพ<br />

น้ําหนักแพะ<br />

ยอดโภชนะยอยไดรวม<br />

โปรตีนที่ยอยได<br />

(กิโลกรัม)<br />

(TDN , กก. / วัน)<br />

DP./ กก. / วัน<br />

15 0.27 13.9<br />

20 0.31 17.2<br />

25 0.36 20.3<br />

30 0.42 23.3<br />

ที่มา<br />

: ดัดแปลงจาก Devendra and Mc Leroy (1982)<br />

ตารางที่ 7 ความตองการพลังงานและโปรตีน เพื่อการเจริญเติบโต<br />

น้ําหนักแพะ<br />

ADG<br />

TDN<br />

DP<br />

DMI<br />

(กิโลกรัม) (กรัม / วัน) (กก./ วัน) (กรัม / วัน) (กรัม / วัน)<br />

10 0.27 0.26 23.2 414<br />

100 0.38 33.5 597<br />

15 20 0.31 27.6 492<br />

100 0.43 37.9 676<br />

20 50 0.36 32.0 571<br />

100 0.48 42.3 755<br />

30 50 0.45 39.8 709<br />

100 0.56 50.1 983<br />

ที่มา<br />

: ดัดแปลงจาก ดัดแปลงจาก Devendra and Mc Leroy (1982)


ตารางที่ 8 ความตองการพลังงานและโปรตีน เพื่อการอุมทอง<br />

น้ําหนักแพะ<br />

DMI<br />

TDN<br />

DP<br />

(กิโลกรัม)<br />

(กรัม / วัน)<br />

(กก./ วัน)<br />

(กรัม / วัน)<br />

15 656 0.45 40.0<br />

20 816 0.56 49.8<br />

25 950 0.66 59.6<br />

30 1104 0.76 67.4<br />

ที่มา<br />

: ดัดแปลงจาก Devendra and Mc Leroy (1982)<br />

ตารางที่ 9 ความตองการพลังงาน โปรตีนและแรธาตุเพื่อการผลิตนม<br />

1 กิโลกรัม<br />

% ไขมัน<br />

TDN<br />

DP<br />

Ca<br />

P<br />

ในนม<br />

(กรัม )<br />

(กรัม)<br />

(กรัม)<br />

(กรัม)<br />

3.5 301 47 0.8 0.7<br />

4.0 311 52 0.9 0.7<br />

4.5 340 59 0.9 0.7<br />

5.1 361 66 1.0 0.7<br />

5.5 380 73 1.1 0.7<br />

ที่มา<br />

: ดัดแปลงจาก Devendra and Mc Leroy (1982)<br />

แพะจําเปนตองไดรับแรธาตุและวิตามินสําหรับการดํารงชีพและการเจริญเติบโตพอสมควร แตพืช<br />

อาหารสัตวโดยทั่วไปมักจะมีแรธาตุอยูในระดับต่ํา<br />

หรือขาดแรงธาตุที่จําเปนบางชนิดสําหรับแพะเสมอ<br />

โดยเฉพาะการขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส แพะที่ขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส จะทําใหการ<br />

เจริญเติบโตลดลงกวาปกติ กระดูกไมแข็งแรง หรือออนแอตอโรคบางชนิด ดังนั้นจึงควรใหแพะไดรับธาตุ<br />

ชนิดนี้บาง<br />

โดยการเติมลงไปในอาหารแหลงที่มาของแรธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส คือ กระดูกปน เหลือก<br />

หอยปน เนื้อปน<br />

และเกลือแกง เปนตนสําหรับวิตามิน แพะจะไดรับอยางเพียงพอจากอาหารที่กินอยูในยาม<br />

ปกติ หรือแพะอาจสังเคราะหเองได แตในบางครั้งแพะอาจขาดบางผูเลี้ยงจึงตองจัดหาวิตามินใหแพะกินโดย<br />

