13.07.2015 Views

แผนยุทธศาสตร์ อย. ปี พ.ศ. 2554-2557 - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวง ...

แผนยุทธศาสตร์ อย. ปี พ.ศ. 2554-2557 - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวง ...

แผนยุทธศาสตร์ อย. ปี พ.ศ. 2554-2557 - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวง ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

3. การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ประชาชนในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>มีแนวทาง/มาตรการหลัก 2 ด้าน ได้แก่o เผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้และประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ รวมถึง<strong>พ</strong>ัฒนาระบบการแจ้งเตือนให้กับประชาชน<strong>อย</strong>่างรวดเร็วo <strong>พ</strong>ัฒนาเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมภาคประชาชน4. การควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด มีแนวทาง/มาตรการหลัก ๓ ด้าน ได้แก่o กํากับดูแลผู้รับอนุญาตวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดให้ปฏิบัติตามกฎหมาย<strong>อย</strong>่างเคร่งครัดo <strong>พ</strong>ัฒนาให้มีมาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบการจัดการข้อมูลo ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายในการเฝ้าระวังวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดจากวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์และยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ดังกล่าวข้างต้น จะเป็นทิ<strong>ศ</strong>ทางกรอบแนวทางและมาตรการที่กําหนดไว้ แต่การที่จะบรรลุผลสําเร็จได้ตามเป้าหมายได้<strong>อย</strong>่างแท้จริง จําเป็น<strong>อย</strong>่างยิ่งที่จะต้องนํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ไปปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม โดยดําเนินการตามตัวชี้วัด กลยุทธ์ และแผนงาน/โครงการที่กําหนดไว้มีการสื่อสารให้บุคลากรภายในองค์กรรับทราบทิ<strong>ศ</strong>ทางองค์กร ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ และแผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อร่วมกันขับเคลื ่อนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์องค์กรให้สัมฤทธิ์ผลมุ่งสู่การ<strong>พ</strong>ัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong><strong>อย</strong>่างยั่งยืน ส่งผลให้สังคมมีสุขภา<strong>พ</strong>ดี


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>4. กลวิธีการดําเนินงานสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้นํากระบวนการ “การบริหารเชิงกลยุทธ์”(StrategicManagement) และ “การวางแผนกลยุทธ์” (Strategic Planning) มาใช้ในการจัดทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong> ซึ่งได้<strong>พ</strong>ัฒนากระบวนการ/ระบบการวางแผน ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)มีการสื่อสารและถ่ายทอดให้บุคลากรทุกระดับรับทราบ และเข้าใจในกระบวนการวาง<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อร่วมกันผนึกกําลังขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมายที่กําหนดไว้ ทั้งนี้กระบวนการวาง<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้4.1 การเตรียมการจัดทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> (Strategic Preparation) เป็นการจัดเตรียมกระบวนการวาง<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ตามขั้นตอนที่กําหนดไว้ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ และสามารถปฏิบัติได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนหลัก ๆ ดังนี้1) การจัดทําคู่มือการวาง<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ขององค์กร2) การจัดทําแผนภา<strong>พ</strong> (Flowchart) ของกระบวนการวางแผนเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์3) การจัดทํากรอบความเชื่อมโยงแผนบริหารราชการแผ่นดินระดับชาติ แผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong>ระดับ<strong>กระทรวง</strong>ลงสู่ระดับกรม4) สื่อสารกระบวนการวางแผนเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ให้บุคลากรในองค์กรรับทราบโดยทั่วกัน4.2 การวิเคราะห์ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กร (Strategic Analysis) วิเคราะห์ถึงปัจจัยและสภาวะต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับองค์กร ทั้งภายในและภายนอก ด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่เหมาะสม เ<strong>พ</strong>ื่อมีความรู้ ความเข้าใจ และทราบสถานะของตัวองค์กร ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนหลัก ๆ ดังนี้1) คัดเลือกเครื่องมือในการวิเคราะห์ที่เหมาะสมกับองค์กร2) จัดทํากระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละประเภท3) รวบรวมปัจจัยภายในและภายนอกที่สําคัญมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่o การทบทวนวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์ และ<strong>พ</strong>ันธกิจขององค์กรo ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (จากหมวด 3)o ผลการดําเนินงาน <strong>ปี</strong> 2551 และ 2552o ความเสี่ยงในด้านการเงิน สังคม และจริยธรรมo กฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างส่วนราชการo ปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อประสิทธิภา<strong>พ</strong>และประสิทธิผลในการปฏิบัติงานขององค์กร- จุดแข็ง และจุดอ่อนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน- ปัจจัยภายในต่าง ๆ ขององค์กรที่มีผลต่อกระบวนการปฏิบัติงาน- สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมภายนอกที่มีผลกระทบต่อองค์กร4.3 การกําหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางขององค์กร (Strategic Direction Setting) เป็นการกําหนดเป้าหมายที่องค์กรต้องการมุ่งไปสู่หรือผลลั<strong>พ</strong>ธ์ระดับสูงที่องค์กรต้องการที่จะบรรลุ ได้แก่ การกําหนดวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์ <strong>พ</strong>ันธกิจค่านิยม เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาวและผลการดําเนินงานที่คาดหวัง ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนหลัก ๆ ดังนี้1) กําหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางขององค์กรให้มีความสอดคล้องกับ<strong>พ</strong>ันธกิจและความต้องการ/ความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนได้2) การจัดทําแผนภา<strong>พ</strong> (Flowchart) ของกระบวนการกําหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางขององค์กร3) สื่อสารทิ<strong>ศ</strong>ทางขององค์กรให้บุคลากรภายในและภายนอกองค์กรรับรู้ และเข้าใจสามารถนําไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานได้4) ติดตามและประเมินผลการกําหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางขององค์กร<strong>อย</strong>่างเป็นระบบคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 2


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>4.4 การกําหนดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กร (Strategic Formulation) เป็นการนําข้อมูลต่าง ๆที่ได้รับจากการกําหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางขององค์กร และการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกองค์กรมาจัดทําเป็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ในระดับและรูปแบบต่าง ๆ เ<strong>พ</strong>ื่อช่วยให้องค์กรสามารถบรรลุถึงวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์ และภารกิจที่กําหนดไว้ ซึ ่งประกอบด้วยขั้นตอนหลัก ๆ ดังนี้1) กําหนดประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ตัวชี้วัดและเป้าหมายและกลยุทธ์หลักขององค์กรให้สอดคล้องต่อความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียความท้าทายที่กําหนดไว้ในลักษณะสําคัญขององค์กร ความสมดุลของโอกาสและความท้าทายในระยะสั ้น(มิติด้านการเงิน มิติด้านลูกค้า มิติด้านกระบวนการภายใน) และระยะยาว (มิติด้านการ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์กร) และความสมดุลของความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สําคัญทั้งหมด2) วิเคราะห์ความเสี่ยงในแต่ละเป้าประสงค์ ที่ไม่สามารถบรรลุเป้าประสงค์ที่ต้องการ3) สื่อสารยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กรให้บุคลากรภายในและภายนอกองค์กรรับรู้ และเข้าใจสามารถนําไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานได้4.5 การนํายุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ไปปฏิบัติ (Strategic Implementation) เป็นการนํายุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ได้วางแผนจัดทําและคัดเลือกไว้มาดําเนินการประยุกต์ ปฏิบัติ เ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดผลลั<strong>พ</strong>ธ์ตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนหลัก ๆ ดังนี้1) จัดทําแผนที่ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (Strategy Map)เ<strong>พ</strong>ื่อใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารถ่ายทอดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ของส่วนราชการให้กับบุคลากรในระดับต่าง ๆ2) จัดทําแผนปฏิบัติการ (Action Plan) หรือแผนงาน/โครงการ ที่สอดรับกลยุทธ์หลักขององค์กร <strong>พ</strong>ร้อมรายละเอียดโครงการที่แสดงให้เห็นถึงรายละเอียดของแผนการดําเนินงาน แผนการใช้งบประมาณ และแผนการบริหารกําลังคน3) สื่อสารแผนที่ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์และแผนปฏิบัติการให้บุคลากรภายในและภายนอกรับรู้ และเข้าใจสามารถนําไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานได้4) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการได้บรรลุเป้าหมายระหว่างกอง4.6 การสื่อสารและถ่ายทอดให้บุคลากรในองค์กรรับทราบ1) จัดทําแผนการสื่อสารและถ่ายทอดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ให้บุคลากรภายในและภายนอกองค์กรรับทราบ2) ประเมินผลตามแผนการสื่อสาร4.7 การติดตามและประเมินผล (Strategic Control and Evaluation) เป็นการติดตามและประเมินผลความก้าวหน้าของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการและแผนงาน/โครงการต่าง ๆ อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือสําหรับผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจในการดําเนินงานหรือปรับปรุงแก้ไขการดําเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่กําหนดไว้ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนหลัก ๆ ดังนี้1) ติดตามและประเมินผลการดําเนินการตามกระบวนการวาง<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> <strong>พ</strong>ร้อมทั้งสรุปบทเรียนและข้อเสนอแนะสําหรับนําไปใช้ในการปรับปรุงกระบวนการจัดทําแผนเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กรให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ต่อไป2) ติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ได้แก่- แผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong> และแผนปฏิบัติราชการประจํา<strong>ปี</strong>- ตามตัวชี้วัดเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ตัวชี้วัดตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ- แผนงาน/โครงการต่าง ๆรายละเอียดตามภา<strong>พ</strong>ที่ 1คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 3


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมภายนอกองค์กรในการวิเคราะห์สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมภายนอกองค์กรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ดําเนินการตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ได้แก่ การตรวจสอบ (Scanning) การ<strong>พ</strong>ยากรณ์ (Forecasting) และการประเมิน(Assessing) ทั้งนี้ เ<strong>พ</strong>ื่อให้องค์กรสามารถเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมที่จะรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้งสามารถจัดเตรียมกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับสิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคตได้ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงได้กําหนดประเภทและชนิดของข้อมูลที่มีผลกระทบต่อการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> โดยมีรายละเอียด ดังนี้1.1 ปัจจัยด้านการเมือง (Political Component = P)1.1.1 นโยบายรัฐบาล และนโยบายรัฐมนตรีว่าการ<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขรัฐบาลภายใต้การนําของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายรัฐบาลเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2551 โดยแนวนโยบายดังกล่าวได้แบ่งการดําเนินการเป็น 2 ระยะ คือระยะเร่งด่วนที่จะเริ่มดําเนินการและกําหนดเวลาแล้วเสร็จใน<strong>ปี</strong>แรก<strong>อย</strong>่างชัดเจน และระยะการบริหารราชการ 3 <strong>ปี</strong>ของรัฐบาล โดยนโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดําเนินการใน<strong>ปี</strong>แรก ได้แก่ การเสริมสร้างความสมานฉันท์และความสามัคคี การปฏิรูปการเมือง การสร้างความเชื่อมั่นของประเท<strong>ศ</strong>ไทยในสายตาชาวโลกโดยการเป็นเจ้าภา<strong>พ</strong>จัดประชุมสุดยอดผู้นําอาเซียน การฟื้นฟูเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ การเร่งลงทุนเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาประเท<strong>ศ</strong>การชะลอการเลิกจ้างงาน การสร้างหลักประกันด้านรายได้แก่ผู้สูงอายุ และการส่งเสริมบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) ทั่วประเท<strong>ศ</strong>ให้ปฏิบัติงานเชิงรุก เป็นต้น สําหรับนโยบายที่จะดําเนินการในช่วงระยะเวลา 3 <strong>ปี</strong> เป็นการดําเนินการตามนโยบาย<strong>พ</strong>ื้นฐานแห่งรัฐ โดยนโยบายด้านสาธารณสุข จะเน้นการสนับสนุนการดําเนินการตามแนวทางของกฎหมายสุขภา<strong>พ</strong>แห่งชาติโดยเร่งดําเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภา<strong>พ</strong> และลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภา<strong>พ</strong>และการเจ็บป่วยเรื้อรัง การสร้างขีดความสามารถในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค วินิจฉัย และดูแลรักษา<strong>พ</strong>ยาบาล<strong>อย</strong>่างเป็นระบบ การปรับปรุงระบบบริการด้านสาธารณสุข โดยลงทุน<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริการสุขภา<strong>พ</strong>ของภาครัฐในทุกระดับให้ได้มาตรฐาน ลงทุนผลิตและ<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากรทางการแ<strong>พ</strong>ทย์และสาธารณสุขและผลักดันการขับเคลื่อนให้ประเท<strong>ศ</strong>ไทยเป็น<strong>ศ</strong>ูนย์กลางด้านสุขภา<strong>พ</strong>และการรักษา<strong>พ</strong>ยาบาลในระดับนานาชาติสําหรับนโยบายรัฐมนตรีว่าการ<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข (นายจุรินทร์ ลักษณวิ<strong>ศ</strong>ิษฎ์)ได้มอบไว้ให้เป็นแนวทางปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> โดยเน้น 10 เรื่องที่สําคัญดังนี้1. เน้นการส่งเสริมสุขภา<strong>พ</strong>และป้องกันโรคเป็นหลัก2. เร่งรัดการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>การรักษา<strong>พ</strong>ยาบาล และคุณภา<strong>พ</strong>การบริการในทุกระดับ3. สร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภา<strong>พ</strong>ประสิทธิผลการควบคุมโรค4. คุ้มครองผู้บริโภคที่เกี่ยวข้องกับสุขภา<strong>พ</strong><strong>อย</strong>่างจริงจัง5. สนับสนุนสมุนไ<strong>พ</strong>รไทยและการแ<strong>พ</strong>ทย์แผนไทยให้มีบทบาทในการบริการและมีความก้าวหน้ามากขึ้น6. สนับสนุนการผลิตและ<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากรให้เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อต่อการปฏิบัติงาน รวมทั้งในโรง<strong>พ</strong>ยาบาลส่งเสริมสุขภา<strong>พ</strong>ตําบล7. สนับสนุน อสม.มีบทบาทเชิงรุกมากขึ้น8. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบข้อมูลสารสนเท<strong>ศ</strong>ให้มีความทันสมัยและเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินงานเ<strong>พ</strong>ื่อประชาชนมากขึ้น9. ผลักดันโครงการ Medical Hub ให้รุดหน้ามากยิ่งขึ้น10. ผลักดันและ<strong>พ</strong>ัฒนากฎหมายให้เอื้อประโยชน์ต่อการสนับสนุนการดําเนินงาน โดยเฉ<strong>พ</strong>าะกฎหมายใหม่ เช่น <strong>พ</strong>.ร.บ.วิชาชี<strong>พ</strong>การสาธารณสุข <strong>พ</strong>.ร.บ.กองทุนคุ้มครองผู้เสียหายจากการบริการทางการแ<strong>พ</strong>ทย์และสาธารณสุข โดยให้ความสําคัญทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 7


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>จากแนวนโยบายดังกล่าวข้างต้นเป็นโอกาสให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสามารถผลักดันงานคุ้มครองผู้บริโภคลงสู่<strong>พ</strong>ื้นที่โดยขับเคลื่อนคบส. ผ่านการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) เ<strong>พ</strong>ื่อให้การดําเนินงานมีความครอบคลุมทั่วทุก<strong>พ</strong>ื้นที่ ซึ่งถือว่าเป็นเครือข่ายที่สําคัญที่จะขยายงาน คบส. ไปถึงระดับรากหญ้าได้สําหรับนโยบายรัฐมนตรีที่ให้ความสําคัญกับการคุ้มครองผู้บริโภค<strong>อย</strong>่างจริงจังนั้น ถือว่าเป็นโอกาสดีที่ผู้บริหารเห็นความสําคัญและได้รับการสนับสนุนกิจกรรม/โครงการและงบประมาณ เ<strong>พ</strong>ื่อใช้ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และประสิทธิผล1.1.2 นโยบายและระบบการจัดสรรงบประมาณจากการปฏิรูประบบราชการไปสู่การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 1 ในแผนการปฏิรูประบบบริหารภาครัฐก็คือ การปฏิรูปวิธีการงบประมาณจากเดิมที่เน้นการควบคุมที่ปัจจัยนําเข้าในแต่ละรายการ อาทิ เช่นเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน ค่าใช้ส<strong>อย</strong> ค่าวัสดุ ค่าครุภัณฑ์ ฯลฯ ซึ่งไม่สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ของงานได้รัฐบาลภายใต้การนําของ <strong>พ</strong>.ต.ท.ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จึงได้มีการปรับเปลี่ยนเป็นระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ (Strategic Performance based budgeting: SPBB)ที่ใช้<strong>อย</strong>ู่ในปัจจุบัน ทั้งนี้ก็เ<strong>พ</strong>ื่อให้รัฐบาลสามารถใช้วิธีการและกระบวนการงบประมาณเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรั<strong>พ</strong>ยากรให้เกิดผลสําเร็จตามนโยบาย และให้เห็นผลที่ประชาชนได้รับจากรัฐบาลซึ่งจากแนวนโยบายดังกล่าว ส่งผลให้ส่วนราชการต้องปรับระบบงบประมาณให้มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกันตั้งแต่ระดับกรม ระดับ<strong>กระทรวง</strong>ไปจนถึงระดับชาติดังนั้น ใน<strong>ปี</strong> 2546 เป็น<strong>ปี</strong>แรกที่ส่วนราชการต้องปรับระบบงบประมาณใหม่โดยกําหนดผลผลิตและเป้าหมายของหน่วยงานขึ้นมา เ<strong>พ</strong>ื่อเสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณ ซึ่งจากสถิติที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้รับการจัดสรรงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน:Strategic Performance Based Budgeting (SPBB) ดังที่แสดงในตารางต่อไปนี้ (หน่วยเป็น ล้านบาท)หมวดรายจ่าย <strong>ปี</strong> 2546 <strong>ปี</strong> 2547 <strong>ปี</strong> 2548 <strong>ปี</strong> 2549 <strong>ปี</strong> 2550 <strong>ปี</strong>2551 <strong>ปี</strong> 2552 <strong>ปี</strong> 25531. งบบุคลากร2. งบดําเนินงาน3. งบลงทุน4. งบเงินอุดหนุน5. งบรายจ่ายอื่น140.33346.876.21-2.12142.21348.4713.55-2.89146.47470.2846.48-3.89180.13378.7953.250.96-184.53438.79--3.70194.87440.9315.842.003.80209.53465.232.84-9.05211.97355.75---รวมทั้งสิ้น 495.53 507.12 667.12 613.13 627.02 657.44 686.65 567.72จากตาราง<strong>พ</strong>บว่า1. งบบุคลากร ซึ่งเป็นงบรายจ่ายประจําขั้นต่ําที่รัฐบาลต้องจ่ายให้กับข้าราชการและลูกจ้างประจําตามสิทธิ์ที่<strong>พ</strong>ึงได้รับ ซึ่งจากสถิติตามตาราง <strong>พ</strong>บว่า งบบุคลากรเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นทุก ๆ <strong>ปี</strong>ละประมาณร้<strong>อย</strong>ละ 4-6และมีสัดส่วน<strong>อย</strong>ู่ที่ประมาณ ร้<strong>อย</strong>ละ 30 ของงบประมาณที่ได้รับ2. งบดําเนินงาน เป็นงบประมาณที่ใช้ในการบริหารงานในองค์กรที่เป็นลักษณะค่าตอบแทนค่าใช้ส<strong>อย</strong> ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค ซึ่งจากสถิติตามตาราง<strong>พ</strong>บว่างบดําเนินงานมีสัดส่วน<strong>อย</strong>ู่ที่ประมาณร้<strong>อย</strong>ละ 67 และมีแนวโน้มลดลง3. งบลงทุน เป็นรายจ่ายเ<strong>พ</strong>ื่อการลงทุนในลักษณะค่าซื้อครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างต่าง ๆซึ่งจากสถิติตามตาราง<strong>พ</strong>บว่างบลงทุนมีสัดส่วน<strong>อย</strong>ู่ที่ประมาณ ร้<strong>อย</strong>ละ 2 และมีแนวโน้มลดลงคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 8