เติมลงในสูตรอาหาร เชน เติมน้ํามันตับปลา<br />

วิตามินเอ บี ดี และ อี หรือหาอาหารกอนเกลือแรใหแพะเลียกิน<br />

เองดวย เพื่อปองกันไมใหแพะขาดไวตามินพวกนี้


โดยสรุปก็จะกลาวไดวา แพะมีความตองการโภชนะดังตอไปนี้<br />

1. น้ํา<br />

ประมาณวันละ 500 – 1000 ซีซี (ควรใหเกินไวเปนวันละ 1 – 2 ลิตร)<br />

2. วัตถุแหง ตามน้ําหนักตัวและอัตราความเจริญเติบโต การอุมทองหรือการใหนมซึ่งโดยทั่ว<br />

ๆ ไป<br />

แพะที่หนัก 10 – 30 กิโลกรัมจะตองการวัตถุแหงอยูระหวาง<br />

400 – 1,200 กรัม/วัน โดย แพะน้ําหนักมาก<br />

กําลังเติบโต หรือกําลังใหนม ยอมตองการวัตถุแหงมากขึ้นดวย<br />

3. พลังงาน ซึ่งวัดในรูปของ<br />

ทีดีเอ็น (TDN) สําหรับแพะที่หนัก<br />

10 – 30 กิโลกรัมจะอยูระหวาง<br />

0.26<br />

– 00.80 กก./วัน<br />

4. โปรตีนที่ยอยได<br />

สําหรับแพะหนัก 10 – 30 กิโลกรัม อยูระหวาง<br />

23 – 70 กรัม/วัน<br />

5. แคลเซียม สําหรับแพะหนัก 10 – 30 กิโลกรัม อยูระหวาง<br />

0.9 – 4.0 กรัม / วันและฟอสฟอรัสอยู<br />

ระหวาง 0.7 – 2.8 กรัม/วัน<br />

6. วิตามิน เอ สําหรับแพะหนัก 10 – 30 กิโลกรัม อยูระหวาง<br />

400 – 4,700 หนวยสากล / วันและ<br />

วิตามินดีอยูระหวาง<br />

85 – 950 หนวยสากล/วัน


อุปกรณและวิธีการ<br />

ตัวอยางอาหาร<br />

อาหารที่นํามาวิเคราะหโดย Proximate analysis คืออาหารขนแพะนม เปนสูตรอาหารที่มีสวนผสม<br />

ของ เปลือกถั่วเหลือง<br />

ขาวโพด รําละเอียด พลังงาน และแรดําแดง สวนอาหารหยาบคือ หญาแหงแพงโกลา<br />

(ภาพผนวกที่<br />

1, 2 และ 3)<br />

วิธีการ<br />

การเตรียมกรงทดลอง<br />

- ทําความสะอาดกรง และทําที่เก็บมูลโดยการใชผาตาขายไนลอน<br />

ยึดติดกับเสาทั้งสี่ดานใตกรง<br />

เพื่อ<br />

รองรับมูลที่แพะถายและหลนลงมาตามชองวางระหวางพื้นกรง<br />

- ทําความสะอาดภาชนะที่ใสอาหารขน และมัดหญาแหงเปนฟอนกลม คลุมทับดวยตาขาย แลวนําไป<br />

แขวนไวใหพอดีกับระดับการกินของแพะ<br />

การเตรียมสัตวทดลอง<br />

- ทําการเลือกแมแพะที่อยูในระยะใหนม จากการทดลองเลือกมา 4 ตัวคือ ไวท นอง เบา และ โลน<br />

(ภาพผนวกที่<br />

4 สัตวทดลอง)<br />

- ชั่งน้ําหนักแพะ<br />

(ภาพผนวกที่<br />

5 และ 6)<br />

- ใหแพะทดลองแตละตัวกินอาหารขนและหญาแหงแพงโกลาที่เตรียมไว<br />

ใชระยะเวลา 1 สัปดาหเปน<br />

ระยะที่เตรียมการทดลอง (Preliminary feeding) โดยใหกินอาหารขนตามปริมาณที่ให<br />

และกินหญา<br />

แหงแพงโกลาแบบเต็มที่<br />

การผสมอาหาร<br />

สูตรอาหารมีสวนผสมของ เปลือกถั่วเหลือง<br />

ขาวโพด รําละเอียด พลังงาน และแรดําแดง<br />

(ภาพผนวกที่<br />

7)<br />

การเก็บตัวอยางมูลและอาหาร<br />

- หลังจากระยะเตรียมการทดลองใหแพะทดลองแตละตัวกินอาหารขนและหญาแหงแพงโกลา เปน<br />

เวลา 8 วัน (Collecting period)


- ทําการชั่งน้ําหนักอาหารขนและหญากอนใหแพะกินทุกครั้ง<br />

ตอนเชาจะใหกินเวลา 7 นาฬิกา และทํา<br />

การชั่งน้ําหนักอาหารขน<br />

หญา และมูลที่เหลือในชวงบาย<br />

เวลา 15 นาฬิกา และจะมีการชั่งน้ําหนักที่<br />

เหลืออีกครั้งกอนเวลา 7 นาฬิกาของวันถัดไป (ภาพผนวกที่<br />

8)<br />

- นําน้ําหนักที่ชั่งไดทั้งสองครั้ง<br />

มารวมกันจะไดเปนน้ําหนักของปริมาณอาหารและหญาที่กินเขาไป<br />

รวมทั้งน้ําหนักมูลของแพะทดลองในแตละตัว<br />

- เก็บตัวอยางอาหาร หญา และมูลมาที่หองปฏิบัติการ<br />

ทําการบดดวยเครื่องบดละเอียด<br />

สวนมูลให<br />

นําไปอบแหงที่ 65 องศาเซลเซียสเปนเวลา 48 ชั่วโมงกอนที่จะนําไปบด (ภาพผนวกที่<br />

9)<br />

การวิเคราะหสวนประกอบของอาหารสัตวทางเคมี (Proximate analysis)<br />

วิเคราะหองคประกอบหลักของโภชนะในอาหาร หญา และมูลดังนี้<br />

- Proximate analysis<br />

วิเคราะหวัตถุแหง หรือความชื้น<br />

(moisture)<br />

วิเคราะหหาเถาทั้งหมด (Ash)<br />

วิเคราะหไขมันในอาหารสัตว (EE)<br />

วิเคราะหเยื่อใยทั้งหมด<br />

(CF)<br />

วิเคราะหโปรตีนหยาบ (CP)<br />

วิเคราะหแคลเซียม (Ca)<br />

วิเคราะหฟอสฟอรัส (P)<br />

- Cell wall analysis<br />

NDF<br />

ADF<br />

ADL<br />

ระยะเวลาการทดลอง<br />

ระยะเวลาในการทดลอง 3 เดือน โดยเริ่มตั้งแตวันที่<br />

17 เมษายน 2553 สิ้นสุดการทดลองวันที่<br />

30<br />

พฤษภาคม 2553<br />

สถานที่ทําการทดลอง<br />

หองปฏิบัติการทางโภชนะศาสตรสัตว หลักสูตรสัตวศาสตร สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตวและ<br />

ประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10520<br />

สมหมายฟารม ต.หนองจอก เขตหนองจอก กรุงเทพฯ 10530


ผลการทดลอง<br />

1. พลังงานยอยได (Digestible Energy) ของอาหารแพะ<br />

แพะทดลองตัวที่ 1 ถึง 4 (ไวท นอง เบา โลน ) มีการยอยไดของพลังงานในอาหารแพะเทากับ<br />

1483.19, 1958.79, 2069.08 และ 2405.97 kcal/kg ตามลําดับ และมีคาเฉลี่ยการยอยไดของพลังงานใน<br />

อาหารแพะ เทากับ 1979.26 kcal/kg ถาไมคิดแพะตัวแรก จะมีคาเฉลี่ยการยอยไดของพลังงานในอาหารแพะ<br />