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>4. งบเงินอุดหนุน เป็นรายจ่ายที่จ่ายเป็นค่าบํารุงหรือเ<strong>พ</strong>ื่อช่วยเหลือสนับสนุนการดําเนินงานของหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งจากสถิติตามตาราง<strong>พ</strong>บว่างบเงินอุดหนุนมีสัดส่วนที่น้<strong>อย</strong>มากและในบาง<strong>ปี</strong>งบประมาณ ก็ไม่ได้รับการจัดสรร5. งบรายจ่ายอื่น เป็นรายจ่ายที ่ใช้ในการเดินทางไปราชการต่างประเท<strong>ศ</strong>ชั่วคราว เช่น ไปประชุมเจรจากับหน่วยงานต่างประเท<strong>ศ</strong> ซึ่งจากสถิติตามตาราง<strong>พ</strong>บว่างบรายจ่ายอื่นมีสัดส่วน<strong>อย</strong>ู่ที่ประมาณร้<strong>อย</strong>ละ 0.5 ซึ่งถือว่าน้<strong>อย</strong>มากและมีแนวโน้มลดลงด้วยจะเห็นได้ว่า ระยะหลังโดยเฉ<strong>พ</strong>าะใน<strong>ปี</strong> 2553 งบประมาณเ<strong>พ</strong>ื่อใช้ในการดําเนินงานสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จะได้รับจัดสรรลดลง<strong>อย</strong>่างมาก ใกล้เคียงกับ<strong>ปี</strong> 2547 หรือเมื่อ 6 <strong>ปี</strong>ที่ผ่านมาในขณะที่ค่าใช้จ่ายเ<strong>พ</strong>ิ่มสูงขึ้น อันเนื่องมากจากตามผันผวนทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ ราคาน้ํามันที่มีการปรับขึ้น<strong>อย</strong>่างรวดเร็วส่งผลให้ราคาสินค้าและบริการต่าง ๆ เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น<strong>อย</strong>่างมาก หากเทียบงบประมาณ <strong>ปี</strong> 2553ที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้รับจัดสรรต่อหัวประชากรที่ต้องคุ้มครอง <strong>พ</strong>บว่า<strong>อย</strong>ู่ที่ประมาณ9 บาทต่อคน ซึ่งเมื่อเทียบกับองค์กรที่มีการดําเนินการใกล้เคียงกัน เช่น USFDA ได้รับจัดสรรต่อหัวประชากรที่ต้องคุ้มครองที่ประมาณ 365 บาทต่อคน(3.2 Billion US/ 308 million of people ; ข้อมูล<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2553อ้างอิงจาก http://www.fda.gov) สูงกว่าประเท<strong>ศ</strong>ไทยถึง 40 เท่า และเมื่อเทียบกับกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>ใน ASEANเช่น หน่วยงาน Health Science Authority (HSA) ของประเท<strong>ศ</strong>สิงคโปร์ ได้รับจัดสรรต่อหัวประชากรที่ต้องคุ้มครองที่ประมาณ 565 บาทต่อคน(2,825 Million SG Dollar/ 5 million of people ; ข้อมูล<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2552อ้างอิงจาก http://www.hsa.gov.sg) สูงกว่าประเท<strong>ศ</strong>ไทยถึง 63 เท่าดังนั้นงบประมาณซึ่งถือเป็นทรั<strong>พ</strong>ยากรที่สําคัญในการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>มีแนวโน้มลดลงหรือคงที่ จะส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ไม่สามารถดูแลได้<strong>อย</strong>่างทั่วถึง อันเนื่องมากจางบประมาณที่มีจํากัดทําให้เกิดการลักลอบผลิต จําหน่าย นําเข้าผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ไม่ได้มาตรฐานออกมาจํานวนมาก1.1.3 เสถียรภา<strong>พ</strong>ทางการเมืองเสถียรภา<strong>พ</strong>ทางการเมือง (Political stability) ถือเป็นสิ่งที่สร้างความเชื่อมั่นให้กับสังคมว่ากระบวนการทางการเมืองจะเป็นไปตามกฎเกณฑ์ต่าง ๆ มีการแก้ปัญหา<strong>อย</strong>่างสัมฤทธิ์ผล สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ โดยเฉ<strong>พ</strong>าะ<strong>อย</strong>่างยิ่งนักลงทุนและนักธุรกิจ สําหรับภาครัฐ เสถียรภา<strong>พ</strong>ทางการเมืองก็เป็นปัจจัยที่สําคัญเช่นกัน เนื่องจากข้าราชการประจําจะมีความสับสนในแนวปฏิบัติ ส่งผลให้การดําเนินงานไม่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และไม่ต่อเนื่อง ซึ่งจากสถานการณ์ที่ผ่านมา<strong>พ</strong>บว่า ตั้งแต่<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551 เสถียรภา<strong>พ</strong>ทางการเมืองไทยมีความอ่อนแอ<strong>อย</strong>่างมาก สังเกตได้จากมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลถึง 3 ชุดภายใน 1 <strong>ปี</strong>ซึ่งการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลหลายครั้ง ทําให้ขาดความต่อเนื่องในการบริหารประเท<strong>ศ</strong>เช่น การวางแผนการดําเนินงานต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องและเป็นไปตามแผนบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลนโยบายรัฐบาลและนโยบายรัฐมนตรีที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนไปตามนโยบายของ<strong>พ</strong>รรคที่ได้มีการหาเสียงไว้กับประชาชนการออกกฎหมาย กฎระเบียบต่าง ๆ ที่ต้องให้รัฐมนตรีว่าการ<strong>กระทรวง</strong>ฯลงนาม อาจต้องมีอันชะงักไปจนกว่าจะมีผู้มาดํารงตําแหน่งใหม่ หรือแม้แต่การประชุมคณะกรรมการในรูปแบบที่มีรัฐมนตรีเป็นประธานก็มักจะเกิดความล่าช้าเช่นกัน ดังนั้นเสถียรภา<strong>พ</strong>ทางการเมืองจึงเป็นปัจจัยที่จะทําให้การดําเนินงานมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ได้ แต่ถึงแม้ว่าปัจจัยดังกล่าวจะไม่สามารถควบคุมได้ สิ่งที่องค์กรภาครัฐต้องเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมคือ ทบทวนสถานการณ์<strong>อย</strong>ู่เสมอ และเร่งรัดการดําเนินงานต่าง ๆ ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนดไว้คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 9


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1.1.4 การ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบราชการในยุคโลกาภิวัตน์ ประเท<strong>ศ</strong>ไทยต้องปรับตัวให้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกซึ่งระบบราชการไทยถือว่าเป็นแกนหลักในการ<strong>พ</strong>ัฒนาประเท<strong>ศ</strong> จําเป็นต้องมีการปฏิรูปเ<strong>พ</strong>ื่อให้สามารถบริหารประเท<strong>ศ</strong>ให้<strong>อย</strong>ู่รอดและเจริญก้าวหน้าได้ การปฏิรูประบบราชการไทย เริ่มปรากฏเป็นรูปธรรมเมื่อมีการประกา<strong>ศ</strong>ใช้<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2545 ซึ่งได้มีการกําหนดให้มีสํานักงานคณะกรรมการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบราชการ (สํานักงาน ก.<strong>พ</strong>.ร.) เป็นหน่วยงานขับเคลื่อนการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบราชการของประเท<strong>ศ</strong>ไทย โดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และประโยชน์สุขของประชาชนซึ่งการปฏิรูปดังกล่าวเป็นการปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทํางาน การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน การรื้อปรับระบบการเงินและการงบประมาณ การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ การปรับเปลี่ยนกระบวนทั<strong>ศ</strong>น์ วัฒนธรรมและค่านิยมการเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัยและการเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมซึ่งจากการปฏิรูประบบราชการดังกล่าว ถือเป็นโอกาสที่ดีที่ส่วนราชการ รวมถึงสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะต้อง<strong>พ</strong>ัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> เช่น มีการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์เ<strong>พ</strong>ื่อช่วยให้องค์กรสามารถดํารง<strong>อย</strong>ู่ได้ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง<strong>อย</strong>่างรวดเร็ว การ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์กรตามเกณฑ์การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ที่มีวัตถุประสงค์ เ<strong>พ</strong>ื่อให้องค์กรมีกระบวนการบริหารจัดการทั้งการวางแผนการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบ IT การ<strong>พ</strong>ัฒนาคน การ<strong>พ</strong>ัฒนากระบวนการ และการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย<strong>อย</strong>่างเป็นระบบ1.1.5 การกระจายอํานาจสู่ท้องถิ่นการกระจายอํานาจ เป็นวิวัฒนาการของระบบการเมืองการปกครอง ที่ประเท<strong>ศ</strong>ต่าง ๆ กําลังเคลื่อนไปในทิ<strong>ศ</strong>ทางที่กระจายอํานาจจากส่วนกลางไปสู่การปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้นซึ่งประเท<strong>ศ</strong>ไทยได้มีการเริ่มต้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2540 และ <strong>พ</strong>.ร.บ. การกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2542 ได้กําหนดให้ภาครัฐต้องกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่จนถึงปัจจุบันการดําเนินการต่าง ๆ ยังไม่คืบหน้าเท่าที่ควร ในส่วนของการกระจายอํานาจด้านสาธารณสุขนั้น แม้จะมีการถ่ายโอนภารกิจไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบ้าง แต่ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายโอนสถาน<strong>พ</strong>ยาบาลให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ยังมิได้มีการดําเนินการ<strong>อย</strong>่างเป็นรูปธรรมจากรายงานการทบทวนการกระจายอํานาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระหว่าง<strong>ปี</strong> 2542 – 2550 1 <strong>พ</strong>บว่า การดําเนินการถ่ายโอนงานสาธารณสุขล่าช้า ขาดการเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดยังไม่มีโครงสร้างการบริหารงานสาธารณสุข มีเ<strong>พ</strong>ียงองค์การบริหารส่วนตําบลและเท<strong>ศ</strong>บาลเท่านั้นที่มีส่วนสาธารณสุขรองรับ โดยรายงานดังกล่าวได้ให้ข้อเสนอว่า ต้องมีกรอบแนวคิดการกระจายอํานาจที่ชัดเจน โดยให้อํานาจในการตัดสินใจแก่ท้องถิ่น มีความเป็นเอกภา<strong>พ</strong>เชิงระบบ มีความเป็นธรรมทางสุขภา<strong>พ</strong>ธรรมาภิบาล โปร่งใสตรวจสอบได้ การมีส่วนร่วมและการตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนและการจัดความสัม<strong>พ</strong>ันธ์ระหว่างท้องถิ่นกับรัฐบาล <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขจะต้องปรับบทบาทไปเป็นผู้กําหนดมาตรฐาน ผู้กํากับดูแลและเสนอแนะ รวมทั้ง ให้การสนับสนุนและบริการทางวิชาการแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานีอนามัยในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในขณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องเป็นผู้จัดบริการสาธารณะแก่ประชาชนใน<strong>พ</strong>ื้นที่และกําหนดรูปแบบระบบบริการสาธารณสุขที่สอดคล้องกับบริบทของ<strong>พ</strong>ื้นที่1 ปรีดา แตอารักษ, นิภา<strong>พ</strong>รรณ สุข<strong>ศ</strong>ิริ, รําไ<strong>พ</strong> แกววิเชียร และกิรณา แตอารักษคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 10


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ผลจากการวิเคราะห์ผลกระทบจากการกระจายอํานาจสู่ท้องถิ่นของกองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ มีดังนี้1) กระบวนการกําหนดนโยบายการกระจายอํานาจด้านการคุ้มครองผู้บริโภค นั้นมีผลกระทบเป็นภาวะคุกคาม เ<strong>พ</strong>ราะการกําหนดภารกิจในการกระจายอํานาจด้านการคุ้มครองผู้บริโภคโดยเฉ<strong>พ</strong>าะในด้านอาหาร ยา และเครื่องสําอาง ไม่ได้ถูกกําหนดไว้<strong>อย</strong>่างชัดเจนในแผนปฏิบัติการกําหนดขั้นตอนการกระจายอํานาจให้ อปท. (ฉบับที่ 2) ประกอบกับ อปท.จํานวนมากไม่มีโครงสร้างงานที่สามารถรองรับภารกิจงาน คบส.ได้2) กระบวนการนํานโยบายด้านการคุ้มครองผู้บริโภคสู่การปฏิบัติของ อปท. นั้นมีผลกระทบเป็นภาวะคุกคาม เ<strong>พ</strong>ราะอปท.ส่วนใหญ่ยังให้ความสําคัญกับประเด็นนี้น้<strong>อย</strong> ประกอบกับการขาดบุคลากรขาดความรู้ด้านวิชาการและขาดประสบการณ์ในการดําเนินงาน คบส.ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ควรดําเนินการดังนี้1.สร้างกระแสการคุ้มครองผู้บริโภคให้กับประชาชน2.เ<strong>พ</strong>ิ่มองค์ความรู้และประสบการณ์ให้กับท้องถิ่น3.สนับสนุนปรับโครงสร้างองค์กรของ อปท.โดยเฉ<strong>พ</strong>าะในด้านกําลังคน4.แก้ไขจุดอ่อนต่างๆเช่น เทคนิควิชาการ นโยบาย แผนงาน ระบบสนับสนุนต่างๆ1.2 ปัจจัยด้านเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ (Economic Component = E)1.2.1 การรวมกลุ่มเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีแนวโน้มจะเข้าร่วมกลุ่ม-เขตการค้าเสรี เ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้นทั้งจํานวนกลุ่มการตกลงการค้าเสรีและความครอบคลุมกิจกรรมทางการค้า เช่น WTO APEC ASEM ข้อตกลงไทย-จีนไทย-ออสเตรเลีย ไทย-อินเดีย ไทย-ญี่ปุ่น เป็นต้น โดยเฉ<strong>พ</strong>าะ<strong>อย</strong>่างยิ่งข้อตกลงกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>อาเซียนที่กําหนดว่าใน<strong>ปี</strong> 2015 จะรวมตัวเป็น ASEAN Economic Community (AEC) ทั้งนี้โดยมุ่งเน้นให้มีการขยายตัวทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ เ<strong>พ</strong>ิ่มการไหลเวียนของสินค้าและบริการ ในประเท<strong>ศ</strong>สมาชิก AEC ทําให้จําเป็นต้องปรับกฎระเบียบต่างๆ ให้สอดคล้องกัน หรือที่เรียกว่า ASEAN Harmonization เ<strong>พ</strong>ื่อนําไปสู่ข้อตกลงการยอมรับซึ่งกันในการตรวจสอบและรับรองคุณภา<strong>พ</strong>ในการกํากับดูแลสินค้าและผลิตภัณฑ์ (MRA: MutualRecognition Agreement) ส่งผลให้ประเท<strong>ศ</strong>สมาชิกต้องปรับตัวในการจัดการผลิตภัณฑ์ที่มีปัญหาความปลอดภัย <strong>พ</strong>ร้อมทั้งจัดระบบกลไกการควบคุมต่างๆให้เท่าเทียบกัน ขณะเดียวกันต้องดําเนินการเฝ้าระวัง ตรวจสอบ เตือนภัยและยับยั้ง ผลิตภัณฑ์ที่มีการนําเข้าได้<strong>อย</strong>่างทันท่วงที ซึ่งแสดงให้เห็นความสัม<strong>พ</strong>ันธ์ดังภา<strong>พ</strong>ต่อไปนี้การรวมกลุ่มทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ/เขตการค้าเสรีทั้งในระดับทวิภาคี ภูมิภาคและ<strong>พ</strong>หุภาคี เช่น APEC AFTA ฯลฯการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ HarmonizationAEC 2015MRA: Mutual Recognition Agreementคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 11


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ซึ่งที่ผ่านมายัง<strong>พ</strong>บปัญหาคุณภา<strong>พ</strong>ความปลอดภัยด้านอาหารที่มียาฆ่าแมลงปนเปื้อน โลหะหนักในอาหารที่นําเข้าจากประเท<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อนบ้าน อาหารที่ปลอมปนด้วยยากระตุ้นอารมณ์ทางเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong> เช่น Sildenafil และยาลดความอ้วน การลักลอบนําเข้า(Parallel import) ยากลุ่มที่เป็นชีววัตถุ ซึ่งส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค1.2.2 ภาวะเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจของครัวเรือน ใน<strong>ปี</strong> 2552 1<strong>พ</strong>บว่าครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจาก 18,660 บาทต่อเดือน ใน<strong>ปี</strong> 2550 เป็น 21,135 บาทต่อเดือน ใน<strong>ปี</strong> 2552 ส่วนรายจ่ายเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจาก 14,500 บาทเป็น 16,255 บาท ซึ่งหาก<strong>พ</strong>ิจารณาระหว่างรายได้เฉลี่ยและรายจ่ายเฉลี่ยที่เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นนั้น<strong>พ</strong>บว่ารายได้ที่เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น มากกว่า รายจ่ายที่เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเล็กน้<strong>อย</strong>เ<strong>พ</strong>ียง 720 บาทเท่านั้น ซึ่งถึงแม้ว่าครัวเรือนจะมีรายได้ที่เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น แต่ภายใต้วิกฤตทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสถานการณ์ทางการเมืองทําให้ผู้บริโภคส่วนใหญ่ยังคงต้อง<strong>พ</strong>ึ่ง<strong>พ</strong>ิง สินค้าที่มีราคาถูก หรือมีโปรโมชั่น ลด แลก แจก แถม ส่งผลให้ผู้บริโภคคํานึงและตระหนักในคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐานของผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ลดลง1.2.3 อัตราภาษีอากรที่มีผลกระทบการนําเข้าการเปิดเสรีทางการค้าตามข้อตกลงขององค์การค้าโลก (World Trade Organization: WTO)และวิวัฒนาการของการค้าโลกมุ่งเน้นสู่การรวมกลุ่มทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจหรือการลงทุนแบบตลาดเดียว(Single Market) มากขึ้น มีความ<strong>พ</strong>ยายามในการทําข้อตกลง FTA (Free Trade Agreement) ของประเท<strong>ศ</strong>ต่างๆ เ<strong>พ</strong>ื่อทําให้มีการเปิดช่องทางการนําเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์ได้มากและสะดวกรวดเร็วขึ้น การเป็นสมาชิกของเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) ทําให้ประเท<strong>ศ</strong>ไทยต้องปรับลด<strong>พ</strong>ิกัดภาษี<strong>ศ</strong>ุลกากรของการนําเข้าสินค้าลง ตัว<strong>อย</strong>่างเช่น ผลิตผลทางเกษตรและอาหาร ต้องปรับลด<strong>พ</strong>ิกัดภาษีการนําเข้าให้เหลือ 0% ประกอบกับข้อตกลงตามกรอบความร่วมมือต่างๆเหล่านี้จะมีผลกระทบต่อการดําเนินงานและระเบียบข้อบังคับต่างๆ เช่น ผลกระทบต่อการจัดการสารเคมีของประเท<strong>ศ</strong>ไทยตามกฎหมายว่าด้วยสารเคมีของสหภา<strong>พ</strong>ยุโรป(REACH) ซึ่งจะมีผลต่อการนําเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> โดยเฉ<strong>พ</strong>าะผลิตภัณฑ์สารเคมี ของเสียอันตรายต่างๆ เป็นต้นจากสถานการณ์ดังกล่าวคาดการณ์ว่าจะมีผลกระทบต่อการดําเนินงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เนื่องจากผลิตภัณฑ์จากประเท<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อนบ้านที่มีต้นทุนการผลิตที่ต่ํากว่าจะถูกนําเข้ามามากยิ่งขึ้นจึงมีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน และความปลอดภัยมากขึ้น เนื่องจากไม่สามารถทราบได้ว่ามีระบบการตรวจสอบและควบคุมคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์เหล่านั้นของประเท<strong>ศ</strong>ผู้ส่งออกมีความเข้มงวดเ<strong>พ</strong>ียงใดอาจมีสิ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภา<strong>พ</strong>ของผู้บริโภคการปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์เกษตรและอาหารที่ส่งออกได้เช่น โลหะหนัก เคมีภัณฑ์ที่ใช้ทางการเกษตรและป<strong>ศ</strong>ุสัตว์ จุลินทรีย์ที่ทําให้เกิดโรค เป็นต้น โดยเฉ<strong>พ</strong>าะ<strong>อย</strong>่างยิ่งที่มักได้ยินข่าว<strong>อย</strong>ู่เสมอว่ามีการดัดแปลง<strong>พ</strong>ันธุกรรมใน<strong>พ</strong>ันธุ์<strong>พ</strong>ืชหลายชนิดเ<strong>พ</strong>ื่อให้ได้ผลผลิตมากและมีต้นทุนต่ําทําให้ประชาชนผู้บริโภค เกษตรกรและภาคการผลิตอาหารภายในประเท<strong>ศ</strong>มีความเสี่ยงต่ออันตรายและมีสภา<strong>พ</strong>การแข่งขันเป็นที่รุนแรงมากยิ่งขึ้น1. อ้างอิงข้อมูลจากสํานักงานสถิติแห่งชาติ เรื่อง เครื่องชี้วัดภาวะเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ <strong>ปี</strong> 2552 (www.nso.go.th) เข้าถึงเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2553คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 12


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ต้องมีภาระงานในการตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์นําเข้ามากขึ้น ทําให้ต้อง<strong>พ</strong>ัฒนาระบบการกํากับดูแลให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล เ<strong>พ</strong>ื่อป้องกันการเกิดข้อ<strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>าททางการค้าระหว่างประเท<strong>ศ</strong> ตลอดจนเ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดความสะดวก ความเป็นธรรมและสร้างความมั่นใจต่อการค้าขายผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ระหว่างประเท<strong>ศ</strong> โดย<strong>พ</strong>ัฒนาระบบการนําเข้า – ส่งออกให้ดําเนินไปด้วยความโปร่งใส เป็นกลาง ถูกต้องบน<strong>พ</strong>ื้นฐานของหลักการทางวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์และการประเมินความเสี่ยงตามมาตรฐานสากล รวมถึงการสนับสนุนให้มีการแก้ปัญหา อุปสรรค และมาตรการกํากับทางการค้าด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ทั้งที่เป็นการค้าปกติ และภายใต้<strong>พ</strong>ันธกรณีตามความตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong>โดยบูรณาการการทํางานร่วมกับส่วนราชการอื่นๆ เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และมีความคุ้มค่ากับทรั<strong>พ</strong>ยากรที่มีจํากัด มีการใช้ความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้าช่วย ตลอดจนต้อง<strong>พ</strong>ิจารณามาตรฐานของระบบงานให้มีความทันสมัยให้เป็นที่ยอมรับ และมีความน่าเชื่อถือให้ทัดเทียมกับสากล1.3 ปัจจัยด้านสังคม (Sociocultural Component = S)1.3.1 โครงสร้างประชากร 1ใน<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2552 ประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีประชากรเกือบ 64 ล้านคน มีสัดส่วนเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>ชาย:เ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>หญิงประมาณ 96:100 และมีแนวโน้มว่าจะต่างกันเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเรื่<strong>อย</strong>และมีอัตราภาวะเจริญ<strong>พ</strong>ันธุ์<strong>อย</strong>ู่ในระดับที่ต่ํากว่าระดับทดแทนมา<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง อันเป็นผลมาจากความสําเร็จของนโยบายประชากรและการวางแผนครอบครัวในอดีต โครงสร้างประชากรจึงเปลี่ยนแปลง<strong>อย</strong>่างมากในระยะ 20 <strong>ปี</strong>ที่ผ่านมา จาก<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2513สัดส่วนประชากรวัยเด็ก : วัยแรงงาน : วัยสูงอายุ เท่ากับ 45.1: 49.9 : 4.9 เปลี่ยนเป็น 29.3 : 63.4 : 7.3ใน<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2523 และปัจจุบันใน<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2552 มีสัดส่วนเท่ากับ 21 : 67.5 : 11.9 ซึ่งจะเห็นว่าประชากรวัยเด็กลดลง<strong>อย</strong>่างรวดเร็ว ประชากรวัยแรงงานยังคงเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นและคาดว่าจะลดลงตั้งแต่<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2555เป็นต้นไป ขณะที่ประชากรสูงอายุเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น โดยคาดว่าใน<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2570 แนวโน้มสัดส่วนประชากรวัยเด็ก (0-14 <strong>ปี</strong>): วัยแรงงาน(15-59 <strong>ปี</strong>) : วัยสูงอายุ (60 <strong>ปี</strong>ขึ้นไป) เท่ากับ 14.4 : 62.9 : 22.7 ซึ่งจะทําให้ประชากรเกือบ1 ใน 4 ของประเท<strong>ศ</strong> หรือเกือบ 17 ล้านคน เป็นประชากรผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลกระทบต่ออัตราส่วนการ<strong>พ</strong>ึ่ง<strong>พ</strong>ิงกลุ่มวัยแรงงานที่จะต้องดูแลประชากรวัยเด็กและผู้สูงอายุเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น ภาระค่าใช้จ่ายของภาครัฐ และครัวเรือนในการดูแลผู้สูงอายุในเรื่องสุขภา<strong>พ</strong>จะสูงขึ้นจากรูปแบบภาวการณ์เจ็บป่วยของผู้สูงอายุด้วยโรคเรื้อรังเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น อาทิ โรคกระดูกและข้อ ความดัน โลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือดอัลไซเมอร์ ต้อกระจก และภาวะทางทันตกรรมจากการ<strong>ศ</strong>ึกษาแนวโน้มของโครงสร้างประชากรประเท<strong>ศ</strong>ไทยในอนาคต <strong>พ</strong>บลักษณะการเปลี่ยนแปลง 4 ประการ ได้แก่1. ประชากรไทยในอนาคตจะมีการเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นของเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>หญิงมากกว่าเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>ชาย2. จะมีผู้สูงอายุเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น3. สัดส่วนผู้อา<strong>ศ</strong>ัยในเขตเมืองทั่วประเท<strong>ศ</strong>จะเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น4. อัตราการเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นของประชากรจะลดลงจากแนวโน้มโครงสร้างประชากรดังกล่าวสังคมไทยอาจจะกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุและจํานวนประชากรเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>หญิงมากขึ้น ย่อมทําให้ผลิตภัณฑ์เ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong> เช่น ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับผู้สูงวัย ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยในการไหลเวียนของโลหิต ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยในการดูแลสุขภา<strong>พ</strong> การควบคุมน้ําหนัก บํารุงร่างกาย หรือเครื่องดื่มที่ประกอบวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ และผลิตภัณฑ์เสริมความงามจะเป็นที่ต้องการสําหรับผู้สูงอายุและสตรี และมีการใช้จ่ายในหมวดสินค้าที่ทดแทนการเสื่อมประสิทธิภา<strong>พ</strong>ของร่างกายเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น1. อ้างอิงข้อมูลจากเอกสารประกอบการวิเคราะห์สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมและทบทวนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong><strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข<strong>ปี</strong> 2552-2555 ของสํานักนโยบายและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 13