เทากับ 2144.61 kcal/kg<br />

ตารางที่10 พลังงานยอยไดของอาหารแพะ<br />

แพะทดลองตัวที่ พลังงานที่เกิดจากการยอยได การยอยไดของพลังงาน (kcal/กก.)<br />

1. (ไวท) 1483.19 -<br />

2. (นอง) 1958.79 1958.79<br />

3. (เบา) 2069.08 2069.08<br />

4. (โลน) 2405.97 2405.97<br />

เฉลี่ย<br />

1979.26 2144.61<br />

2. ยอดโภชนะยอยไดรวม (Total Digestible Nutrient : TDN)<br />

แพะทดลองตัวที่ 1 ถึง 4 (ไวท นอง เบา โลน) มียอดโภชนะยอยไดรวมในอาหารแพะเทากับ 34.24,<br />

49.42, 52.66 และ 62.44 kcal/kg ตามลําดับ และมีคาเฉลี่ย โภชนะยอยไดรวม ในอาหารแพะ เทา กับ 49.69<br />

kcal/kg ถาไมคิดแพะตัวแรก จะมีคาเฉลี่ยโภชนะยอยไดรวมในอาหารแพะ<br />

เทากับ 54.84 kcal/kg<br />

ตารางที่ 11 โภชนะยอยไดรวม<br />

แพะทดลองตัวที่ TDN (%) TDN (%)<br />

1. (ไวท) 34.24 -<br />

2. (นอง) 49.42 49.42<br />

3. (เบา) 52.66 52.66<br />

4. (โลน) 62.44 62.44<br />

เฉลี่ย<br />

49.69 54.84


3. การประเมินยอดโภชนะยอยไดรวมของอาหารหยาบและอาหารขน<br />

การประเมินตามหลักการของ CSDA – Natural Resources Conservative Service, Booneville Plant<br />

Material Center (2008) ดังแสดงในตารางที่ 12<br />

ตารางที่ 12 การประเมินยอดโภชนะยอยไดรวมของอาหารหยาบและอาหารขน<br />

type of goat<br />

feed<br />

%Crude<br />

Protein<br />

%NDF % ADF %TDN<br />

Roughage 4.26 63.25 25.46 74.16<br />

Concentrate 18.56 25.46 18.3 79.19


สรุปและวิจารณผลการทดลอง<br />

1. Digestible Energy ของอาหารแพะนมในแพะทดลองมีคา Energy Value เปนไปในทํานองเดียวกัน<br />

กับเปอรเซ็นตของ Total Digestible Nutrient กลาวคือ แพะทดลองที่สามารถดูดซึมพลังงานจาก<br />

อาหารไดมาก จะมีจํานวนแคลอรีตอกิโลกรัมอาหารสูง ก็จะมีปริมาณของยอดโภชนะยอยไดรวม<br />

สูง หรือ มีคา Total Digestible Nutrient สูงดวยเชนกัน<br />

2. Concentrate ที่ใชในการทดลองนี้มีเปอ รเซ็นต Total Digestible Nutrient เทากับ 79.19% ซึ่ง<br />

สอดคลองกับ Schoenian (2011) ที่กลาววาอาหารสําเร็จรูปจะมี Total Digestible Nutrient เทากับ<br />

78% ในในทางตรงขาม Roughage ที่ใชในการทดลองนี้<br />

มีเปอรเซ็นต Total Digestible Nutrient<br />

เทากับ 74.16% ซึ่งมีคามากกวาความเปนจริง<br />

และตรงกันขามกับงานวิจัยของ Schoenian (2011) ซึ่ง<br />

รายงานวาในพืชอาหารสัตวที่โตเต็มที่จะมีเปอรเซ็นต<br />

Total Digestible Nutrient เทากับ 50%


ปญหาขอเสนอแนะ<br />

1. การจะหาคาพลังงานทั้งหมดจะตองอาศัยการรวมกันของโปรตีน เยื่ อใย และไนโตรเจนฟรี<br />