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ต้องมีการตรวจสอบเฝ้าระวังทั้งเรื่องคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานของผลิตภัณฑ์เ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong> ผลิตภัณฑ์เสริมความงาม ชะลอความแก่ และนอกจากนี้ยังต้องเฝ้าระวังการโฆษณาชวนเชื่อ หรือการโฆษณาเกินจริงมากยิ่งขึ้นด้วย1.3.2 ค่านิยมและทั<strong>ศ</strong>นคติในการบริโภคของประชาชนจากสภาวะสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นสังคมแห่งการสื่อสาร ข้อมูลข่าวสารหลั่งไหลเข้า-ออก ได้ทุกทิ<strong>ศ</strong>ทาง ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่ายและหลายช่องทาง รวมทั้งผลกระทบจากการแข่งขันทางธุรกิจทําให้เกิดกระแสการบริโภคนิยมที่เข้าครอบงํา ทําให้ประชาชนยึดติดกับการบริโภคตามกระแสนิยม รสนิยม ยี่ห้อ ที่ได้รับการกระตุ้นจากการโฆษณาตามแผนการตลาดของบริษัทผู้ผลิตสินค้าต่างๆ โดยการใช้ Presenter ที่เป็นนักแสดง นักร้องวัยรุ่นชื่อดัง นักวิชาการผู้มีชื่อเสียง ผู้มีประสบการณ์ซึ่งจะสื่อชักชวนให้ซื้อสินค้าของตน ส่งผลให้วัฒนธรรม ค่านิยมและทั<strong>ศ</strong>นคติในการบริโภคของประชาชนเปลี่ยนไป กลายเป็นการมุ่งเส<strong>พ</strong>สุขจากการบริโภค โดยไม่คํานึงถึงประโยชน์และคุณค่าของผลิตภัณฑ์ที่จะได้รับทําให้ตกเป็นเหยื่อ เสียเงิน เสียเวลา เสียโอกาสและเสียสุขภา<strong>พ</strong>ในที่สุดดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ต้องเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ไม่เหมาะสมให้มากยิ่งขึ้น ควบคู่กับการรณรงค์ให้ความรู้แก่ผู้บริโภคเ<strong>พ</strong>ื่อปรับทั<strong>ศ</strong>นคติและ<strong>พ</strong>ฤติกรรมในการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง โดย <strong>อย</strong>.ควรดําเนินการดังนี้1) ควรส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีจริยธรรมในการนําเสนอข้อมูลต่อผู้บริโภค โดยให้มีการนําเสนอข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นจริง และครบทุกๆด้าน2) ควรดําเนินการตามกฎหมายต่อผู้ที่มีเจตนากระทําผิด<strong>อย</strong>่างเข้มงวด3) ใช้กระแสสังคมกดดันให้ผู้ประกอบการมีความรับผิดชอบต่อสังคมและการกระทําของตนโดยการประกา<strong>ศ</strong>รายชื่อผู้ประกอบการที่มีเจตนากระทําผิด หรือหลอกลวงผู้บริโภคให้ประชาชนรับทราบทั่วกันเ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้บริโภคไม่มั่นใจในการบริโภคสินค้านั้น ๆ4) เร่งเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้ ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์และรณรงค์ให้ผู้บริโภคมีความรู้ มีสติยั้งคิด สามารถแยกแยะลักษณะของการโฆษณาที่หลอกลวงได้ และไม่หลงเชื่อง่าย1.3.3 ปัญหายาเส<strong>พ</strong>ติดปัจจุบันปัญหายาเส<strong>พ</strong>ติดได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น และมีความหลากหลายของชนิดและรูปแบบของยาเส<strong>พ</strong>ติดมากขึ้นด้วย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นหน่วยงานกลางที่ทําหน้าที่ในการเก็บรักษายาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษของกลาง เ<strong>พ</strong>ื่อสร้างความโปร่งใสในกระบวนการปราบปรามยาเส<strong>พ</strong>ติดของหน่วยงานปราบปราม และยังมีวัตถุประสงค์ที่จะช่วยป้องกันการรั่วไหลของยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษของกลางโดยการปฏิบัติงานจะร่วมกันกับหน่วยงานปราบปราม หน่วยงาน<strong>พ</strong>ิจารณาคดีและหน่วยงานตรวจ<strong>พ</strong>ิสูจน์ ซึ่งจากสถานการณ์ที่ผ่านมา<strong>พ</strong>บว่ายาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษของกลางที่<strong>พ</strong>บมากที่สุด คือ เมทแอมเฟทตามีน (ยาบ้า) ยาไอซ์ กัญชา ตามลําดับซึ่งปัญหาส่วนใหญ่ที่<strong>พ</strong>บเกิดจากการดัดแปลงสารตั้งต้นที่ใช้ผลิตยาเส<strong>พ</strong>ติดจากยาที่ใช้ในทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ไปเป็นสารเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษ ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จําเป็นต้อง ควบคุม ป้องกันสารเคมีบางชนิด ที่อาจนําไปเป็นสารตั้งต้นในการผลิตยาเส<strong>พ</strong>ติด หรื<strong>อย</strong>าที่มีการนํามาใช้ประโยชน์ในการแ<strong>พ</strong>ทย์ไปใช้เป็นยาเส<strong>พ</strong>ติด เช่น ยาแก้ไอที่มีส่วนผสมของโคดิอีนยาแก้หวัด แก้แ<strong>พ</strong>้ที่มีส่วนผสมของPseudoephedrine เป็นต้นคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 14


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1.4 ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technological Component = T)1.4.1 ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดขึ้น<strong>อย</strong>่างรวดเร็วในปัจจุบัน เป็นผลมาจากความก้าวหน้าทางด้านวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์และเทคโนโลยี ที่เป็นกลไกสําคัญในการขับเคลื่อน และ<strong>พ</strong>ัฒนา กระบวนการผลิตต่าง ๆให้มีความรวดเร็วตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้ทันท่วงทีทําให้หน่วยงานต่างๆไม่สามารถ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบงานได้ทันตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้ รวมทั้งการขยายตัวของอุตสาหกรรมทั้งภาคการผลิตและบริการ โดยใช้ความรู้เป็นฐาน (Knowledge-based Economy)หรือการขับเคลื่อนระบบเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจยุคโมเลกุล (Molecular Economy) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสําคัญเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>ที่ผนวกกับ<strong>ศ</strong>าสตร์ต่างๆ ที่มีส่วนสําคัญของเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจยุคโมเลกุลนี้คือ เทคโนโลยีชีวภา<strong>พ</strong> นาโนเทคโนโลยีและวัสดุ<strong>ศ</strong>าสตร์ดังนั้นความรู้จึงเป็นปัจจัยสําคัญในการขับเคลื่อนการ<strong>พ</strong>ัฒนาทั้งทางด้านเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคม (KnowledgedrivenDevelopment)ดังจะเห็นได้จากผู้ประกอบธุรกิจด้านเครื่องสําอางได้นํานาโนเทคโนโลยีมาใช้กับผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางมากขึ้น รวมทั้งนํามากล่าวอ้างในการโฆษณาเครื่องสําอางนี้ ว่ามีอนุภาคระดับนาโน ซึ่งก็ได้รับความนิยมและความสนใจจากผู้บริโภคเป็น<strong>อย</strong>่างมาก <strong>อย</strong>่างไรก็ตามยังมีข้อจํากัดเกี่ยวกับข้อมูลทางวิชาการที่จะใช้อ้างอิงถึงผลกระทบที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภา<strong>พ</strong>อนามัย เนื่องจากข้อมูลส่วนใหญ่ในขณะนี้เป็นข้อมูลที่วิจัยเ<strong>พ</strong>ื่อประโยชน์ทางการค้า ยังขาดการ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยเ<strong>พ</strong>ื่อค้นหาข้อสรุปเกี่ยวกับผลกระทบต่อสุขภา<strong>พ</strong>อนามัยเ<strong>พ</strong>ื่อเป็นข้อมูลอ้างอิงในการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับความปลอดภัย<strong>อย</strong>่างเป็นปัจจุบันด้วย ทั้งนี้แนวโน้มความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>ที่ผนวกกับ<strong>ศ</strong>าสตร์ต่าง ๆ ในอนาคต จะยังคงมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาใช้กับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ต่าง ๆ เ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น เ<strong>พ</strong>ื่อขยายตลาดและตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าให้มากที่สุด1.4.2 การเข้าถึง/ช่องทางของเทคโนโลยีปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>และการสื่อสาร (Information andCommunication Technology) ทําให้การติดต่อสื่อสาร และการแ<strong>พ</strong>ร่กระจายข้อมูล ข่าวสาร และความรู้เป็นไป<strong>อย</strong>่างไร้<strong>พ</strong>รมแดนทําให้การดํารงชีวิตของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปมาก โดยเฉ<strong>พ</strong>าะเทคโนโลยีคอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong> ที่ในปัจจุบันมีการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>อย</strong>่างรวดเร็วและมี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>มากขึ้นโดยสามารถที่จะต่อเป็นระบบเครือข่าย เ<strong>พ</strong>ื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทุกหนทุกแห่ง ทําให้ผู้ใช้ได้เข้าถึงข้อมูลที่สะดวกและรวดเร็ว เชื่อมโยงไปทั่วโลกซึ่งก็มีทั้งข้อมูลความรู้ที่ดีมีประโยชน์ และข้อมูลที่ไม่มีประโยชน์หรือไม่ถูกต้องแอบแฝงปะปนกัน<strong>อย</strong>ู่ ขึ้น<strong>อย</strong>ู่กับวิจารญาณและความรู้ของผู้ใช้ที่จะแยกแยะว่าข้อมูลใดถูกต้องหรือข้อมูลใดไม่ถูกต้อง คนที่มีค่านิยมและทั<strong>ศ</strong>นคติที่ผิด มักจะถูกหลอกลวงได้ง่าย สังเกตได้จากปัจจุบัน มีการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ผ่านทางอินเตอร์เน็ตเกิดขึ้นมากมาย เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายมี<strong>อย</strong>ู่ทั่วโลก ดังนั้นปัญหาที่<strong>พ</strong>บส่วนใหญ่เป็นปัญหาการโฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาต ข้อมูลที่ให้นั้นเกินจริง เป็นเท็จ หรือหลอกลวงผู้บริโภคให้หลงเชื่อคําโฆษณา แต่<strong>อย</strong>่างที่กล่าวข้างต้นข้อมูลความรู้ที่ดีและมีประโยชน์ก็มี<strong>อย</strong>ู่ให้เห็นทางอินเตอร์เน็ตซึ่งก็เป็นช่องทางที่หลายภาคส่วนได้นําเข้าข้อมูล เ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้ให้กับประชาชนโดยทั่วไปคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 15


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1.5 สถานการณ์และแนวโน้มด้านสภาวะสุขภา<strong>พ</strong>1.5.1 สถานการณ์และสถานะสุขภา<strong>พ</strong> 1การเกิดโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ําที่ส่งผลกระทบในวงกว้างท่ามกลางโลกยุคไร้<strong>พ</strong>รมแดนภาวะโรค ติดเชื้อใหม่ๆ โรคอุบัติใหม่หรือโรคระบาดซ้ําที่เป็นการแ<strong>พ</strong>ร่ระบาดของเชื้อโรคที่มีรหัส<strong>พ</strong>ันธุกรรมใหม่ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภา<strong>พ</strong>และเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ<strong>อย</strong>่างมาก เช่น โรคซาร์ส ไข้หวัดนกไข้หวัดใหญ่ และยังต้องประสบกับโรคอุบัติซ้ํา เช่น โรคเอดส์ ที่เป็นปัญหาที่ยากจะประเมินสถานการณ์เ<strong>พ</strong>ราะองค์ความรู้ยังไม่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อและไม่ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรงและบั่นทอนคุณภา<strong>พ</strong>ชีวิตทั้งระดับบุคคลและสังคมโดย<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2552 <strong>พ</strong>บว่า- โรคไข้หวัดใหญ่สาย<strong>พ</strong>ันธ์ใหม่ชนิด A (H1N1) มีการระบาดขยายไปทั่วโลก ข้อมูลขององค์การอนามัยโลก เมื่อเดือน<strong>พ</strong>ฤ<strong>ศ</strong>จิกายน 2552 <strong>พ</strong>บผู้ป่วยติดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 482,300 ราย และเสียชีวิต<strong>อย</strong>่างน้<strong>อย</strong> 6,071 ราย ส่วนในประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีผู้ป่วยที่ตรวจยืนยันแล้วว่าเป็นโรคไข้หวัดใหญ่สาย<strong>พ</strong>ันธ์ใหม่ชนิดA(H1N1) สะสมจํานวน 28,057 มีผู้เสียชีวิต 176 ราย(28 เม.ย.-17 ต.ค. 2552)- วัณโรค มีจํานวนผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคมากขึ้นทั่วโลกซึ่งสัม<strong>พ</strong>ันธ์กับสถานการณ์ของการระบาดของโรคเอดส์ องค์การอนามัยโลก จัดให้ประเท<strong>ศ</strong>ไทยเป็นประเท<strong>ศ</strong>ที่มีผู้ป่วยวัณโรค มากเป็นอันดับที่ 17 ของโลกซึ่งมีแนวโน้มของอัตราป่วยเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้นจาก 49.97 ต่อแสนประชากร ใน<strong>ปี</strong> 2545 เ<strong>พ</strong>ิ่มเป็น 54.30 ต่อแสนประชากรใน<strong>ปี</strong> 2551- โรคเอดส์ ปัญหาโรคเอดส์ยังเป็นปัญหาสําคัญของโลก จากการประมาณการใน<strong>ปี</strong> 2550มีผู้ป่วยโรคเอดส์ทั่วโลกประมาณ 33 ล้านคน จํานวนผู้ป่วยรายใหม่ลดลงจาก 3 ล้านคนใน<strong>ปี</strong> 2544เป็น 2.7 ล้านคนใน<strong>ปี</strong> 2550 สําหรับประเท<strong>ศ</strong>ไทยใน<strong>ปี</strong> 2550 มีผู้ป่วยโรคเอดส์สะสม 358,260 ราย คาดการณ์ว่าใน<strong>ปี</strong> 2563 จะมีผู้ป่วยโรคเอดส์สะสมประมาณ 1,250,000 ราย และในการรักษาผู้ป่วยนั้นจะต้องเสียค่ายาต้านไวรัส ประมาณ 85,000 บาทต่อคนต่อ<strong>ปี</strong> ซึ่งในระยะยาวอาจจะเป็นการเ<strong>พ</strong>ิ่มภาระงบประมาณด้านสุขภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong><strong>อย</strong>่างมาก- โรคที่เกี่ยวเนื่องจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ความเสี่ยงในการที่จะได้รับอันตรายจากผลิตภัณฑ์ที่ปนเปื้อนหรือไม่ได้มาตรฐาน หรืออันตรายที่อาจเกิดจากสะสมอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารที่เป็นบ่อเกิดของโรคเรื้อรังและโรคร้ายแรง ซึ่งข้อมูลด้วยโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน มีอัตราเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นทุก<strong>ปี</strong> โดยโรคหลอดเลือดสมองเ<strong>พ</strong>ิ่มจาก37,692 คน ใน<strong>ปี</strong> 2539เป็น 98,895 คนใน<strong>ปี</strong> 2548 โรคความดันโลหิตสูงเ<strong>พ</strong>ิ่มจาก 79,873 คน ใน<strong>ปี</strong> 2539 เป็น307,671 คน ใน<strong>ปี</strong> 2548 โรคหัวใจขาดเลือดเ<strong>พ</strong>ิ่มจาก 22,080 คน ใน<strong>ปี</strong> 2539 เป็น 112,352 คน ใน<strong>ปี</strong> 2548และโรคเบาหวานเ<strong>พ</strong>ิ่มจาก 69,114 คนใน<strong>ปี</strong> 2539 เป็น 277,391 คน ใน<strong>ปี</strong> 2548 ซึ่งโรคที่กล่าวมาทั้ง 4 โรคส่วนใหญ่เกิดจากปัญหาการมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมทั้งสิ้น เนื่องจากมีสินค้าและบริการใหม่ ๆ ที่ชักนําให้ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องออกสู่ท้องตลาด<strong>อย</strong>ู่ตลอดเวลา <strong>อย</strong>. ไม่สามารถที่จะควบคุมดูแลได้<strong>อย</strong>่างทั่วถึง อีกทั้งช่องทางของการนําเสนอสินค้าและบริการต่อผู้บริโภคก็มีเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเรื่<strong>อย</strong> ๆ1. อ้างอิงข้อมูลจากเอกสารประกอบการวิเคราะห์สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมและทบทวนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong><strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข <strong>ปี</strong> 2552-2555 ของสํานักนโยบายและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 16


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1.5.2 แบบแผนการดําเนินชีวิตและ<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคโรคที่เกิดจาก<strong>พ</strong>ฤติกรรมมีแนวโน้มเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง โดยนับเป็นสาเหตุอันดับต้นของการป่วยและตายของประชากร กล่าวคือ ใน<strong>ปี</strong> 2551 อัตราการป่วยด้วยโรคหัวใจ โรคเบาหวานและโรคมะเร็งมีอุบัติการณ์เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเป็น 749.5, 675.7 และ 134.2 ต่อประชากรแสนคนตามลําดับความเจ็บป่วยจากโรคไร้เชื้อเรื้อรังเหล่านี้ เกิดจาก<strong>พ</strong>ฤติกรรมเสี่ยงที่สามารถป้องกันได้ เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มสุราสิ่งมึนเมา สารเส<strong>พ</strong>ติด รวมทั้งเกิดจากความเครียดและการขาดการออกกําลังกาย นอกจากนี้ยัง<strong>พ</strong>บโรคที่เกิดจาก<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้นด้วย องค์การอาหารและการเกษตรของยูเอ็นระบุว่า ในช่วง<strong>ปี</strong>2541-2543ประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีประชากรประสบภาวะหิวโหยถึงร้<strong>อย</strong>ละ 18 ของประชากรทั้งหมดมีแนวโน้มจํานวนผู้ป่วยเป็นโรคที่เกิดจากอาหารเป็น<strong>พ</strong>ิษเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจาก 4.35 ต่อประชากรแสนคนใน<strong>ปี</strong> 2519 เป็น 216.26 ต่อประชากรแสนคนใน<strong>ปี</strong> 2549 ทั้งนี้แบบแผนการบริโภคอาหารที่เปลี่ยนแปลงไปทําให้คนไทยต้องเสียชีวิตจากโรคอันเนื่องจาก<strong>พ</strong>ฤติกรรมการกินไม่ถูกต้องเหมาะสมใน<strong>ปี</strong> 2547ถึง 61,320 คน<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคแป้งและน้ําตาลเกินความจําเป็น<strong>พ</strong>บว่าอัตราการบริโภคน้ําตาลต่อคน เ<strong>พ</strong>ิ่มสูงขึ้นเป็น 2.6 เท่าจาก 12.7 กิโลกรัม/คน/<strong>ปี</strong>ใน<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2526 เป็น 33.2 กิโลกรัม/ คน/ <strong>ปี</strong>ใน<strong>ปี</strong><strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2549<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนไทยที่เปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยแวดล้อมต่างๆที่เข้ามากระทบ<strong>พ</strong>ฤติกรรมที่เกิดจากสภา<strong>พ</strong>การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากรและวิถีการดําเนินชีวิตประจําวัน อาทิ วิถีชีวิตในเมืองที่เร่งรีบและวุ่นวาย ล้วนส่งผลให้ผู้บริโภคส่วนใหญ่หันไปบริโภคอาหารกึ่งสําเร็จรูป (Instant Foods) อาหาร<strong>พ</strong>ร้อมปรุง (Ready-to-cook) และอาหาร<strong>พ</strong>ร้อมทาน(Ready-to-eat)ซึ่งหาซื้อได้จากร้านสะดวกซื้อต่างๆ กันมากขึ้น โดยในเขตเมืองกว่าครึ่งหนึ่งนิยมรับประทานนอกบ้านในขณะที่ในเขตชนบทมีเ<strong>พ</strong>ียงร้<strong>อย</strong>ละ 20 ระดับการ<strong>ศ</strong>ึกษาที่สูงขึ้นของคน รวมถึงการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่สะดวก รวดเร็วและหลากหลายช่องทางมาก เห็นได้จากค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการโฆษณาอาหารสูงขึ้นถึง 9 เท่าตัวภายในเวลาไม่ถึง 20 <strong>ปี</strong> จาก 1,823 ล้านบาทใน<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2532 เป็น 16,448 ล้านบาทใน<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551ซึ่งมีอิทธิ<strong>พ</strong>ลต่อ<strong>พ</strong>ฤติกรรมการเลือกซื้อและการบริโภค โดยเฉ<strong>พ</strong>าะการตัดสินใจซื้อขนมของเด็ก อีกทั้งคนไทยมีแนวโน้มการบริโภคน้ําตาลมากขึ้น โดยในรอบ 2 ท<strong>ศ</strong>วรรษที่ผ่านมา มีการบริโภคน้ําตาลเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเกือบ 3 เท่าและจากข้อมูลใน<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2550 <strong>พ</strong>บว่า คนไทยบริโภคน้ําตาลสูงกว่าปริมาณสูงสุดที่ควรบริโภคถึง 4 เท่าประชากรอายุ 15-74 <strong>ปี</strong> นิยมบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วน เช่น ขนมกรุบกรอบ อาหารทอดอาหารที่ปรุงด้วยกะทิ เนื้อสัตว์ติดมัน ขนมหวาน และอาหารจานด่วน ถึง 1 ใน 4 ของอาหารมื้อหลักในขณะที่มีการรับประทานผักไม่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อทั้งในแง่ของปริมาณและความถี่ และการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญซึ่งส่งผลต่อ<strong>พ</strong>ฤติกรรมของผู้บริโภคเป็น<strong>อย</strong>่างมาก คือ กระแสการหันมามุ่งเน้นเรื่องสุขภา<strong>พ</strong> จากปัญหาการเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นของผู้ป่วยโรคอ้วนและโรคอื่นๆจาก<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง เช่น โรคเบาหวานไขมันอุดตัน โรคหัวใจ และโรคมะเร็ง เป็นต้น ส่งผลผู้ประกอบการ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารรูปแบบใหม่เ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองความต้องการ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>(Functional Food Products) และผลิตภัณฑ์อาหารเสริม (Dietary Supplement Products) ออกมาจําหน่าย ซึ่งจําเป็นต้องมีการให้ความรู้มีข้อมูลรายละเอียดและผล<strong>พ</strong>ิสูจน์ทางวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์สนับสนุนในเรื่องผลดีที่มีต่อสุขภา<strong>พ</strong>ร่างกาย โดยต้องมีการควบคุมและคุ้มครองเ<strong>พ</strong>ื่อประโยชน์และความปลอดภัยของผู้บริโภคด้วยดังนั้นการแก้ปัญหาดังกล่าวสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ต้องดําเนินการตามนโยบายอาหารปลอดภัย (Food Safety) <strong>อย</strong>่างแข็งขันและต้องทํางานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเชิงบูรณาการ รวมทั้งให้ความรู้ <strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของผุ้บริโภคสู่การปรับเปลี่ยน<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมต้องมีการดําเนินการ<strong>อย</strong>่างครบถ้วนและต่อเนื่องคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 17