เอกซแทรกมาประกอบกัน ซึ่งนับวามีความซับซอนในการคํานวณพอสมควร ผูทําการทดลอง<br />

ควรมีความรอบคอบ<br />

2. ควรมีความรับผิดชอบในการเก็บรักษาผลการทดลองในกระบวนการตางๆใหเรียบรอย เพื่อ<br />

ความสะดวกในการยอนกลับมาดูในภายหลัง


เอกสารอางอิง<br />

เฉลิมพล แซมเพชร.ไมระบุป. Forage Quality and Nutritive Values.<br />

งานศูนยบริการวิชาการและฝกอบรม.ไมระบุป. ฝายวิจัยและบริการวิชาการ คณะทรัพยากรธรรมชาติ<br />

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. วิทยาเขตหาดใหญ.<br />

Chamberlain A.T. and J.M. Wilkinson. 1996. Feeding the dairy cow. London : Chalcombe Publications.<br />

Devendra, C. and G.B. McLeroy. 1982. Goat and sheep production in the tropics. Longman<br />

Group (London and New York). 271p. [Online] Available<br />

: http://www.dld.go.th/pvlo_naw/PDF/eee.pdf 14/05/2011<br />

Machen, R.Goat Nutrition – Energy. Associate Professor & Extension Livestock Specialist Texas<br />

Henning, J.C., G. D. Lacefield and D. Amaral-Phillips. 1996. Interpreting Forage Quality Reports.<br />

Cooperative Extention Service.University of Kentucky, College of Agriculture.[Online] Available<br />

: www.uky.edu/Ag/AnimalSciences/pubs/id101.pdf 14/05/2011<br />

Rashid, M .2008.Goats and Their Nutrition. Manitoba Goat Assosiation. Minitoba Agriculture Food and<br />

Rural. [Online] Available : www.manitobagoats.ca 01/01/2011<br />

Schroeder, J.W. 2004. Forage Nutrition for Ruminants. Extension Dairy Specialist. [Online] Available :<br />

http://www.google.co.th/url?sa=t&source=web&cd=1&ved=0CCAQFjAA&url=http%3A%2F%2<br />

Fwww.ag.ndsu.nodak.edu%2Faginfo%2Fdairy%2FJWS%2FVITA%2520web.pdf&rct=j&q=Schr<br />

oeder%2C%20J.W.%202004.%20Forage%20Nutrition%20for%20Ruminants&ei=5hHNTfm6G<br />

MKHrAfd3NSmDA&usg=AFQjCNGN1OkFPtKxXpmMoEh_dhqd4ZWv9g. 14/05/2011<br />

Technical Note.2008. USDA – Natural Resources Conservation Service, Booneville Plant. 4p. [Online]<br />

Material Center. Amaral-Phillips.2000.INTERPRETING FORAGEQUALITY REPORTS.<br />

[Online] Available : http://www.plant-materials.nrcs.usda.gov/pubs/mipmctn8118.pdf 14/05/2011<br />

Schoenian, S. 2011. Feeding the Goat Herd.Western Maryland Research & Education Center. [Online]<br />

Available : http://www.amberwavespygmygoats.com/index.php?option=com_<br />

content&view=article&id=1580:feeding-the-goat-herd&catid=33:management&Itemid=73<br />

14/05/2011


ภาพผนวกที่<br />

1 อาหารทดลอง (เปลือกถั่วเหลือง)<br />

ภาพผนวกที่<br />

2 อาหารทดลอง (อาหารผสม)<br />

ภาพผนวกที่<br />

3 อาหารหยาบ (หญาแหงแพงโกลา)<br />

ภาพผนวก


ภาพผนวกที่<br />

4 สัตวทดลอง<br />

ภาพผนวกที่<br />

5 ชั่งน้ําหนักแพะในระยะเตรียมการทดลอง<br />

ภาพผนวกที่<br />

6 ชั่งน้ําหนักสัตวทดลอง


ภาพผนวกที่<br />

7 ผสมอาหาร<br />

ภาพผนวกที่<br />

8 ชั่งหญาแหงกอน<br />

– หลัง การทดลอง<br />

ภาพผนวกที่<br />

9 เก็บมูล

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!