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ซึ่งจะเป็นการการสร้างภูมิคุ้มกันทางความรู้ให้แก่ประชาชน เ<strong>พ</strong>ื่อให้สามารถคุ้มครองตนเองได้โดยการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้ เตือนสติให้มีความยั้งคิด และสร้างความตระหนักในเรื่องของการบริโภคเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>ให้เกิดขึ้น โดยการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์และรณรงค์เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและนําไปสู่การมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง ที่สําคัญคือต้องดําเนินการ<strong>อย</strong>่างครอบคลุม ทั่วถึง บ่<strong>อย</strong>ครั้ง สม่ําเสมอและต่อเนื่อง เ<strong>พ</strong>ื่อตอกย้ําให้เกิดการจดจําและมีสติยั้งคิดตลอดเวลา1.6 สถานการณ์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค1.6.1 ด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>1. สถานการณ์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารในปัจจุบันกระแสการหันมามุ่งเน้นเรื่องสุขภา<strong>พ</strong>ของผู้บริโภคมีมากขึ้น ทําให้ผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ขึ้นมาตอบสนองต่อความต้องการดังกล่าว เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>(Functional Food Products) ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม (Dietary Supplement Products) ออกมาจําหน่ายซึ่งได้นําเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารมากขึ้น เช่น นาโนเทคโนโลยี การสกัดสารใหม่จาก<strong>พ</strong>ืชหรือสัตว์ที่ไม่มีประวัติการใช้เป็นอาหาร ซึ่งต้องใช้ผล<strong>พ</strong>ิสูจน์ทางวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์เ<strong>พ</strong>ื่อประเมินความเสี่ยง คุณค่าและความปลอดภัยของอาหาร ผู้ประกอบการบางรายที่ขาดจริยธรรม ใช้วิธีการโฆษณาโอ้อวด กล่าวอ้างเกินจริงเ<strong>พ</strong>ื่อหลอกลวงผู้บริโภคจากผลการเฝ้าระวังการโฆษณาอาหารทั้งประเท<strong>ศ</strong> <strong>ปี</strong> 2551-2552 <strong>พ</strong>บว่าถูกต้องตามกฎหมายร้<strong>อย</strong>ละ 98.28 และ 97.56 ตามลําดับ ส่วนมากการโฆษณาที่ไม่ถูกต้องจะผ่านช่องทางสื่อที่เข้าถึงผู้บริโภค และยากแก่การติดตามตรวจสอบ เช่น อินเตอร์เน็ต การขายตรง ทางช่องเคเบิลทีวี และวิทยุชุมชน เป็นต้นในบางรายจงใจกระทําผิด ผลิตอาหารที่ไม่ได้มาตรฐานและมีความไม่ปลอดภัยในรูปแบบต่างๆการตรวจสอบสถานประกอบการและผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตและจําหน่ายในประเท<strong>ศ</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาร่วมกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด การตรวจสอบสถานประกอบการด้านอาหาร <strong>ปี</strong> 2552 <strong>พ</strong>บว่ามีสถานที่ผลิตอาหารผ่านมาตรฐาน GMP ร้<strong>อย</strong>ละ 92.28 (11,628แห่ง จากสถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่ายต้องผ่านการประเมิน GMP ทั้งหมด 12,601 แห่ง) นอกจากนี้ได้ร่วมมือกันตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตและจําหน่ายในประเท<strong>ศ</strong>ให้มีความปลอดภัย รวมถึงตรวจสอบอาหารนําเข้า ณ ด่านอาหารและยาใน<strong>ปี</strong>งบประมาณ 2552 ผลการวิเคราะห์ ดังนี้คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 18


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ตารางแสดงผลการตรวจวิเคราะห์ตัว<strong>อย</strong>่างผลิตภัณฑ์อาหารทั่วประเท<strong>ศ</strong>ผลิตภัณฑ์จํานวนผลการวิเคราะห์(รายการ)จํานวน(รายการ)ตกมาตรฐานร้<strong>อย</strong>ละผ่านมาตรฐานร้<strong>อย</strong>ละอาหารนําเข้า 25,088 428 1.71 98.29แหล่งข้อมูล1. อาหารสดและแปรรูปตรวจวิเคราะห์ทาง 7,613 343 4.51 95.49ห้องปฏิบัติการ (Lab)2. อาหารสดและแปรรูปโดยตรวจวิเคราะห์เบื้องต้น (Screening Test)17,475 85 0.49 99.51อาหารในประเท<strong>ศ</strong> 135,201 4,399 3.25 96.75ด่านอาหารและยาทั่วประเท<strong>ศ</strong>1. อาหารสดและแปรรูปตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ (Lab)14,795 2,139 14.46 85.54 Post <strong>อย</strong>. และสสจ.2. อาหารสดและแปรรูปโดยตรวจวิเคราะห์เบื้องต้น (Screening Test)120,406 2,260 1.88 98.12 Mobile Unit(ส่วนกลาง/ภูมิภาค)ภา<strong>พ</strong>รวมทั้งประเท<strong>ศ</strong> 160,289 4,827 3.01 96.99‣ การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์อาหารนําเข้า ณ ด่านอาหารและยา รวบรวมผลการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหารนําเข้าจํานวนทั้งสิ้น 44,344 ตัว<strong>อย</strong>่าง ไม่เข้ามาตรฐาน 902 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 2.03ผลิตภัณฑ์ที่<strong>พ</strong>บปัญหาคุณภา<strong>พ</strong>สูง ได้แก่1) เห็ดหอมทั้งสดและแห้ง ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์จํานวน 200 ตัว<strong>อย</strong>่าง<strong>พ</strong>บโลหะหนักไม่เข้ามาตรฐานตามเกณฑ์ประกา<strong>ศ</strong>ฯ ฉบับที่ 98 จํานวน 34 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 17.00เป็นผลิตภัณฑ์นําเข้าจากประเท<strong>ศ</strong>จีน2) ผัก ผลไม้ และผลิตภัณฑ์ ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์จํานวน 1,069 ตัว<strong>อย</strong>่างไม่เข้ามาตรฐานจํานวน 180 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 16.84 สาเหตุปัญหาคุณภา<strong>พ</strong>ส่วนใหญ่เนื่องจาก<strong>พ</strong>บสาร<strong>พ</strong>ิษตกค้างจากยาฆ่าแมลงไม่เข้ามาตรฐานร้<strong>อย</strong>ละ 38.33 รองลงมาเนื่องจากวัตถุกันเสียไม่เข้ามาตรฐาน ร้<strong>อย</strong>ละ 21.67 และสารให้ความหวานไม่เข้ามาตรฐาน ร้<strong>อย</strong>ละ 18.33 ผลิตภัณฑ์ที่ไม่เข้ามาตรฐานส่วนใหญ่นําเข้าจากประเท<strong>ศ</strong>จีน ร้<strong>อย</strong>ละ 77.223) น้ํามันและไขมัน ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์จํานวน 41ตัว<strong>อย</strong>่าง ไม่เข้ามาตรฐานจํานวน 4 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 9.76 โดย<strong>พ</strong>บว่ามีกลิ่นหืนคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 19


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>‣ การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์อาหารในประเท<strong>ศ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ รวบรวมผลการตรวจวิเคราะห์ตัว<strong>อย</strong>่างผลิตภัณฑ์อาหารจากผู้ผลิตและจําหน่ายภายในประเท<strong>ศ</strong>โดยตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ มีรายละเอียดผลการวิเคราะห์แยกตามชนิดสาร เรียงลําดับความไม่ปลอดภัยที่<strong>พ</strong>บมากที่สุดตามลําดับ ดังนี้1) การปลอมปนสารที่มีฤทธิ์เป็นยาในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เช่น จากผลการตรวจวิเคราะห์จํานวนทั้งหมด 45 รายการ ผ่านมาตรฐานคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 84.44 โดย<strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐานเช่น การเติมยา Sildenafil ซึ่งใช้ในการรักษาอาการหย่อนสมรรถภา<strong>พ</strong>ทางเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong> และ การเติมยา Sibutramineซึ่งเป็นยาที่ใช้ในการลดความอ้วนลงในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร2) การใช้วัตถุเจือปนอาหารไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ได้แก่- การใช้สารให้ความหวาน เกินปริมาณที่กําหนด จํานวนทั้งหมด 620 รายการผ่านมาตรฐานคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 86.16 โดย<strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐาน คือ ผลไม้ 3 รสอบแห้ง- การใช้วัตถุกันเสียเกินปริมาณที่กําหนด เช่น สารในกลุ่มเบนโซเอตไนเตรท ไนเตรทจํานวนทั้งหมด 1,290 รายการ ผ่านมาตรฐานคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 89.99 โดย<strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐาน คือน้ําจิ้มซอสห<strong>อย</strong>นางรม ซอสชนิดต่างๆ ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่- การใช้สีผสมอาหารเกินปริมาณที่กําหนดหรือใส่ในอาหารที่ห้ามใช้ จํานวนทั้งหมด 1,648 รายการ ผ่านมาตรฐานคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 92.2 โดย<strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐาน คือชา(ผงสําเร็จรูป) ขนมเด็ก หมูบด หมูแดดเดียว3) การปนเปื้อนโลหะหนัก (ตะกั่ว ปรอท แคทเมี่ยม) ในผลิตภัณฑ์อาหาร จํานวนทั้งหมด560 รายการ ผ่านมาตรฐานคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 88.39 โดย<strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐาน คือชาสมุนไ<strong>พ</strong>ร ไข่เยี่ยวม้า <strong>พ</strong>ืชผักและผลไม้แห้ง4) การปนเปื้อนจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์อาหาร จํานวนทั้งหมด 1,705 รายการผ่านมาตรฐาน คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 95.07 โดย<strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐาน คือ น้ําแข็งหลอด น้ําแข็งซองเครื่องดื่มชนิดแห้งและ ชนิดผง น้ําบริโภค ไอ<strong>ศ</strong>กรีม5) การตกค้างของยาปฏิชีวนะ จํานวนทั้งหมด 620 รายการ ผ่านมาตรฐานคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 96.29 โดย<strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐาน คือ เนื้อสัตว์ เช่น กุ้ง หมู ไก่‣ ผลิตภัณฑ์อาหารตามนโยบายอาหารปลอดภัย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาโดยหน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่ฯ กองควบคุมอาหาร (Mobile Unit) ร่วมกับ<strong>ศ</strong>ูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข ได้ดําเนินการตรวจวิเคราะห์ตัว<strong>อย</strong>่างอาหารใน<strong>พ</strong>ื้นที่ต่างๆทั่วประเท<strong>ศ</strong> สรุปผลการตรวจวิเคราะห์ ได้ดังนี้1) การตรวจสอบความปลอดภัยจากสารปนเปื้อน 6 ชนิด เป็นการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน 6 ชนิดที่เจือปนในอาหาร ได้แก่ สารเร่งเนื้อแดง สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว ฟอร์มาลีนสารกันรา และยาฆ่าแมลง จากผลการตรวจวิเคราะห์ตัว<strong>อย</strong>่างอาหารในภา<strong>พ</strong>รวมทั้งประเท<strong>ศ</strong> ทั้งสิ้น 120,406ตัว<strong>อย</strong>่าง <strong>พ</strong>บอาหารมีการปนเปื้อนสารปนเปื้อนไม่เข้ามาตรฐาน ร้<strong>อย</strong>ละ 1.88 โดยมีรายละเอียดดังนี้(1) การตกค้างของยาฆ่าแมลงในตัว<strong>อย</strong>่างอาหาร- ตัว<strong>อย</strong>่างอาหารประเภทเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ จํานวนทั้งหมด 7,265 รายการผ่านมาตรฐานร้<strong>อย</strong>ละ 92.77 ตัว<strong>อย</strong>่างที่<strong>พ</strong>บตกมาตรฐาน คือ ปลาร้า ปลาหวาน ปลาเค็ม ปลาแห้ง และกะปิคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 20


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>- ตัว<strong>อย</strong>่างอาหารประเภท<strong>พ</strong>ืชผักผลไม้และผลิตภัณฑ์ (ผักและผลไม้)จํานวนทั้งหมด 61,163 รายการ ผ่านมาตรฐานร้<strong>อย</strong>ละ 96.14 ตัว<strong>อย</strong>่างที่<strong>พ</strong>บตกมาตรฐาน คือใบบัวบกบร๊อกโคลี ดอกหอม <strong>พ</strong>ริกสด ต้นหอม, ส้ม, ชม<strong>พ</strong>ู่ เงาะ องุ่น และแตงโม(2) การตกค้างของสารเร่งเนื้อแดงในตัว<strong>อย</strong>่างอาหาร จํานวนทั้งหมด 1,356 รายการผ่านมาตรฐาน คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 96.90 <strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐาน คือ เนื้อหมู(3) การปลอมปนของฟอร์มาลดีไฮด์ในตัว<strong>อย</strong>่างอาหาร จํานวนทั้งหมด 9,974 รายการผ่านมาตรฐานคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 97.67 โดย<strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐาน คือ ปลาหมึกกรอบ สไบนาง เห็ดหอมปลาหมึก และเล็บมือนาง(4) การปลอมปนของบอแรกซ์ในตัว<strong>อย</strong>่างอาหาร จํานวนทั้งหมด 24,995 รายการผ่านมาตรฐานคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 99.46 โดย<strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐาน คือ ถั่วลิสงเนื้อตากแห้ง ทอดมันดิบปลาบด และ<strong>พ</strong>ริกป่น(5) การปลอมปนของสารกันราในตัว<strong>อย</strong>่างอาหาร จํานวนทั้งหมด 15,695 รายการผ่านมาตรฐานคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 99.53 โดย<strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐาน คือ หน่อไม้ดองเหลือง ผักกาดเขียวดอง มะปรางดอง <strong>พ</strong>ุทราดอง องุ่นดอง กระท้อนดอง(6) การปลอมปนของสารฟอกขาวในตัว<strong>อย</strong>่างอาหาร จํานวนทั้งหมด 14,246 รายการผ่านมาตรฐานคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 99.87 โดย<strong>พ</strong>บตัว<strong>อย</strong>่างที่ไม่ผ่านมาตรฐาน คือ กระชายและกระเจี๊ยบ2) การตรวจวิเคราะห์ทางจุลินทรีย์ 7 ชนิด หน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่ฯ ทําการเก็บตัว<strong>อย</strong>่างอาหารไปตรวจวิเคราะห์ทางจุลินทรีย์ ได้แก่ Total Plate Count, Coliforms, E. coli, Yeast,Mold, S. aureus และ Salmonella โดยมีตัว<strong>อย</strong>่างที่ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนทางจุลินทรีย์ในภา<strong>พ</strong>รวมทั้งประเท<strong>ศ</strong>ทั้งสิ้น 16,648 ตัว<strong>อย</strong>่าง <strong>พ</strong>บอาหารที่มีการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ไม่เข้ามาตรฐาน คิดเป็น ร้<strong>อย</strong>ละ20.20 และ<strong>พ</strong>บว่าเชื้อจุลินทรีย์ที่มีการปนเปื้อนมากที่สุด คือ Salmonella spp.3) การตรวจวิเคราะห์ทางเคมี โดยสารเคมีที่ตรวจวิเคราะห์ ได้แก่ อะฟลาทอกซิน น้ํามันทอดซ้ํา กรดแร่อิสระ ปริมาณกรดน้ําส้ม สีสังเคราะห์ ความกระด้าง ความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณคลอรีน ปริมาณของแข็งทั้งหมด ไนเตรดและฟลูออไรด์ จากผลการทดสอบอาหารในภา<strong>พ</strong>รวมทั้งประเท<strong>ศ</strong> 13,613 ตัว<strong>อย</strong>่าง<strong>พ</strong>บสารปลอมปนทางเคมีในอาหารไม่เข้ามาตรฐาน 987 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 7.25 <strong>พ</strong>บว่าสารเคมีที่เจือปนอาหารที่<strong>พ</strong>บไม่เข้ามาตรฐานสูงที่สุดคือ อะฟลาทอกซิน <strong>พ</strong>บไม่เข้ามาตรฐาน 439 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 18.15อีกทั้งในยุคของกระแสโลกาภิวัฒน์ที่ประเท<strong>ศ</strong>ไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์กรระหว่างประเท<strong>ศ</strong>ต่างๆ เช่น WTO, AFTA ทําให้ประเท<strong>ศ</strong>ไทยต้องปฏิบัติตามหลักการและแนวทางสากลของการค้าระหว่างประเท<strong>ศ</strong> ต้องมีการปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับกติกาสากลเ<strong>พ</strong>ื่อให้สามารถคุ้มครองผู้บริโภคในประเท<strong>ศ</strong>และไม่เป็นการกีดกันทางการค้า2. ปัญหาความมั่นคงด้านอาหาร (Food Security) 1ความมั่นคงทางอาหารในระดับประเท<strong>ศ</strong>นั้น องค์การอาหารโลก(FAO) ได้ให้ความหมายว่าการมีปริมาณอาหารสําหรับบริโภคภายในครอบครัว และชุมชน <strong>อย</strong>่างเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ ปลอดภัย และมีคุณภา<strong>พ</strong>ตลอดเวลา<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง ซึ่งในความหมายนี้รวมถึงการมีระบบการจัดการผลผลิตที่เกื้อหนุนต่อความยั่งยืน และความมั่นคงทางการผลิตทั้งที่ดิน น้ํา และทรั<strong>พ</strong>ยากรเ<strong>พ</strong>ื่อการผลิตอื่นๆ และมีระบบการกระจายผลผลิต ที่เป็นธรรม และเหมาะสมทั้งในระดับครัวเรือน ชุมชน และประเท<strong>ศ</strong>1. อ้างอิงข้อมูลจากเอกสารประกอบการวิเคราะห์สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมและทบทวนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong><strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข <strong>ปี</strong> 2552-2555 ของสํานักนโยบายและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 21


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ผลกระทบจากสนธิสัญญาการคุ้มครองสิทธิบัตรสิ่งมีชีวิต คุ้มครอง<strong>พ</strong>ันธุ์<strong>พ</strong>ืช ตามกรอบการค้าเสรีไทย-สหรัฐอเมริกา ไทย-สิงคโปร์ มีผลกระทบต่อ<strong>พ</strong>ันธุ์<strong>พ</strong>ืชสมุนไ<strong>พ</strong>ร ภูมิปัญญาการแ<strong>พ</strong>ทย์แผนไทยโดยบริษัทเมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ์<strong>พ</strong>ืชข้ามชาติจะเข้ามาฉกฉวยแย่งชิงทรั<strong>พ</strong>ยากร<strong>พ</strong>ันธุกรรมในประเท<strong>ศ</strong>ไทย ส่งผลให้ความมั่นคงทางอาหารเสียสมดุลและความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อาจจะสูญเสียไปได้ นับเป็นอุปสรรคต่อความก้าวหน้าของวงการแ<strong>พ</strong>ทย์แผนไทยด้วย จากปรากฏการณ์ดังกล่าวข้างต้นจะส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหารของประเท<strong>ศ</strong>ไทยในทุกมิติ ตั้งแต่การไม่สามารถเข้าถึงปัจจัยการผลิตทั้งที่ดิน เมล็ด<strong>พ</strong>ันธุ์และระบบชลประทานของเกษตรกรรายย่<strong>อย</strong>ที่มีมากกว่า 3 ล้านครัวเรือน เกษตรกรตก<strong>อย</strong>ู่ใต้อาณัติอิทธิ<strong>พ</strong>ลเกษตร<strong>พ</strong>ันธสัญญา (Contact farming) ของบรรษัทอุตสาหกรรมการเกษตรข้ามชาติการไม่สามารถ<strong>พ</strong>ึ่ง<strong>พ</strong>ิงตนเองตามปรัชญาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียง จนถึงสภาวะขาดแคลนอาหาร หากเกิดภาวะข้าวยากหมากแ<strong>พ</strong>งเกินกว่าประชาชนทั่วไปจะซื้อหามาบริโภคได้ เ<strong>พ</strong>ราะอาหารส่วนหนึ่งซึ่งมีปริมาณมหา<strong>ศ</strong>าลจะถูกส่งไปประเท<strong>ศ</strong>ที่เข้ามาลงทุนในไทยด้านการเกษตรเ<strong>พ</strong>ื่อผลิตอาหาร ดังสถานการณ์ที่เกิดกับประเท<strong>ศ</strong>ยากจนในทวีปแอฟริกา ที่ความมั่นคงทางอาหารอันเปราะบาง<strong>อย</strong>ู่แล้วถูกทําให้อ่อนแ<strong>อย</strong>ิ่งขึ้นจากการกว้านซื้อที่ดินหรือเช่า<strong>พ</strong>ื้นที่ทําเกษตรแล้วป้อนผลผลิตกลับไปประเท<strong>ศ</strong>ของตนดังนั้นเ<strong>พ</strong>ื่อป้องกันไม่ให้ประเท<strong>ศ</strong>ไทยเสี่ยงเผชิญสถานการณ์ดังกล่าวจากการเปิดเสรีการลงทุนที่มีนัยสําคัญมากกว่าการเปิดเสรีทุกรูปแบบที่ผ่านมาในอดีต และเ<strong>พ</strong>ื่อความรัดกุมรอบคอบและคํานึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ทุกภาคส่วน<strong>อย</strong>่างแท้จริง จึงจําเป็น<strong>อย</strong>่างยิ่งยวดที่สังคมไทยจะต้องรู้เท่าทันและควบคุมกํากับการดําเนินการเปิดเสรีทางการค้ากับประเท<strong>ศ</strong>คู่ค้า หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องต้องมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และวาง<strong>อย</strong>ู่บนหลักธรรมาภิบาล (Good governance) ในการบริหารกิจการภาครัฐ<strong>อย</strong>่างเคร่งครัดจากแนวโน้มดังกล่าวข้างต้น จําเป็น<strong>อย</strong>่างยิ่งที่ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และต้องประสานความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆเช่น กรมวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์การแ<strong>พ</strong>ทย์ กรมอนามัย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดฯลฯ ในการเฝ้าระวัง ส่งเสริม ป้องกันและเคร่งครัดในการบังคับใช้กฎหมายเ<strong>พ</strong>ื่อจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการคุ้มครองผู้บริโภคคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 22


2. สถานการณ์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ปัจจุบันวงการด้านยา มีการเปลี่ยนแปลง<strong>อย</strong>่างก้าวกระโดด เมื่อเทคโนโลยีทางชีวภา<strong>พ</strong>เข้ามามีบทบาทไม่ว่าจะเป็น เทคนิคการผลิต แบบ Biotechnology :Recombinant DNA / Monoclonal Antibodyแนวทางการ<strong>พ</strong>ัฒนายากับผู้ป่วยเฉ<strong>พ</strong>าะตน (Product for Patient name) เช่น Anticancer drugจาก Cell มะเร็งของผู้ป่วยหรือความรุดหน้าใน<strong>ศ</strong>าสตร์ด้าน Regenerative medicine เช่น เทคโนโลยี Stem cellเป็นต้น รวมทั้งแนวโน้มการ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑ์ vaccine ในโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ํา นอกจากนั้น ยังต้องเผชิญกับแนวคิดเกี่ยวกับ เรื่อง Bio-similar product ในขณะที่ยาทางเคมี นั้นทิ<strong>ศ</strong>ทางการ<strong>พ</strong>ัฒนาจะเน้นระบบการนําส่งยารูปแบบใหม่ New delivery system เช่น เทคโนโลยี Liposome / Nanotechnologyและให้ยาสามารถไปสู่<strong>พ</strong>ื้นที่ที่เป็นเป้าหมายได้<strong>อย</strong>่างเฉ<strong>พ</strong>าะเจาะจงมากขึ้น ยังมียาบางกลุ่มที่เริ่มมีการใช้กัน<strong>อย</strong>่างแ<strong>พ</strong>ร่หลายมากขึ้น แต่ยังไม่มีมาตรการในการกํากับดูแลที่ชัดเจน เช่น Radio pharmaceutical ในงานรังสีวินิจฉัย สําหรับใช้ในการวินิจฉัยร่วมกับเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ เช่น PET Scan หรือเครื่อง Cyclotronรวมทั้ง Medical gas เช่น Nitrous oxide / ก๊าซออกซิเจน ที่ใช้ในทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ในประเด็นของ ผลิตภัณฑ์คาบเกี่ยวนั ้น แนวโน้มในอนาคตอาหารใหม่ (Novel food)หรือสารใหม่ที่ใช้เป็นส่วนประกอบของอาหาร (Novel ingredient) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์หรืออาหารหรือส่วนประกอบของอาหารใดๆที่ผู้บริโภคในประเท<strong>ศ</strong>ไทยมิได้บริโภคเป็นอาหารหรือใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารมาแต่ดั้งเดิมหรือมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบหรือกระบวนการผลิตไปจากเดิม เช่น รูปแบบนาโนเทคโนโลยีใช้วิธีผลิตจากการ Fermentation แทนการสกัดหรือสังเคราะห์ขึ้นมาใหม่ หรือมีปริมาณสารสําคัญ(Active ingredient) ที่บริโภคมากกว่าเดิม<strong>อย</strong>่างมีนัยสําคัญ จะเข้ามามีบทบาทในวงการสาธารณสุขเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นโดยมักจะมีความ<strong>พ</strong>ยายามในการแสดงสรร<strong>พ</strong>คุณมาเ<strong>พ</strong>ื่อบําบัด บรรเทา วินิจฉัย รักษาโรค คาบเกี่ยวกับความเป็นยาจากแนวโน้มข้างต้น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงต้องจัดทําระบบการกํากับ ดูแลและติดตาม คุณภา<strong>พ</strong> ประสิทธิภา<strong>พ</strong> ความปลอดภัย <strong>อย</strong>่างรอบคอบต่อไปนอกจากนั้น แนวโน้มการ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยยาใหม่ ในประเท<strong>ศ</strong>ไทยก็มีแนวโน้มที่บริษัทยาจะมาลงทุนทํา Clinical trial phase 1 และ 2 มากขึ้น เนื่องมาจาก• แนวคิด เรื่อง Global Clinical trial โดยทําการ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัย<strong>พ</strong>ร้อมๆกันในหลายประเท<strong>ศ</strong> มี subjectทดลองมากขึ้น สําเร็จรวดเร็วขึ้น• ความรู้ ความสามารถของนักวิจัยทางคลินิกในประเท<strong>ศ</strong> มีมากขึ้น มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากมีการสั่งสมประสบการณ์จากการวิจัย phase 3 และ 4 มาแล้ว• ความตื่นตัวของ นักวิจัยทางคลินิกของไทย ที่สนใจทํา Clinical trial ใน phase 1 และ 2 มากขึ้น• องค์กรควบคุมกํากับการวิจัยทางคลินิกและจริยธรรมการวิจัยเป็นที่ยอมรับการมีแนวโน้มที่บริษัทยาจะมาลงทุนทํา Clinical trial phase 1 และ 2 มากขึ้น จะเกิดประโยชน์กับประเท<strong>ศ</strong>ในหลายแง่มุม เช่นนักวิจัยทางคลินิกในประเท<strong>ศ</strong>จะได้เ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ูนประสบการณ์การทําวิจัยทางคลินิก อันจะนําไปสู่โอกาสในการวิจัย<strong>พ</strong>ัฒนายาจากสมุนไ<strong>พ</strong>รในประเท<strong>ศ</strong> และการ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยยาในช่วงแรกๆในประเท<strong>ศ</strong> จะทําให้มีข้อมูลขนาดยาที่<strong>พ</strong>อเหมาะสําหรับใช้กับคนไทย ลดอันตรายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้นอกจากนั้นการ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยยาในประเท<strong>ศ</strong>ไทย ภายใต้การกํากับดูแลจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทําให้มีโอกาสในการขึ้นทะเบียนตํารับยาในประเท<strong>ศ</strong>ไทยได้ง่ายขึ้นด้วยคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 23


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong><strong>อย</strong>่างไรก็ตามสิ่งที่ต้องคํานึงถึง 2 ประการสําคัญ คือ การกําหนดเงื่อนไขความปลอดภัยเบื้องต้นของยาที่จะนําเข้ามาวิจัยและการกํากับ ดูแลกระบวนการ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยให้เป็นไปตามมาตรฐาน GCP:Good ClinicalPractice รวมทั้งการคุ้มครองสิทธิและความปลอดภัยของผู้เข้าร่วมในการ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัย (Subject)การตรวจสอบสถานประกอบการและผลิตภัณฑ์ยาที่ผลิตและจําหน่ายในประเท<strong>ศ</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ร่วมกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ในการตรวจสอบสถานที่ผลิตยาแผนปัจจุบันและยาแผนโบราณ ที่ต้องผ่านมาตรฐาน GMP <strong>ปี</strong> 2552 <strong>พ</strong>บว่ามีสถานที่ผลิตยาแผนปัจจุบันและยาแผนโบราณ ผ่านมาตรฐาน GMP ร้<strong>อย</strong>ละ 94.01 (157 แห่ง จากสถานที่ผลิตยาแผนปัจจุบันที่เข้าข่ายต้องผ่านการประเมิน GMP ทั้งหมด 167 แห่ง) และร้<strong>อย</strong>ละ 2.27 (23 แห่ง จากสถานที่ผลิตยาแผนโบราณที่เข้าข่ายต้องผ่านการประเมิน GMP ทั้งหมด 1,013 แห่ง) ตามลําดับ นอกจากนี้ได้ร่วมมือกันตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ยาที่ผลิตและจําหน่ายในประเท<strong>ศ</strong>ให้มีความปลอดภัย รวมถึงตรวจสอบอาหารนําเข้า ณ ด่านอาหารและยาใน<strong>ปี</strong>งบประมาณ 2552 ผลการวิเคราะห์ ดังนี้‣ ผลิตภัณฑ์ยา เก็บตัว<strong>อย</strong>่างจากผู้ผลิตและจําหน่ายในท้องตลาด ผลการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ยาเก็บตัว<strong>อย</strong>่างจากผู้ผลิต และจําหน่ายในท้องตลาดทั้งสิ้น 849 ตัว<strong>อย</strong>่าง ไม่เข้ามาตรฐานจํานวน66 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 7.77 เป็นการตรวจเอกลักษณ์ยาซึ่งไม่สามารถสรุปผลจํานวน 19 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 2.24 ผลิตภัณฑ์ยาที่<strong>พ</strong>บไม่เข้ามาตรฐานสูง ได้แก่ Salbutamol (tablet) และPolymixin B sulfate& Neomycin (eye drop)‣ ผลิตภัณฑ์ยาและเภสัชเคมีภัณฑ์ นําเข้า ณ ด่านอาหารและยา ผลการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ยาและเภสัชเคมีภัณฑ์นําเข้า ณ ด่านอาหารและยา จํานวนทั้งสิ้น 11,748 ตัว<strong>อย</strong>่าง ไม่เข้ามาตรฐานจํานวน 11 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 0.09 ตรวจเอกลักษณ์/ไม่สรุปผลจํานวน 1 ตัว<strong>อย</strong>่างคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 0.01จากผลการตรวจวิเคราะห์<strong>พ</strong>บว่าผลิตภัณฑ์เภสัชเคมีภัณฑ์ที่นําเข้า ณ ด่านอาหารและยา เข้ามาตรฐานทั้งหมดในส่วนของผลิตภัณฑ์ยาสําเร็จรูปที่<strong>พ</strong>บปัญหาคุณภา<strong>พ</strong>สูง- ยาแผนโบราณ ตรวจ<strong>พ</strong>บโลหะหนัก เป็นผลิตภัณฑ์นําเข้ามาจากประเท<strong>ศ</strong>สหรัฐอเมริกา- Acyclovir for injection <strong>พ</strong>บปริมาณน้ําเกิน เป็นผลิตภัณฑ์นําเข้ามาจากประเท<strong>ศ</strong>ปากีสถาน- Indapamide tablet การละลายของยาไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่กําหนด เป็นผลิตภัณฑ์นําเข้ามาจากประเท<strong>ศ</strong>อินเดีย‣ ผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไ<strong>พ</strong>ร ที่ผลิตโดยวิสาหกิจชุมชน ผลการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไ<strong>พ</strong>รที่ผลิตโดยวิสาหกิจชุมชน ดําเนินการเก็บตัว<strong>อย</strong>่างทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคโดย<strong>ศ</strong>ูนย์ประสานงาน<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน โดยภา<strong>พ</strong>รวมทั้งประเท<strong>ศ</strong> ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์จํานวนทั้งสิ้น 244 ตัว<strong>อย</strong>่าง ไม่เข้ามาตรฐาน 55 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 22.54 กลุ่มผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไ<strong>พ</strong>รที่ผลิตโดยวิสาหกิจชุมชนที่<strong>พ</strong>บไม่เข้ามาตรฐานสูง ได้แก่ กลุ่มยาน้ํา<strong>พ</strong>ร้อมรับประทาน ยาชงน้ําร้อน ยาผงชงละลาย และยาใช้ภายนอก เช่น ลูกประคบ และจากข้อมูลจากการทบทวนสถานการณ์ด้านยา <strong>ปี</strong> 2534<strong>พ</strong>บยาผิดมาตรฐาน 11.5% ในขณะที่สํารวจอีกครั ้งเมื่อ <strong>ปี</strong> 2545 <strong>พ</strong>บยาผิดมาตรฐาน 13.7% ใกล้เคียงกับผลการเฝ้าระวังคุณภา<strong>พ</strong>ยาของประเท<strong>ศ</strong>โดยภา<strong>พ</strong>รวมใน<strong>ปี</strong> 2545-2547 (รวมข้อมูลโครงการเฝ้าระวัง โครงการสร้างหลักประกันคุณภา<strong>พ</strong>และมาตรฐานบริการด้านยา กรณี<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษและอื่นๆ) <strong>พ</strong>บว่ายาแผนปัจจุบันมีปัญหาผิดมาตรฐาน 13.1 % (358 จาก 2,729 ตัว<strong>อย</strong>่าง) เป็นข้อมูลรวมของยาทั้งในและนอกโครงการหลักประกันสุขภา<strong>พ</strong>ถ้วนหน้าคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 24


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>การที่มียาคุณภา<strong>พ</strong>ต่ํากระจาย<strong>อย</strong>ู่ในท้องตลาดมาจากปัจจัยหลายประการ เช่น ข้อจํากัดในการควบคุม กํากับคุณภา<strong>พ</strong>ยาของภาครัฐตั้งแต่วัตถุดิบ กระบวนการผลิต จนถึงยาสําเร็จรูป มาตรฐานด้านยากระบวนการผลิต การขนส่งและการเก็บรักษาที่ทันสมัย สามารถบังคับใช้ได้ตามบริบทของประเท<strong>ศ</strong> <strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของผู้คัดเลือกยาเข้าในสถาน<strong>พ</strong>ยาบาล ระบบข้อมูลคุณภา<strong>พ</strong>ยาประกอบการตัดสินใจเลือกยา <strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>และจิตสํานึกของผู้ผลิตยา <strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ห้องทดลองในการวิเคราะห์คุณภา<strong>พ</strong>ยา เป็นต้น ซึ่งที่ผ่านมาสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้กําหนดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ประกันคุณภา<strong>พ</strong>ยา สําหรับแก้ไขปัญหาคุณภา<strong>พ</strong>ยา<strong>อย</strong>่างรอบคอบและต่อเนื่องแล้ว โดยมีการกําหนดมาตรการต่างๆมากมาย เช่น การกําหนดมาตรการให้มีการ<strong>ศ</strong>ึกษาชีวสมมูล แต่ปัจจุบันยังมีห้องปฏิบัติการชีวสมมูลไม่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อและยังไม่ได้มาตรฐานสากลแต่มีแนวโน้มว่าจะมีทั้งบริษัทข้ามชาติและบริษัทในประเท<strong>ศ</strong>จะลงทุนเปิดห้องปฏิบัติการชีวสมมูลเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น และมีแนวโน้มที่จะยอมรับการ<strong>ศ</strong>ึกษาชีวสมมูลซึ่งกันและกันในกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>อาเซียน<strong>อย</strong>่างไรก็ตามปัจจัยที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือ ภาวการณ์แข่งขันทั้งภายในกลุ่มผู้ผลิตยาในประเท<strong>ศ</strong>และระหว่างผู้ผลิตยาในประเท<strong>ศ</strong>และผู้นําเข้ายา(ต้นแบบหรือกลุ่ม generic productจากประเท<strong>ศ</strong>อื่น) ทวีความรุนแรงมาก กล่าวคือ การที่บริษัทยาขนาดใหญ่ของโลกมีแนวโน้มที่จะหันมาแข่งขันในตลาดยา generic เ<strong>พ</strong>ราะได้เปรียบจากความคุ้มค่าจากปริมาณการผลิตที่มากขึ้น(economy of scale)การจัดซื้<strong>อย</strong>ารวมของสถาน<strong>พ</strong>ยาบาลจํานวนมากๆ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ได้ยาราคาถูก อันเนื่องมาจากมาตรการควบคุมค่าใช้จ่ายภาครัฐ การแปรรูปองค์การเภสัชกรรม รวมทั้งจํานวนร้านขายยาที่มีจํานวนมาก แข่งขันด้านราคา<strong>อย</strong>่างรุนแรง ทําให้มีความต้องการยาที่มีราคาถูกในท้องตลาด ซึ่งปัจจัยดังกล่าวหากไม่ควบคุม กํากับ <strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>จะส่งผลกระทบ<strong>อย</strong>่างรุนแรงต่อคุณภา<strong>พ</strong>ยาในประเท<strong>ศ</strong>ในที่สุดจากแนวโน้มข้างต้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ต้องจัดทําระบบการกํากับ ดูแลและติดตาม คุณภา<strong>พ</strong> ประสิทธิภา<strong>พ</strong> ความปลอดภัย <strong>อย</strong>่างรอบคอบ โดยเน้นเรื่องการ<strong>พ</strong>ัฒนาเครือข่ายการดําเนินงานกับทุกภาคส่วน เช่น สถาบันการ<strong>ศ</strong>ึกษา องค์กร/สมาคมภาคประชาชน องค์กร/สมาคมผู้ประกอบการ ฯลฯ เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์ความรู้ใหม่และสร้างแนวทางการดําเนินงานร่วมกัน<strong>อย</strong>่างบูรณาการต่อไป3. สถานการณ์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความจําเป็นด้านการแ<strong>พ</strong>ทย์และสาธารณสุขซึ่งมีผลกระทบ<strong>อย</strong>่างสูงต่อระบบค่าใช้จ่ายด้านสุขภา<strong>พ</strong>โดยรวม ตลาดของเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ในประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่<strong>อย</strong> ๆ ตามความหลากหลายและความเจริญก้าวหน้าของเครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ และความต้องการของตลาดที่สนองต่อคุณภา<strong>พ</strong>ชีวิตและปัญหาสุขภา<strong>พ</strong>ความเจ็บป่วยของประชาชน ซึ่งในระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์มีองค์ประกอบที่สําคัญประกอบด้วยผลิตภัณฑ์เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ ผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และหน่วยงานที่ร่วมรับผิดชอบในการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้น มีทั้งผลดีหรือปัจจัยเสริมหรืออาจก่อให้เกิดปัญหาอุปสรรคและมีผลกระทบต่องานคุ้มครองผู้บริโภคดังนี้1.ผลิตภัณฑ์เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ที่ผลิตและจําหน่ายในประเท<strong>ศ</strong>1) มีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็นไป<strong>อย</strong>่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆที่มีการผสมผสานของเทคโนโลยีเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น เช่น Biomedical Engineering, Material Technology,Nanotechnology มีผลทําให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลาย มีความคาบเกี่ยวระหว่างผลิตภัณฑ์มากขึ้นคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 25


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>2) มีการ<strong>พ</strong>ัฒนาและประดิษฐ์เครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ที่ประยุกต์ตามหลักการทางการแ<strong>พ</strong>ทย์เ<strong>พ</strong>ื่อให้สะดวกต่อการใช้งานและผู้บริโภคสามารถนําไปใช้ได้ด้วยตนเองเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>และยังมีการนํามาใช้<strong>อย</strong>่างกว้างขวางในธุรกิจด้านเสริมความงาม ก่อให้เกิดการใช้เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์<strong>อย</strong>่างไม่เหมาะสม อันตรายจากการใช้เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์<strong>อย</strong>่างไม่ถูกต้อง การโฆษณาและส่งเสริมการขายหลากหลายรูปแบบ เช่น เปิดสถานที่จําหน่ายให้บริการหรือทดลองใช้โดยย้ายสถานที่ไปเรื่<strong>อย</strong> ๆการขายตรง การขายทางอินเตอร์เน็ต การชักชวนเป็นสมาชิกโดยให้หุ้นและให้ชักชวนผู้อื่นต่อ การจําหน่ายเ<strong>พ</strong>ื่อนําไปเปิดเป็น<strong>ศ</strong>ูนย์บริการให้กับบุคคลอื่น ซึ่งส่วนใหญ่แอบแฝงด้วยการโฆษณาโอ้อวดเป็นเท็จเกิน3) กระแสแฟชั่นการใช้ผลิตภัณฑ์บางชนิดได้ระบาดสู่ในกลุ่มวัยรุ่นชายหญิง เช่น ลวดดัดฟันแฟชั่นมีหลายรูปแบบทั้งชนิดที่สามารถซื้อมาใส่ได้เอง หรือลวดดัดฟันแฟชั่นเลนส์สัมผัสเ<strong>พ</strong>ื่อความสวยงาม ที่ทําให้มองเห็นตากลมโตตามแบบดาราเกาหลีและญี่ปุ่นจากสถานการณ์ปัญหา ดังกล่าวมีสาเหตุจากจุดอ่อนของกฎหมาย และมีความเกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน จึงมีความจําเป็นที่ต้องมีการทํางานเชิงบูรณาการโดยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้ทันต่อการแก้ไขสภา<strong>พ</strong>ปัญหาที่เร่งทําการประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ประชาชน โดยเฉ<strong>พ</strong>าะการมุ่งเน้นการให้ข้อมูลโดยตรงต่อกลุ่มนักเรียนทุกระดับ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ได้รับทราบข้อมูลที่ถูกต้อง<strong>อย</strong>่างครอบคลุมทุกระดับ โดยจะต้องทําการประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์<strong>อย</strong>่างต่อเนื่องสม่ําเสมอเ<strong>พ</strong>ื่อให้ตระหนักถึงปัญหาตลอดเวลา4) การกระจายตัวของเครื่องมือที่ใช้เทคโนโลยีสูงและมีราคาแ<strong>พ</strong>ง เช่น เครื่องสลายนิ่ว (ESWL)เครื่องเอ็กซเรย์คอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์ (CT scanner) เครื่องตรวจมะเร็งเต้านม ฯลฯ มีการกระจุกตัว<strong>อย</strong>ู่ในสถาน<strong>พ</strong>ยาบาลภาคเอกชน และยัง<strong>พ</strong>บว่าผู้มีรายได้น้<strong>อย</strong>และไม่มีหลักประกันสุขภา<strong>พ</strong>เข้าถึงบริการเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ที่ใช้เทคโนโลยีสูงและมีราคาแ<strong>พ</strong>ง น้<strong>อย</strong>กว่าผู้มีรายได้สูงและมีหลักประกันสุขภา<strong>พ</strong>จากสภา<strong>พ</strong>การกระจายของเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์เทคโนโลยีสูงราคาแ<strong>พ</strong>ง<strong>อย</strong>่างไม่เหมาะสมและไม่เป็นธรรมในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา จึงมีความจําเป็นที่จะต้องกําหนดมาตรการประเมินเทคโนโลยีของเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีประเมินผลกระทบและความคุ้มค่าทางด้านเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมด้วย5) จากการเฝ้าระวังคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานของเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ ที่ต้องได้รับอนุญาตระหว่าง<strong>ปี</strong> 2550 -2552 <strong>พ</strong>บว่าเข้ามาตรฐานร้<strong>อย</strong>ละ 94.10, 94.72 และ94.95 ตามลําดับ โดยถุงมือสําหรับการตรวจโรคมีคุณภา<strong>พ</strong>เข้ามาตรฐานต่ําที่สุด เ<strong>พ</strong>ียงร้<strong>อย</strong>ละ 75.00, 75.32 และ 75.90 ใน<strong>ปี</strong> 2550 <strong>ปี</strong> 2551 และ<strong>ปี</strong> 2552ตามลําดับตารางสรุปผลการตรวจวิเคราะห์เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ที่จําหน่ายในท้องตลาด <strong>ปี</strong>งบประมาณ 2550 – 2552ชนิด2550 2551 2552เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์จํานวนตัว<strong>อย</strong>่างเข้ามาตรฐาน(ตัว<strong>อย</strong>่าง)ร้<strong>อย</strong>ละเข้ามาตรฐานจํานวนตัว<strong>อย</strong>่างเข้ามาตรฐาน(ตัว<strong>อย</strong>่าง)ร้<strong>อย</strong>ละเข้ามาตรฐานจํานวนตัว<strong>อย</strong>่างเข้ามาตรฐาน(ตัว<strong>อย</strong>่าง)ร้<strong>อย</strong>ละเข้ามาตรฐาน1. Condom 360 352 97.80 371 367 98.92 365 343 99.13 (1)2. Examination Glove 80 60 75.00 77 58 75.32 83 63 75.903. Surgical Glove 10 9 90.00 11 8 72.73 21 20 95.244. Syringe 31 31 100.00 33 33 100.00 35 34 97.145. Sterile MedicalDevice 10 10 100.00 - - - - - -6. ชุดตรวจการติดเชื้อ HIV - - - - - - 10 10 0รวม 491 462 94.10 492 466 94.72 495 470 94.95 (2)หมายเหตุ(1)(2)= ได้รับผลวิเคราะห์ 346 ตัว<strong>อย</strong>่าง จากทั้งหมด 365 ตัว<strong>อย</strong>่าง= ได้รับผลวิเคราะห์ 495 ตัว<strong>อย</strong>่าง จากทั้งหมด 514 ตัว<strong>อย</strong>่างคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 26


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>2. ผู้ประกอบการเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ปัจจุบันมีผู้ประกอบการด้านเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ที่มายื่นคําขอจดทะเบียนสถานประกอบการไว้กับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประมาณ 1,715 ราย เป็นผู้นําเข้า 1,384 ราย และผู้ผลิตเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ 331 ราย โดยผู้ผลิตในประเท<strong>ศ</strong>ส่วนใหญ่เป็นผู้ผลิตระดับเล็กจนถึงระดับกลางโดยมีเทคโนโลยีการผลิตไม่สูงนัก ประกอบกับธุรกิจเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแ<strong>พ</strong>ทย์มีความหลากหลายรูปแบบและมีการแข่งขันกันมากขึ้น เช่น บริการให้เช่า ให้ยืม ติดตั้ง ซ่อม และบํารุงรักษาเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ ก่อให้เกิดผลกระทบตามมา เช่น ภาระงานที่เ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น ปัญหาการร้องเรียนบุคคลที่เป็นคู่แข่งทางด้านการค้าการโฆษณา และซื้อขายเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์<strong>อย</strong>่างไม่ถูกต้อง ซึ่งจากการตรวจสอบการโฆษณาเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ทางสื่อต่าง ๆ ระหว่าง<strong>ปี</strong> 2550 – 2552 ปรากฏผลตามตารางตารางสรุปผลการตรวจสอบการโฆษณาเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ <strong>ปี</strong>งบประมาณ 2550 - 2552ประเภทสื่อผลการตรวจสอบการโฆษณา2550 2551 2552จํานวนชิ้น ถูกต้อง ร้<strong>อย</strong>ละ จํานวนชิ้น ถูกต้อง ร้<strong>อย</strong>ละ จํานวนชิ้น ถูกต้อง ร้<strong>อย</strong>ละ1. สื่อสิ่ง<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์ 219 179 81.7 308 199 64.6 525 389 74.092. โทรทั<strong>ศ</strong>น์ 106 92 86.8 80 41 51.25 43 40 93.023. อินเทอร์เน็ต - - - 4 1 25.0 - - -4. สื่ออื่น ๆ (1) 40 29 72.5 - - - - -รวม 365 300 82.2 392 241 61.48 568 429 75.5หมายเหตุ :(1) = สื่ออื่น ๆ เช่น ป้ายโฆษณาตามถนน ป้ายรถเมล์ เป็นต้น3. ผู้บริโภคสังคมไทยมีการบริโภคข้อมูลข่าวสาร<strong>อย</strong>่างกว้างขวาง ก่อให้เกิดความต้องการใช้เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์<strong>อย</strong>่างฟุ่มเฟื<strong>อย</strong>เกินความจําเป็น โดยเฉ<strong>พ</strong>าะสินค้าเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อลดความอ้วน เ<strong>พ</strong>ื่อความสวยงามหรือเ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มความสุขทางเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong> มีผลให้มีการประกอบธุรกิจที่มีการแข่งขันด้านการโฆษณาหรือส่งเสริมการขายสูงและหลากหลายรูปแบบ เช่น การโฆษณาทางอินเตอร์เน็ต การโฆษณาขายตรงอุปกรณ์เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์บางประเภทเช่น ที่โอ้อวดเกินจริง การสาธิตการใช้เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ที่แอบแฝงการโฆษณาโอ้อวดเกินจริงในการวินิจฉัยบําบัด บรรเทาหรือรักษาโรค ที่นําไปสู่การซื้อสินค้าไปใช้ด้วยและจากกระแสสังคมของความต้องการด้านความสวยงามมีสูง มีผลให้มีการลักลอบนําเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ที่ยังไม่มีหลักฐานสนับสนุนด้านประสิทธิภา<strong>พ</strong>และความปลอดภัยเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง4. หน่วยงานกํากับดูแล1) การดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ต้องดําเนินการที่<strong>อย</strong>ู่ในรูปของเครือข่ายทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคล สถาบันที่เป็นแหล่งความรู้ เช่นมหาวิทยาลัย (หลากหลายคณะ)สภาวิชาชี<strong>พ</strong> / สมาคมวิชาชี<strong>พ</strong>/ สวทช./ วว./ วช./ สมอ. รวมทั้งองค์กรเอกชนต่าง ๆ เช่น สมาคมเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ไทย ฯลฯ มีผลทําให้การดําเนินงานเป็นไป<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และครอบคลุมทุกระดับ2) การตรวจวิเคราะห์เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ ต้อง<strong>พ</strong>ัฒนาขีดความสามารถของห้องปฏิบัติการที่มี<strong>อย</strong>ู่ รวมทั้งต้องเร่งสร้างเครือข่ายห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ทั้งภาคเอกชนและภาคการ<strong>ศ</strong>ึกษาเ<strong>พ</strong>ื่อให้สามารถรองรับความต้องการคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 27


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>3) <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551 ได้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 6 มีนาคม 2551มีผลทําให้มีภาระงานเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น เช่น การจดทะเบียนสถานประกอบการทุกแห่ง ดังนั้นจึงต้องปรับโครงสร้างและแนวทางการดําเนินงานของกองควบคุมเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ รวมทั้งเ<strong>พ</strong>ิ่มบุคลากรที่หลากหลายสาขาวิชาชี<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อให้สามารถกํากับดูแลเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ที่มีความหลากหลายและมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาของเทคโนโลยีทางการแ<strong>พ</strong>ทย์<strong>อย</strong>่างรวดเร็ว4) การส่งเสริมและ<strong>พ</strong>ัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ในประเท<strong>ศ</strong> <strong>พ</strong>บว่าไม่มีนโยบายที่ชัดเจน และไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบ<strong>อย</strong>่างจริงจัง นอกจากนี้โครงสร้างอัตราภาษีการนําเข้าเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ไม่เอื้อต่ออุตสาหกรรมการผลิตในประเท<strong>ศ</strong> เนื่องจากอัตราภาษีการนําเข้าเครื่องมือสําเร็จรูป<strong>อย</strong>ู่ในระดับต่ําระหว่างร้<strong>อย</strong>ละ 0 – 5 ในขณะที่โครงสร้างภาษีอากรขาเข้าของวัตถุดิบ ชิ้นส่วนสําเร็จรูป และปัจจัยการผลิตที่นํามาใช้ในการผลิตเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ มีอัตราสูง บางประเภทสูงถึงร้<strong>อย</strong>ละ 30 บางรายการสูงกว่าอัตราขาเข้าของเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์สําเร็จรูป ทําให้ผู้ผลิตในประเท<strong>ศ</strong>มีต้นทุนการผลิตสูง ไม่สามารถแข่งขันกับเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์สําเร็จรูปที่นําเข้าจากต่างประเท<strong>ศ</strong> ในขณะเดียวกันก็ไม่สามารถส่งออกไปจําหน่ายต่างประเท<strong>ศ</strong>ได้5. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงาน1) การดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์มีกฎหมายหลักที่ใช้ในการกํากับดูแลคือ <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2551 <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติยา <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2510 <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติเครื่องสําอาง<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2535 <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติสถาน<strong>พ</strong>ยาบาล <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2541 <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติการประกอบโรค<strong>ศ</strong>ิลปะ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2542นอกจากนี้ยังมีกฎหมายวิชาชี<strong>พ</strong>อื่น ๆ ได้แก่ <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติวิชาชี<strong>พ</strong>เวชกรรม<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2525 <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติวิชาชี<strong>พ</strong>ทันตกรรม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2537 <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติวิชาชี<strong>พ</strong>กายภา<strong>พ</strong>บําบัด<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2547<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติวิชาชี<strong>พ</strong>เทคนิคการแ<strong>พ</strong>ทย์ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2547 เป็นต้น รวมทั้ง กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค เช่น <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2522 <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติวิธี<strong>พ</strong>ิจารณาคดีผู้บริโภค <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551 เป็นต้นซึ่งในบางครั้งมีความเกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงานหากกฎหมายไม่มีความชัดเจนหรือคาบเกี่ยวกับกฎหมายหลายฉบับ ทําให้การเ<strong>พ</strong>ื่อแก้ไขปัญหาเป็นไป<strong>อย</strong>่างล่าช้า เนื่องจากขาดความชัดเจนว่าเรื่องดังกล่าว<strong>อย</strong>ู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงาน ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา สํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค และแ<strong>พ</strong>ทยสภาดังนั้นในการทํางานจะต้องมีการประสานความร่วมมือกัน<strong>อย</strong>่างใกล้ชิดและมีการหารือร่วมกัน<strong>อย</strong>่างสม่ําเสมอเ<strong>พ</strong>ื่อกําหนดขอบเขตงานให้ชัดเจนหรือแนวทางการทํางานร่วมกันแบบบูรณาการ ทั้งนี้ เ<strong>พ</strong>ื่อให้สามารถคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ยิ่งขึ้น รวมทั้ง สามารถใช้เป็นแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วย2) การเจรจาความตกลงในกฎระเบียบ และการควบคุมกํากับดูแลเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์<strong>อย</strong>่างเป็นมาตรฐานเดียวกันในระดับสากล โดยเริ่มจากกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>ที่<strong>พ</strong>ัฒนาแล้ว ได้แก่ สหภา<strong>พ</strong>ยุโรป ญี่ปุ่นสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา ได้ตระหนักถึงความแตกต่างกันในการกํากับดูแลเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ในประเท<strong>ศ</strong>ของตน ที่ก่อให้เกิดปัญหาความสิ้นเปลืองทั้งเวลา ทรั<strong>พ</strong>ยากร โดยเปล่าประโยชน์ อันเกิดจากการจดทะเบียนซ้ําซ้อน และทําให้เกิดอุปสรรคด้านการค้าเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ จึงได้ร่วมกันดําเนินการจัดตั้งคณะทํางาน ”The Medical Device Global Harmonization Task Force” (GHTF) ขึ้น โดยประกอบด้วยคณะทํางานย่<strong>อย</strong> 5 ชุด ได้แก่ SG1 : Pre-marketing Review, SG2 : Medical Device Vigilance, SG3 :Quality System Requirement & Guidance, SG4 : Auditing และ SG5 : Clinical Trial เ<strong>พ</strong>ื่อปรับแนวทางในกฎระเบียบและการกํากับดูแลเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ให้สอดคล้องและยอมรับซึ่งกันและกันในกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>ดังกล่าว ต่อมาในกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>เอเชีย และ ASEAN ก็<strong>อย</strong>ู่ระหว่างดําเนินการเจรจาความตกลงในกฎระเบียบควบคุมกํากับดูแลเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์เช่นเดียวกันคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 28


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>มีการจัดตั้งคณะทํางาน “ASIAN Harmonization Working Party “ (AHWP) และ “ASEANConsultative Committee on Standards and Quality Medical Device Product Working Group”(ACCSQ-MDPWG) ที่มีผู้แทนของกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>สมาชิก เช่น ประเท<strong>ศ</strong>ไทยร่วมเป็นคณะทํางาน เ<strong>พ</strong>ื่อเจรจาตกลงในระดับภูมิภาค โดยมีการกําหนดแผนงาน(Work Program) และระยะเวลาดําเนินการที่ชัดเจนโดยในกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>อาเซียนมีแผนการปรับแนวปฏิบัติให้เป็นแนวทางเดียวกันให้แล้วเสร็จใน<strong>ปี</strong> 2558ประเท<strong>ศ</strong>ไทยได้รับผลกระทบ และต้องมีการปรับตัวเ<strong>พ</strong>ื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนแม้ว่าประเท<strong>ศ</strong>ไทยเป็นประเท<strong>ศ</strong>ผู้นําเข้าเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์เป็นส่วนใหญ่ก็ตามแต่ประเท<strong>ศ</strong>ไทยก็ได้มีการส่งออกเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ไปจําหน่ายต่างประเท<strong>ศ</strong>เป็นมูลค่ามากกว่า<strong>ปี</strong>ละ 40,000 ล้านบาท หากประเท<strong>ศ</strong>ไทยไม่สามารถปรับกฎหมาย ระเบียบ และระบบการกํากับดูแลเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ให้สอดคล้องกับสากล และเอื้อต่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ได้ ก็จะมีผลให้เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ไทยประสบปัญหาการส่งออกได้4. สถานการณ์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องสําอางเครื่องสําอางเป็นผลิตภัณฑ์ที่ส่วนใหญ่ใช้กับผิวกายภายนอก เ<strong>พ</strong>ื่อความสะอาด สวยงาม หรือแต่งกลิ่นหอมในชีวิตประจําวัน การกํากับดูแลเครื่องสําอางจึงไม่เข้มงวดเท่าผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>อื่นๆ เช่น อาหารยา หรือเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ ปัจจุบัน<strong>พ</strong>บว่าเครื่องสําอางกลุ่มที่เรียกกันว่า เครื่องสําอางทั่วไป โดยเฉ<strong>พ</strong>าะครีมหรือโลชั่นประเภทบํารุงผิว ป้องกันแสงแดดหรือทําให้หน้าขาว มักมีการลักลอบผสมสารที่เป็นอันตรายเช่น สารประกอบของปรอท สารไฮโดรควิโนน กรดวิตามินเอ ผสม<strong>อย</strong>ู่ในปริมาณที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ผู้ป่วยหลายรายต้องเข้ารับการบําบัดรักษาและหลายรายที่ไม่สามารถเยียวยาแก้ไขให้ผิวหน้าที่เสียไปให้กลับคืนสู่สภา<strong>พ</strong>เดิมได้ บางรายต้องประสบกับฝ้าถาวรอันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื้อใต้ผิวหนัง (Ochronosis) หรือผิวหน้าด่างขาวซึ่งเกิดจากเซลล์ที่ผิวหนังถูกทําลาย (Leucomelanoderma )เครื่องสําอางกลุ่มนี้ส่วนใหญ่แต่เดิมจัดเป็นเครื่องสําอางทั่วไปซึ่งผู้ผลิตสามารถผลิตและวางจําหน่ายได้โดยไม่ต้องขออนุญาต การผลิตก็ทําได้ง่ายทั้งในตึกแถว คอนโด หรือบ้าน<strong>พ</strong>ักอา<strong>ศ</strong>ัยทั่วไป การติดตามตรวจสอบจึงทําได้ยากความต้องการ เครื่องสําอางกลุ่มที่ช่วยดูแลปกป้องผิวรวมทั้งกลุ่มที่แสดงสรร<strong>พ</strong>คุณว่าสามารถทําให้ผิวขาวกระจ่างใสได้เ<strong>พ</strong>ิ่มสูงมากขึ้นในปัจจุบัน ด้วยสาเหตุจากภาวะสภา<strong>พ</strong>อากา<strong>ศ</strong>โลกร้อนที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ ผลิตภัณฑ์ที่สามารถปกป้องผิวจากอันตรายของรังสีเหล่านี้จึงกลายเป็นสิ่งจําเป็น นอกจากนั้นผู้ประกอบธุรกิจส่วนหนึ่งยังมุ่งทําการตลาดด้วยการโฆษณาชักนําให้เกิดค่านิยม โดยเน้นว่าความสวยต้องคู่กับผิวขาวใส ดังนั้นเมื่อกลุ่มผู้บริโภคส่วนใหญ่มีค่านิยมที่ต้องการให้ผิวขาวจึงมองหาผลิตภัณฑ์ที่ใช้ได้ผลเร็วส่งเสริมให้เครื่องสําอางผิดกฎหมายที่ผสมสารห้ามใช้ทําให้ผิวขาวได้ผลเร็วและราคาถูกเกิดขึ้นมากมายหลากหลายยี่ห้อ จากข้อมูลการประกา<strong>ศ</strong>รายชื่อเครื่องสําอางอันตราย<strong>ปี</strong> 2548จํานวน 54 รายการ ได้เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเป็น 124 รายการ ใน<strong>ปี</strong> 2552 ซึ่งเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเกินกว่า 100 เปอร์เซ็นต์ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางที่ผลิตและจําหน่ายในประเท<strong>ศ</strong>ในด้านการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เครื่องสําอาง <strong>ปี</strong>งบประมาณ 2552 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวบรวมผลการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอาง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สรุปผลการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางดังนี้คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 29


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>‣ ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอาง เก็บตัว<strong>อย</strong>่างจากผู้ผลิต และจําหน่ายในท้องตลาดสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางที่เก็บตัว<strong>อย</strong>่างจากผู้ผลิต และจําหน่ายในท้องตลาด ทั้งสิ้น 546 ตัว<strong>อย</strong>่าง ไม่เข้ามาตรฐาน 97 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 17.77 โดยผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางที่<strong>พ</strong>บปัญหาคุณภา<strong>พ</strong>สูง ได้แก่ เครื่องสําอางทาสิว ฝ้า หน้าขาวตรวจหาสารห้ามใช้ ไฮโดรควิโนน สารประกอบปรอทแอมโมเนีย และ เรติโนอิก แอซิด‣ ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางนําเข้า ณ ด่านอาหารและยาใน<strong>ปี</strong>งบประมาณ 2552 ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์เครื่องสําอางนําเข้า ณ ด่านอาหารและยา ทั้งสิ้น125 ตัว<strong>อย</strong>่าง ไม่เข้ามาตรฐาน 3 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 2.40 ผลิตภัณฑ์ที่<strong>พ</strong>บปัญหาไม่เข้ามาตรฐานสูง ได้แก่- อายแชโดว์ <strong>พ</strong>บสีห้ามใช้ เป็นผลิตภัณฑ์นําเข้าจากประเท<strong>ศ</strong>จีน- บรัชออน <strong>พ</strong>บสีห้ามใช้ เป็นผลิตภัณฑ์นําเข้าจากประเท<strong>ศ</strong>จีน- ดินสอเขียนขอบตา <strong>พ</strong>บสีห้ามใช้ เป็นผลิตภัณฑ์นําเข้าจากประเท<strong>ศ</strong>เกาหลี‣ ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอาง ผลิตโดยวิสาหกิจชุมชน ผลการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ ์เครื่องสําอางที่ผลิตโดยวิสาหกิจชุมชน ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์จํานวนทั้งสิ้น 452 ตัว<strong>อย</strong>่าง ไม่เข้ามาตรฐาน64 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 14.16 กลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่เข้ามาตรฐานได้แก่ ผลิตภัณฑ์<strong>พ</strong>อกขัดผลิตภัณฑ์บํารุงผิวและผลิตภัณฑ์ทําความสะอาด <strong>พ</strong>บ จุลินทรีย์เกินมาตรฐานจากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ต้องส่งเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้บริโภค ให้มีความรู้เท่าทันการโฆษณาที่เกินจริง อวดอ้างสรร<strong>พ</strong>คุณเกินจริงและต้องดําเนินการควบคู่ไป<strong>พ</strong>ร้อมกับการตรวจสอบเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์เครื่องสําอาง ตลอดจนเคร่งครัดในการบังคับใช้กฎหมายกับผู้กระทําผิดด้วย5. สถานการณ์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านวัตถุอันตรายผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายในการกํากับดูแลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีขอบเขตการใช้ในการบ้านเรือนและทางการสาธารณสุข ซึ่งในปัจจุบันมีการใช้<strong>อย</strong>่างแ<strong>พ</strong>ร่หลายเ<strong>พ</strong>ื่อความสะดวกสบายในชีวิตประจําวัน ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีความหลากหลายทั้งชนิดและรูปแบบจากการ<strong>พ</strong>ัฒนาของเทคโนโลยี และเ<strong>พ</strong>ื ่อการแข่งขันทางการค้า ซึ่งอุตสาหกรรมด้านวัตถุอันตรายมีทั้งขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ มีผู้ประกอบการมากกว่า 600 ราย ใบสําคัญการขึ้นทะเบียนประมาณ 6,000 รายการทั้งการนําเข้า การผลิต และการมีไว้ในครอบครองเ<strong>พ</strong>ื่อใช้รับจ้าง ซึ่งการจัดการสารเคมีในทุกกระบวนการเป็นสิ่งที่สําคัญ เนื่องจากวัตถุอันตรายมีความเป็นอันตรายที่หลากหลาย ถึงแม้ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการประเมินให้ใช้ในบ้านเรือนได้ ก็อาจก่อให้เกิดอันตรายได้เช่นกันหากใช้ไม่ถูกวิธีหรือขาดความระมัดระวัง ดังนั้นจึงควรมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาข้อมูลความรู้และให้ความรู้แก่ประชาชน<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง <strong>พ</strong>ร้อมกับการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบการกํากับดูแลวัตถุอันตรายให้เหมาะสม โดยในช่วง<strong>ปี</strong> 2551-2553 ได้มีการเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมการนําระบบสากลว่าด้วยการจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์เคมีการติดฉลากและข้อมูลความปลอดภัย ( Globally Harmonized System ofClassification and Labeling of Chemical. : GHS) ซึ่งกําหนดให้มีการจัดทําฉลากและเอกสารความปลอดภัยในแนวทางเดียวกันทั่วโลก มาใช้กับงานกํากับดูแลวัตถุอันตราย โดยมีการอบรม<strong>พ</strong>ัฒนาเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานผู้ประกอบการ ให้มีความรู้ความเข้าใจ และจัดทําฉลากวัตถุอันตรายตามแนวทางการจัดกลุ่มความเป็นอันตรายตามระบบ GHS ตลอดจนการประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ไปยังผู้บริโภคให้มีความรู้ความเข้าใจคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 30


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่ผลิตและจําหน่ายในประเท<strong>ศ</strong>‣ ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอาง เก็บตัว<strong>อย</strong>่างจากผู้ผลิต และจําหน่ายในท้องตลาดในด้านการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย จากการเก็บตัว<strong>อย</strong>่างผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่จําหน่ายในท้องตลาดเ<strong>พ</strong>ื่อเฝ้าระวังมาตรฐานและความปลอดภัย โดยใน<strong>ปี</strong>งบประมาณ 2552 ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์จํานวนทั้งสิ้น 392 ตัว<strong>อย</strong>่าง ไม่เข้ามาตรฐาน 64 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 16.33ผลิตภัณฑ์ที่<strong>พ</strong>บไม่ได้มาตรฐานมากที่สุดคือ ผลิตภัณฑ์ชอล์กกําจัดแมลง รองลงมาคือผลิตภัณฑ์ที่ใช้เป็นเชื้อเ<strong>พ</strong>ลิงในการประกอบอาหารหรืออุ่นอาหาร ผลิตภัณฑ์เหยื่อกําจัดมด แมลงสาบ แมลงวัน‣ การตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายนําเข้า ณ ด่านอาหารและยา จํานวน 46 ตัว<strong>อย</strong>่างไม่เข้ามาตรฐานจํานวน 4 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 8.70 ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย ที่<strong>พ</strong>บปัญหาคุณภา<strong>พ</strong> คือ- ผลิตภัณฑ์ผงโรยกําจัดแมลง ปลวก นําเข้าจากประเท<strong>ศ</strong>ฟิลิปปินส์ และจีน ตรวจ<strong>พ</strong>บN,N-diethyl-m-toluamide(deet) และ ตรวจไม่<strong>พ</strong>บ Tetramethrin และ alphacypermethrin- ผลิตภัณฑ์ยาจุดกันยุง นําเข้าจากประเท<strong>ศ</strong>อินโดนีเซีย <strong>พ</strong>บ Allethrinisomer‣ ผลการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่ผลิตโดยวิสาหกิจชุมชน ดําเนินการเก็บตัว<strong>อย</strong>่างทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคโดย<strong>ศ</strong>ูนย์ประสานงาน<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน โดยภา<strong>พ</strong>รวมทั้งประเท<strong>ศ</strong> ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์จํานวนทั้งสิ้น 144 ตัว<strong>อย</strong>่าง เข้ามาตรฐาน 107 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 74.31 ไม่เข้ามาตรฐาน 37 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 25.69 ผลิตภัณฑ์ที่<strong>พ</strong>บไม่เข้ามาตรฐานสูงได้แก่ ผลิตภัณฑ์ทําความสะอาดวัสดุอุปกรณ์และ<strong>พ</strong>ื้น เนื่องจากความเป็นกรดด่างไม่เข้ามาตรฐานจากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ควร<strong>พ</strong>ัฒนาการดําเนินงานดังนี้1) ควรมีการจัดทําช่องทางการเข้าถึงข้อมูลวัตถุอันตรายให้สามารถเข้าถึงง่ายและมีข้อมูลเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อที่สามารถใช้ประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการได้2) การ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบงานต่างๆ ควรจ้างผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบการณ์มาดําเนินการ หรือจัดให้มีหน่วยเฉ<strong>พ</strong>าะในการดําเนินงานแต่ละเรื่อง3) เนื่องจากข้อมูลความรู้ด้านวัตถุอันตราย และข้อกําหนดต่างๆ มีจํานวนมากและเป็นความรู้เฉ<strong>พ</strong>าะด้านเกี่ยวกับสารเคมี จึงควรมีการประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ความรู้และหลักเกณฑ์ด้านวัตถุอันตรายให้ทั้งผู้ประกอบการและผู้บริโภคทราบ<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง4) ควรใช้กระบวนการจัดการความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีการรวมองค์ความรู้ด้านสารเคมีการวินิจฉัยผลิตภัณฑ์และการประเมินความเสี่ยงผลิตภัณฑ์<strong>อย</strong>่างเป็นระบบเ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการปฏิบัติงานคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 31


6. สถานการณ์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>วัตถุเส<strong>พ</strong>ติด เป็นผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่<strong>อย</strong>ู่ภายใต้การกํากับดูแลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดเหล่านี้จะถูกควบคุมให้<strong>อย</strong>ู่ในระบบ โดยอา<strong>ศ</strong>ัยอํานาจตามกฎหมายที่เข้มงวด ทําให้ปัญหาที่<strong>พ</strong>บจากการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่<strong>พ</strong>บส่วนใหญ่มิใช่ปัญหาทางด้านผลิตภัณฑ์และสถานประกอบการที่ไม่ได้มาตรฐาน แต่เป็นปัญหาจากการนําไปใช้ดัดแปลงให้เป็นสารเส<strong>พ</strong>ติดของกลุ่มผู้ค้ายาเส<strong>พ</strong>ติด และกลุ่มผู้เส<strong>พ</strong>ยาเส<strong>พ</strong>ติด ซึ่ง<strong>พ</strong>อจะสรุปเป็นประเด็นได้ดังนี้1) การนํายาแก้หวัดสูตรผสม Pseudoephedrine ไปสกัดเป็นสารตั้งต้นผลิตยาบ้าจากการรายงานของสํานักงานตํารวจแห่งชาติและกรม<strong>ศ</strong>ุลกากร (ด่าน) ประกอบกับรายงานการขายของผู้ประกอบการ และการดําเนินงานของกลุ่มตรวจสอบติดตามเฝ้าระวังตัวยาและสารตั้งต้นที่กองควบคุมวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดเป็นผู้ตรวจสอบ <strong>พ</strong>บการซื้อขายและส่งออกในปริมาณที่มากกว่าปกติ (ซึ่งยาแก้หวัดสูตรผสมนี้<strong>อย</strong>ู่ภายใต้การกํากับดูแลของ กองควบคุมยา)2) การนําสารเคมีมาใช้ทดแทนยาเส<strong>พ</strong>ติดเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น เช่น สารเคมี Acetic Anhydrideหรือที่ เรียกกันว่า “AA” / คาเฟอีน / Ergotamine รวมถึง ยาเส<strong>พ</strong>ติดในประเภท 4 ซึ่งที่<strong>พ</strong>บส่วนใหญ่เป็นการลักลอบนําเข้ามาทางชายแดนและการสกัดสารตั้งต้นเอง จากยารักษาโรคที่มีการใช้<strong>อย</strong>ู่ตามปกติในสถาน<strong>พ</strong>ยาบาลและร้านยาต่างๆ3) ปัญหาจากการใช้วัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่ใช้ทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ หลายชนิดไม่เหมาะสมทั้งปริมาณข้อบ่งใช้ยาและการรักษาโรค เช่น ยานอนหลับ และยาลดความอ้วน เป็นต้นในด้านการเฝ้าระวังวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้สุ่มเก็บตัว<strong>อย</strong>่างผลิตภัณฑ์วัตถุเส<strong>พ</strong>ติดส่งตรวจวิเคราะห์จํานวน 210 ตัว<strong>อย</strong>่าง ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์จํานวน 162 ตัว<strong>อย</strong>่างไม่เข้ามาตรฐาน 5 ตัว<strong>อย</strong>่าง คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 3.09 ผลิตภัณฑ์วัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่<strong>พ</strong>บปัญหาคุณภา<strong>พ</strong> คือ Alprazolam,Chlordiazepoxide, Clorazepate และ Lorazepam ผิดมาตรฐานเรื่องความสม่ําเสมอของตัวยา7. สถานการณ์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์นําเข้า ณ ด่านอาหารและยาวิวัฒนาการของการค้าโลกมุ่งเน้นสู่การรวมกลุ่มทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจหรือการลงทุนแบบตลาดเดียว(Single Market) มากขึ้น มีการทําข้อตกลงเสรีทางการค้า FTA (Free Trade Agreement) กับประเท<strong>ศ</strong>ต่างๆเช่น AFTA, BIMTEC, NAFTA เป็นต้น ทําให้มีการเปิดช่องทางนําเข้า-ส่งออกมากขึ้น เ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการเคลื่อนย้ายสินค้าสถานการณ์การนําเข้าผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>มีแนวโน้มสูงมากขึ้น โดยใน<strong>ปี</strong><strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2552 มีการนําเข้าผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>จํานวน 710,922 รายการมูลค่า 321,747 ล้านบาทซึ่งมีมูลค่าการนําเข้าเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเกือบ 10 เท่า เมื่อเทียบกับ<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2541 ที่มีการนําเข้าผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>จํานวน 157,323 รายการมูลค่า 35,753.74 ล้านบาท ประกอบกับสภา<strong>พ</strong>การแข่งขันในตลาดโลกมีความรุนแรงขึ้น ทําให้ผู้ผลิตบางรายในต่างประเท<strong>ศ</strong>ทําการปลอมปนสินค้าจนก่อให้เกิดปัญหาสินค้าไม่มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค เช่น กรณีบริษัทผลิตนมผงสําหรับทารกในประเท<strong>ศ</strong>จีนทําการปลอมปนสารเมลามีน ส่งผลให้เด็กทารกล้มป่วยเป็นโรคนิ่วมากกว่า 1,200 คน และเสียชีวิตหลายรายจากการขยายตัวด้านการค้าตามที่กล่าวมาข้างต้น ทําให้ต้องทําการประกา<strong>ศ</strong>จัดตั้งด่านอาหารและยาเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นหลายแห่งแต่เนื่องจากนโยบายของรัฐบาลที่ไม่ให้เ<strong>พ</strong>ิ่มอัตรากําลังข้าราชการทําให้กองงานด่านอาหารและยา ไม่สามารถจัดอัตราตําแหน่งเจ้าหน้าที่มาประจําด่านเ<strong>พ</strong>ิ่มเติมได้ จึงต้องเกลี่ยเจ้าหน้าที่ที่มี<strong>อย</strong>ู่<strong>อย</strong>่างจํากัดให้ไปปฏิบัติงานใน<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>ศ</strong>รษฐกิจใหม่ ส่วนด่านอาหารและยาที่ตั้ง<strong>อย</strong>ู่ในภูมิภาคต้องขอความร่วมมือจากคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 32


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดให้ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงาน แต่ภารกิจของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในหลาย<strong>พ</strong>ื้นที่มีงานรับผิดชอบงานหลายด้าน ทําให้ไม่สามารถสนับสนุนการปฏิบัติงานด่านอาหารและยาได้เต็มที่ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ต้อง<strong>พ</strong>ัฒนาระบบควบคุม กํากับ ณ ด่านอาหารและยาดังนี้1. นําระบบการแจ้งการนําเข้าล่วงหน้ามาใช้ เ<strong>พ</strong>ื่อลดภาระการตรวจสอบเอกสารของเจ้าหน้าที่ณ ด่านอาหารและยาที่เป็นจุดสินค้าเข้า ทําให้เจ้าหน้าที่มีเวลาตรวจสอบสินค้าหรือทดสอบผลิตภัณฑ์ที่ด่านนําเข้ามากยิ่งขึ้น อีกทั้งเป็นการสื่อสารให้ผู้นําเข้าได้ทราบผลการตรวจของเจ้าหน้าที่ล่วงหน้าแจ้งให้ทราบว่าสินค้าที่มาครั้งนี้จะถูกเก็บตัว<strong>อย</strong>่างหรือไม่ รวมทั้งได้ทราบว่าการนําเข้ามีข้อบก<strong>พ</strong>ร่อง<strong>อย</strong>่างไรซึ่งข้อบก<strong>พ</strong>ร่องที่ตรวจ<strong>พ</strong>บดังกล่าวผู้นําเข้าอาจแก้ไขได้ก่อนสินค้านําเข้า อันเป็นการลดปริมาณงานการอายัด-ถอนอายัดสินค้าอีกด้วย2. การอํานวยความสะดวกสําหรับการนําเข้าอาหารที่มีหนังสือรับรองผลการวิเคราะห์ประกอบการนําเข้า โดยหากผู้นําเข้ามีเอกสารประกอบการนําเข้าที่ทําให้เชื่อได้ว่าสินค้ามีคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐาน และปลอดภัยเช่น หนังสือรับรองผลการตรวจวิเคราะห์ที่ออกให้โดยหน่วยงานของรัฐที่มีการทําข้อตกลงยอมรับร่วมกัน หรือหนังสือรับรองผลการตรวจวิเคราะห์ที่ออกให้โดยหน่วยตรวจวิเคราะห์ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานว่าเป็นไปตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 เป็นต้น ด่านอาหารและยาจะ<strong>พ</strong>ิจารณาอํานวยความสะดวกในการนําเข้าเช่น ไม่เก็บตัว<strong>อย</strong>่างส่งตรวจวิเคราะห์ หรือไม่ทําการทดสอบเบื้องต้นที่ด่านนําเข้า เป็นต้น เนื่องจากผู้นําเข้าแสดงให้เห็นว่าตนเองมีเจตนาที่จะรับผิดชอบในเรื่องของคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐาน และความปลอดภัยของสินค้าด้วยการนําหลักฐานการตรวจสอบสินค้าของแต่ละรุ่นการผลิตมาแสดงแล้ว3. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการกํากับ ดูแล การนําเข้า-ส่งออกให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลด้วยการนําหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการนําเข้า (Good Importation Practice: GIP) และระบบความปลอดภัยด้านการนําเข้า (Import Safety) มาใช้ ทั้งนี้ เ<strong>พ</strong>ื่อลดปัญหาการนําเข้า การส่งกลับสินค้าที่ไม่ได้คุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน หรือไม่ปลอดภัย สามารถสืบย้อนและทวนสอบผลิตภัณฑ์ที่นําเข้า หรือส่งออกได้<strong>อย</strong>่างถูกต้องและรวดเร็ว และมีระบบการแจ้งเตือนภัยและเรียกเก็บคืนผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>8.สถานการณ์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน หมายถึง ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ผลิตโดยวิสาหกิจชุมชน ประกอบด้วย ยาจากสมุนไ<strong>พ</strong>ร อาหารแปรรูป เครื่องสําอาง และวัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน การดําเนินการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน ได้กําหนดเกณฑ์ประเมินคุณภา<strong>พ</strong>ด้วยเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานตามกฎหมาย บางค่าหรือเกณฑ์มาตรฐานทางวิชาการ ที่ราชการประกา<strong>ศ</strong>ใช้ในกรณีที่ไม่มีเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ตามกฎหมายกําหนดไว้ เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ในกระบวนการ<strong>พ</strong>ัฒนาได้ตรวจสอบ ประเมินระดับคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์โดยการประเมินเชิงเกณฑ์ตัวแทนคุณภา<strong>พ</strong> ได้แก่ด้านกายภา<strong>พ</strong> จุลชีวะ และเคมี แล้วแต่กรณีของผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนที่เก็บตัว<strong>อย</strong>่างผลิตภัณฑ์จากกลุ่มวิสาหกิจผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนทั่วประเท<strong>ศ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนที่มีการผลิตจําหน่ายมากในระดับชุมชน ได้แก่ อาหาร เครื่องสําอาง ยาจากสมุนไ<strong>พ</strong>ร วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน รวม 8,754 แห่ง ใน<strong>ปี</strong> 2545 เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเป็น 11,012 แห่งใน<strong>ปี</strong> 2552 และมีวิสาหกิจชุมชนเป้าหมายในการ<strong>พ</strong>ัฒนาของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จํานวน 1,832 แห่งใน<strong>ปี</strong> 2545 และเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเป็น 3,373 แห่ง ใน<strong>ปี</strong> 2552คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 33


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>การ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภา<strong>พ</strong> ตามที่กฎหมายและวิชาการกําหนด ประกอบด้วยหลักปรัชญาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียง ว่าด้วยประยุกต์เทคโนโลยี เ<strong>พ</strong>ื่อต่<strong>อย</strong>อด และสร้างมูลค่าเ<strong>พ</strong>ิ่มแก่ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือชุมชน โดยสามารถ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน ให้มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานโดยรวมร้<strong>อย</strong>ละ 81.27ใน<strong>ปี</strong> 2545 เป็นร้<strong>อย</strong>ละ 90.80 ใน<strong>ปี</strong> 2552 ในขณะที่ต้นทุนการ<strong>พ</strong>ัฒนาต่อหน่วยวิสาหกิจชุมชน ลดลงตามลําดับต้นทุน 21,834 บาทต่อแห่ง ใน<strong>ปี</strong> 2545 ลดลงเป็น 7,892 บาทต่อแห่ง ใน<strong>ปี</strong> 2552 ดังแสดงในตารางต่อไปนี้ตารางแสดง ต้นทุนประสิทธิผลของการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน <strong>ปี</strong> 2545 - 2552ประเภทงบ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน (ลานบาท)ปงบประมาณ2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 255240.00 48.80 45.76 32.00 28.74 27.00 28.60 26.62จํานวนวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong> 7,909 13,007 15,590 12,390 12,321 8,690 11,461 13,017ชุมชนทั้งหมด(ราย) 1, 2จํานวนวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ 1,832 3,013 3,973 2,870 2,854 2,013 2,218 3,373สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนเปาหมาย (ราย) 3% ของระดับคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑภา<strong>พ</strong>รวมตนทุนตอหนวยประชากร (ลานบาทตอราย)ตนทุนตอหนวยคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ(ลานบาทตอ %)81.27 76.24 80.03 84.59 85.07 89.87 90.69 90.800.022 0.016 0.012 0.011 0.010 0.013 0.013 0.0080.49 0.64 0.57 0.38 0.34 0.30 0.32 0.29ที่มา : 1 สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน2 เว็บไซต์ไทยตําบลดอทคอม<strong>ศ</strong>ูนย์ประสานงาน<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน ทําการประเมินระดับคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน ด้วยค่าร้<strong>อย</strong>ละของจํานวนผลิตภัณฑ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กําหนดในโครงการ เปรียบเทียบกับจํานวนผลิตภัณฑ์ที่ส่งวิเคราะห์ทั้งหมด <strong>พ</strong>บว่าระดับคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนมีแนวโน้มเ<strong>พ</strong>ิ่มสูงขึ้นจากร้<strong>อย</strong>ละ 81.27 ใน<strong>ปี</strong> 2545 เป็นร้<strong>อย</strong>ละ 90.80 ใน<strong>ปี</strong> 2552ระดับคุณภา<strong>พ</strong>ของผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนแต่ละประเภท มีแนวโน้มเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง ได้แก่ยาสมุนไ<strong>พ</strong>ร มีระดับคุณภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจากร้<strong>อย</strong>ละ 71.70ใน<strong>ปี</strong> 2545 เป็นร้<strong>อย</strong>ละ 94.83 ใน<strong>ปี</strong> 2550อาหารแปรรูป มีระดับคุณภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจากร้<strong>อย</strong>ละ 85.20 ใน<strong>ปี</strong> 2545เป็นร้<strong>อย</strong>ละ 90.01 ใน<strong>ปี</strong> 2550 และเครื่องสําอางมีระดับคุณภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจากร้<strong>อย</strong>ละ 80.80 ใน<strong>ปี</strong> 2545 เป็นร้<strong>อย</strong>ละ 87.33 ใน<strong>ปี</strong> 2550 ขณะที่ ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือนมีระดับคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์ลดต่ําลงเล็กน้<strong>อย</strong>จากร้<strong>อย</strong>ละ 100 ใน<strong>ปี</strong> 2548 เป็นร้<strong>อย</strong>ละ 90.80 ใน<strong>ปี</strong> 2550 (สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา,<strong>2554</strong>, 2546-2552) ระดับคุณภา<strong>พ</strong>ของผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนรายประเภท แสดงในตารางต่อไปนี้คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 34


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ตารางแสดง ระดับคุณภา<strong>พ</strong>ของผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนรายประเภท <strong>ปี</strong> 2545 – 2552ประเภทผลิตภัณฑ์ระดับคุณภา<strong>พ</strong>ของผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนรายประเภท (%)2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552ยาสมุนไ<strong>พ</strong>ร 71.70 70.14 79.17 81.82 94.07 94.83 84.65 79.01อาหารแปรรูป 85.2 80.25 81.75 84.32 85.07 90.01 91.50 92.56เครื่องสําอาง 80.8 63.74 68.63 86.59 72.82 87.33 88.89 85.12วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน - - - 100 90.9 90.84 93.55 79.61ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนภา<strong>พ</strong>รวม 81.27 76.24 80.03 84.59 85.07 89.87 90.69 90.80ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (2544, 2546-2552)1.6.2 ด้าน<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภคประเท<strong>ศ</strong>ไทยเป็นประเท<strong>ศ</strong>ที่มีเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจแบบทุนนิยมที่มีการขยายตัว<strong>อย</strong>่างรวดเร็ว มีการนําความรู้ทางด้านวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ผลิตสินค้าและบริการมากขึ้น ขณะที่ผู้บริโภคส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ในเรื่องคุณภา<strong>พ</strong>สินค้าและขาดอํานาจต่อรอง ทําให้ตกเป็นเหยื่อของผู้ประกอบการที่มีการจําหน่ายสินค้าหรือบริการที่มีข้อบก<strong>พ</strong>ร่อง สินค้าปลอม สินค้าที่ไม่มีคุณภา<strong>พ</strong>หรือสรร<strong>พ</strong>คุณตามที่โฆษณาชวนเชื่อสินค้าที่ไม่เป็นไปตามคํารับรอง ดังนั้นจึงได้มีการตรา<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2522ขึ้นเ<strong>พ</strong>ื่อกําหนดสิทธิของผู้บริโภคที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย ซึ่งเมื่อผู้บริโภคถูกละเมิดหรือไม่ได้รับความเป็นธรรม สามารถร้องเรียนไปยังหน่วยงานรัฐที่ดูแลเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคได้ เช่น สํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นต้น นอกจากนี้ยังได้ตรา<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกันอีก 2 ฉบับ ได้แก่ <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติวิธี<strong>พ</strong>ิจารณาคดีผู้บริโภค <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551เป็นกฎหมายที่เอื้อต่อการใช้สิทธิเรียกร้องของผู้บริโภค เ<strong>พ</strong>ื่อคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งได้รับผลกระทบจากการซื้อสินค้าและบริการที่ไม่ปลอดภัย หรือถูกเอาเปรียบจากผู้ประกอบการที่มุ่งหวังแต่กําไรให้มีโอกาสเข้าถึงความยุติธรรมได้โดยสะดวกยิ่งขึ้น และ<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551 ซึ่งกําหนดให้ผู้ประกอบการต้องรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยและให้ภาระของการ<strong>พ</strong>ิสูจน์เป็นของผู้ผลิตสินค้าซึ่งกฎหมายดังกล่าวจะช่วยส่งเสริมให้เกิดจริยธรรมในการเนินธุรกิจและเป็นการปราบปรามผู้ประกอบการที่ไม่สุจริตด้วยนอกจากการดําเนินการด้านกฎหมายแล้ว การ<strong>พ</strong>ัฒนาและส่งเสริมผู้บริโภคให้มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>นับว่าสําคัญมาก เป็นการติดอาวุธทางปัญญาให้แก่ผู้บริโภคโดยการส่งเสริมความรู้ให้ผู้บริโภคทราบถึงวิธีเลือกซื้อเลือกบริโภคสินค้าและบริการที่ถูกต้อง มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจที่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ และรู้เท่าทันผู้ประกอบการโดยการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้ ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์และรณรงค์ผ่านสื่อต่าง ๆ รวมถึง<strong>พ</strong>ัฒนาช่องทางในการรับเรื่องร้องเรียนให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และเบ็ดเสร็จทั้งนี้เ<strong>พ</strong>ื่อเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้การตระหนักถึงความสําคัญของการบริโภคที่ถูกต้อง ปลอดภัย รวมถึงการรู้จักปกป้องสิทธิ รู้จักร้องเรียนหรือใช้ช่องทางกฎหมายให้เกิดประโยชน์ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้ประกอบการเกิดความระมัดระวังในการผลิต จําหน่ายหรือโฆษณาสินค้าและบริการ และจากสถิติที่ผ่านมา <strong>พ</strong>บว่าผู้บริโภคได้รับการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>และรู้จักคุ้มครองผู้บริโภคและสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกันมีแนวโน้มที่สูงขึ้น เช่น ใน<strong>ปี</strong> 2545 มีเรื่องร้องเรียนผ่าน 2 หน่วยงาน รวม 5,418 เรื่อง และเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเป็น 7,120 เรื่อง ใน<strong>ปี</strong> 2550คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 35


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>นอกจากนี้ องค์กรเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคภาคเอกชนทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัดและระดับประเท<strong>ศ</strong>มีความตื่นตัว และเข้มแข็งขึ้นมีการประสานการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ร่วมกันมากขึ้นร่วมกันสนับสนุนการดําเนินงานของภาครัฐมากขึ้น1.7 ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย1.7.1 ด้านความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจในการให้บริการสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ดําเนินงานตอบสนองต่อนโยบายการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบราชการในการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>การให้บริการแก่ประชาชนที่ดีขึ้น โดยได้ดําเนินการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบการให้บริการขององค์กรให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ยิ่งขึ้น ได้แก่ การลดขั้นตอนในการขออนุมัติต่าง ๆ การจัดให้มี<strong>ศ</strong>ูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เบ็ดเสร็จ(One Stop Service Center : OSSC) ตั้งแต่<strong>ปี</strong> 2547และการปรับระบบบริการ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้มารับบริการเกิดความประทับใจมาโดยตลอด จากรายงานการวิจัยการ<strong>ศ</strong>ึกษาความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจของผู้มารับบริการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาใน<strong>ปี</strong>งบประมาณ 2552 <strong>พ</strong>บว่า ผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมายมีความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจในการรับบริการ<strong>อย</strong>ู่ในระดับสูง โดยประเด็นที่ผู้มารับบริการประทับใจ คือ เจ้าหน้าที่ที่ให้บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส สุภา<strong>พ</strong> เอาใจใส่มีมนุษยสัม<strong>พ</strong>ันธ์ดี มีความเป็นกันเอง สําหรับประเด็นที่ผู้รับบริการไม่ประทับใจ ได้แก่ขั้นตอนในการขออนุญาตมีขั้นตอนมากและใช้เวลานาน เจ้าหน้าที่ให้บริการน้<strong>อย</strong>และที่จอดรถไม่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อโดยมีข้อเสนอแนะว่าจุดแข็งในการให้บริการ คือ เจ้าหน้าที่ผู้บริการ ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาควรเสริมจุดแข็งโดยส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่มีความโดดเด่นในการให้บริการมากยิ่งขึ้นและเ<strong>พ</strong>ิ่มเจ้าหน้าที่ในการให้บริการมากขึ้น โดยเฉ<strong>พ</strong>าะในช่วงเช้า และจัดให้มีเจ้าหน้าที่ให้บริการในช่วง<strong>พ</strong>ักเที่ยง<strong>อย</strong>่างเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อและเสนอแนะให้ปรับปรุงจุดอ่อน โดยนําเครื่องมือที่ทันสมัยมาให้บริการมากยิ่งขึ้น <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการให้บริการให้ดียิ่งขึ้นเ<strong>พ</strong>ิ่มสื่อประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ในเรื่องของขั้นตอนการให้บริการ แบบฟอร์มและเอกสารที่ต้องใช้ให้มากยิ่งขึ้นและจัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกเช่นเ<strong>พ</strong>ิ่มที่จอดรถ เ<strong>พ</strong>ิ่มห้องน้ํา เ<strong>พ</strong>ิ่มจุดบริการน้ําดื ่มเป็นต้น1.7.2 ข้อร้องเรียนเหตุจากผู้ประกอบธุรกิจบางรายที่ขาด<strong>ศ</strong>ีลธรรม จรรยา <strong>พ</strong>ยายามเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค ผลิตสินค้าที่ไม่มีคุณภา<strong>พ</strong> กล่าวอ้างสรร<strong>พ</strong>คุณเกินจริง หลอกลวง หรือทําให้เข้าใจผิด เ<strong>พ</strong>ียงเ<strong>พ</strong>ื่อหวังผลกําไร ซึ่งภาครัฐเองก็<strong>พ</strong>ยายามที่จะประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ข้อมูลข่าวสารและรณรงค์<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนรับรู้ถึงสิทธิผู้บริโภค และปกป้องสิทธิของตนเมื่อไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือได้รับอันตรายจากการซื้อสินค้าหรือบริการ โดยให้ผู้บริโภคร้องเรียนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งทําให้ผู้บริโภคมีความตื่นตัวในการปกป้องสิทธิมากขึ้น จากสถิติเรื่องร้องเรียน ที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>ปี</strong> 2552 จํานวน 741 และใน<strong>ปี</strong> 2553(ต.ค.52-ม.ค.53) ได้รับเรื่องร้องเรียน จํานวน 192 เรื่อง โฆษณาเกินจริงจํานวน 198 เรื่อง ดังแสดงในตารางต่อไปนี้ผลิตภัณฑ์ เรื่องร้องเรียน<strong>ปี</strong>2552เรื่องร้องเรียน<strong>ปี</strong> 2553 (ต.ค.52-ม.ค.53)โฆษณาเกินจริง<strong>ปี</strong> 2553 (ต.ค.52-ม.ค.53)1.อาหาร 741 192 1982.ยา 263 75 513.เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ 63 18 284.เครื่องสําอาง 132 42 1885.วัตถุเส<strong>พ</strong>ติด 7 0 16.อื่นๆ 88 20 0รวม 1,294 347 466โดยจําแนกประเด็นร้องเรียนสูงสุด 5 อันดับแรกดังแสดงในตารางต่อไปนี้คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 36


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ข้อร้องเรียน <strong>ปี</strong> 2552 <strong>พ</strong>บความผิด <strong>ปี</strong> 2553 <strong>พ</strong>บความผิด(ต.ค.52-ม.ค.53)1.ความไม่ปลอดภัยจากอาหาร 365 60 81 142.การขายยา 121 49 27 73.การโฆษณาอาหาร 117 59 44 74.การโฆษณายา 69 29 29 145.การโฆษณาเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ 44 18 10 4ดังนั้น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาควรส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริโภคมีความรู้ในการปกป้องสิทธิของผู้บริโภค<strong>อย</strong>่างเข้มแข็ง ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ประกอบธุรกิจต้องแสดงความรับผิดชอบต่อผู้บริโภคและสังคม โดยการผลิตสินค้าหรือบริการที่มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน และให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า<strong>อย</strong>่างตรงไปตรงมาแก่ผู้บริโภค1.7.3 ความต้องการของผู้บริโภคจากการสํารวจความคาดหวังของประชาชนทั่วประเท<strong>ศ</strong>อายุระหว่าง 12-60 <strong>ปี</strong>จํานวน 3,000 คน ใน<strong>ปี</strong> 2552 1 <strong>พ</strong>บว่า‣ ประเด็นที่ประชาชนต้องการให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาดําเนินการในระดับมากที่สุด1.ให้ดําเนินการกับผู้กระทําการฝ่าฝืนกฎหมาย<strong>อย</strong>่างเข้มงวด คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 31.302.กํากับ ดูแล ตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ให้มีคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐานและความปลอดภัยคิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 29.70‣ ประเด็นที่ประชาชนต้องการให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาดําเนินการในระดับมาก1. เผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้ ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ และรณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง เ<strong>พ</strong>ื่อให้มี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong> คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 40.802. ส่งเสริมให้ประชาชนรู้สิทธิ และสามารถปกป้องสิทธิของตนเองได้ คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 39.001.7.4 ความต้องการของหน่วยงานภาครัฐจากรายงานการวิจัยการ<strong>ศ</strong>ึกษาความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจของหน่วยงาน องค์กรต่างๆในการติดต่อสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>ปี</strong>งบประมาณ 2552 2 ได้ทําการ<strong>ศ</strong>ึกษาความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการให้บริการ/ การประสานงานของเจ้าหน้าที่ ด้านการอํานวยความสะดวกและช่องทางการให้ข้อมูล ซึ่งผลการสํารวจ<strong>พ</strong>บว่า มีระดับความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจการให้บริการจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>อย</strong>ู่ในระดับมากหรือร้<strong>อย</strong>ละ 83.80 ซึ่งผู้ติดต่อมีความประทับใจในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่มีความเอาใจใส่ กระตือรือร้นและให้คําแนะนําปรึกษาที่แม่นยํา ขณะที่ความไม่ประทับใจเป็นเรื่องการให้บริการล่าช้า และมีช่องทางให้ติดต่อน้<strong>อย</strong> โดยมีข้อเสนอแนะว่าสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาควรให้ความสําคัญต่อการรักษาจุดเด่นและมีปรับปรุงจุดอ่อน โดยสร้างฐานข้อมูลเ<strong>พ</strong>ื่อให้บริการแก่ผู้มาติดต่อ ปรับกระบวนงานให้รวดเร็วขึ้นเ<strong>พ</strong>ิ่มการสื่อสารเ<strong>พ</strong>ื่อให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้มาติดต่อในเรื่องการให้บริการและกระบวนการในการมาติดต่อสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา1.ผลการสํารวจคาดหวังของประชาชนทั่วประเท<strong>ศ</strong> <strong>ปี</strong> 2552 กอง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา2.รายงานการวิจัยการ<strong>ศ</strong>ึกษาความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจของหน่วยงาน องค์กรต่างๆ ในการติดต่อสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>ปี</strong>งบประมาณ 2552กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร (ก<strong>พ</strong>ร.) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 37


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1.7.5 การจัดการผลกระทบทางลบปัจจุบันเราจะเห็นข่าวที่ธุรกิจต่าง ๆ เข้าไปเกี่ยวข้องกับความเสียหายที่เกิดขึ้นค่อนข้างมากทั้งในด้านสิ่งแวดล้อม การประ<strong>พ</strong>ฤติมิชอบในการให้สินบน การละเมิดสิทธิเสรีภา<strong>พ</strong>และการเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค จนทําให้เกิดการต่อต้านหรือประท้วง สิ่งเหล่านี้สร้างความเสียหายต่อสังคม สภาวะแวดล้อมตลอดจนภา<strong>พ</strong>ลักษณ์ของประเท<strong>ศ</strong> ดังนั้นจึงมีการนําแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate SocialResponsibility: CSR) มาใช้เป็นหลักปฏิบัติ ในเมืองไทยได้ถูกจุดประกายขึ้น<strong>อย</strong>่างเป็นรูปธรรมใน<strong>ปี</strong> 2549แต่ในภาคธุรกิจมีการนํามาใช้นานแล้วโดยแฝง<strong>อย</strong>ู่ในกฎระเบียบทางการค้าต่าง ๆ รวมทั้ง ปัจจุบันได้นําเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมมาเป็นมาตรการกีดกันทางการค้าในรูปแบบใหม่นอกเหนือจากมาตรการกีดกันในด้านภาษี ทําให้องค์กรธุรกิจระหว่างประเท<strong>ศ</strong>ต้องปรับตัวตามกรอบแนวคิดของความรับผิดชอบต่อสังคม เ<strong>พ</strong>ื่อหลีกเลี่ยงการถูกกีดกันทางธุรกิจการค้ารวมถึงการร่วมลงทุนสําหรับภาครัฐ ได้หันมาให้ความสําคัญกับ CSR มากขึ้น เนื่องจาก ในการดําเนินงานตาม<strong>พ</strong>ันธกิจอาจทําให้เกิดผลกระทบทางลบต่อสังคม ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดังนั้น ภาครัฐจึงต้องหันมาให้ความสําคัญกับการบริหารจัดการเ<strong>พ</strong>ื่อแก้ไขและป้องกันมิให้เกิดผลกระทบทางลบ รวมทั้ง มีจริยธรรมในการบริหารองค์กร และมุ่งเน้นการสร้างประโยชน์สุขให้เกิดแก่สังคมสํานักงานคณะกรรรมการอาหารและยาได้มีบทบาทในการสนับสนุนความรับผิดชอบต่อสังคม โดยใน<strong>ปี</strong>2553 ได้<strong>พ</strong>ิจารณาการบริการและการปฏิบัติงานที่อาจส่งผลกระทบต่อสังคมทั้งในปัจจุบันและอนาคต เริ่มจากการสํารวจความต้องการ/ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และเจ้าหน้าที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และจัดทํามาตรการจัดการและป้องกันผลกระทบทางลบรองรับผลกระทบทางลบที่เกิดจากการบริการและการปฏิบัติงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ใน 4ประเด็น ดังนี้1. การกํากับดูแลก่อนออกสู่ตลาด (Pre - marketing)2. การกํากับดูแลหลังออกสู ่ตลาด (Post - marketing)3. การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย4. การบริหารและ<strong>พ</strong>ัฒนาทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคลดังนั้น เ<strong>พ</strong>ื่อให้การจัดการและป้องกันผลกระทบทางลบเกิดประโยชน์สูงสุด สํานักงานคณะกรรมการอาหารควรผสมผสานแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมให้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร มีการขยายผลหรือสร้างเครือข่ายการดําเนินงานไปสู่กลุ่มเป้าหมายอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดการ<strong>พ</strong>ัฒนางานที่ยั่งยืนคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 38


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>2. สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมภายในองค์กรการวิเคราะห์สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมภายในองค์กร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาใช้หลักMcKinsey’s 7S Model ของ R. Waterman ที่คิดตัวแบบ 7 องค์ประกอบที่สําคัญในการบริหารองค์กร โดยมีรายละเอียดดังนี้2.1 โครงสร้างองค์กร (Structure)2.1.1 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการตามกฎ<strong>กระทรวง</strong>แบ่งส่วนราชการสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2552ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2552 กําหนดให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีภารกิจเกี่ยวกับการปกป้องและคุ้มครองสุขภา<strong>พ</strong>ของประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์ ซึ่งล้วนถือเป็นผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> โดยผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เหล่านั้นต้องมีคุณภา<strong>พ</strong>และปลอดภัย มีการส่งเสริม<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง ด้วยข้อมูลทางวิชาการที่มีหลักฐาน เชื่อถือได้ และมีความเหมาะสม เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ปลอดภัยและสมประโยชน์ โดยแบ่งส่วนราชการออกเป็น 4 สํานัก 5 กอง1 สํานักงาน ได้แก่ สํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย สํานักอาหาร สํานักยา สํานักด่านอาหารและยา กองควบคุมวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด กองควบคุมเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์กองแผนงานและวิชาการ กอง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นและสํานักงานเลขานุการกรมทั้งนี้กฎ<strong>กระทรวง</strong>ดังกล่าวได้มีการปรับเปลี่ยนจากกฎ<strong>กระทรวง</strong>แบ่งส่วนราชการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2545 โดยมีกองได้รับการยกฐานะเป็นสํานัก 3 สํานักได้แก่ สํานักยา สํานักอาหาร และสํานักด่านอาหารและยา และหน่วยงานที่ได้รับการจัดตั้ง<strong>อย</strong>่างเป็นทางการ ได้แก่ กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหารและกลุ่มตรวจสอบภายใน นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเสนอเข้าไปในกฎ<strong>กระทรวง</strong>และไม่ได้รับการ<strong>พ</strong>ิจารณาให้จัดตั้งโครงสร้าง<strong>อย</strong>่างเป็นทางการ คือ กองตรวจสอบและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> และกลุ่มกฎหมายอาหารและยาและทําให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาต้องมีการปรับโครงสร้างภายในให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และยังต้องขอความร่วมมือกับกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ในการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคใน<strong>พ</strong>ื้นที่จังหวัด เนื่องจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาไม่มีหน่วยงานในส่วนภูมิภาค2.1.2 การปรับโครงสร้างภายในให้เหมาะสมจากโครงสร้าง<strong>อย</strong>่างเป็นทางการที่กล่าวไปแล้วข้างต้น ยังมีหน่วยงานที่เสนอเข้าไปในกฎ<strong>กระทรวง</strong>และไม่ผ่านการ<strong>พ</strong>ิจารณา ทําให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาต้องจัดตั้งหน่วยงาน<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษเป็นการภายใน ได้แก่ <strong>ศ</strong>ูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เบ็ดเสร็จ ซึ่งมีหน้าที่ให้บริการแก่ผู้มาติดต่อขออนุญาตเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ทุกประเภท แบบเบ็ดเสร็จ <strong>ศ</strong>ูนย์เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>(<strong>ศ</strong>รร.) มีหน้าที่เป็น<strong>ศ</strong>ูนย์ประสานงานการรับเรื่องร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong><strong>อย</strong>่างครบวงจร เ<strong>พ</strong>ื่อนําไปสู่การแก้ไขปัญหาและการให้มีการบังคับใช้กฎหมายที่รวดเร็ว มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และ<strong>ศ</strong>ูนย์ป้องกันและปราบปรามการกระทําฝ่าฝืนกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>(<strong>ศ</strong>ปป.)มีหน้าที่ เป็นหน่วยประสานการดําเนินการบังคับใช้กฎหมายที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ ซึ่งประกอบด้วย กฎหมายว่าด้วยยาอาหาร เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ เครื่องสําอางวัตถุอันตรายวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษและสารระเหย เ<strong>พ</strong>ื่อให้การดําเนินการบังคับใช้กฎหมาย ดําเนินไปด้วยความเรียบร้<strong>อย</strong> รวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์เกิดประสิทธิภา<strong>พ</strong> รวมทั้งระบบการบริหารจัดการบุคลากรผู้ปฏิบัติที่ดี โปร่งใส เป็นธรรม และเกิดประโยชน์สูงสุดในการคุ้มครองผู้บริโภค มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> สอดรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป<strong>อย</strong>่างรวดเร็ว และเ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการดําเนินงานเชิงรุกรองรับกับภารกิจใหม่ ๆ ที่เ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น<strong>อย</strong>่างไรก็ตาม สํานักงานคณะกรรมการอาหารคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 39


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>และยาคงยังมีความ<strong>พ</strong>ยายามที่จะปรับโครงสร้างองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ซึ่งขณะนี้ได้ดําเนินการจัดทําข้อเสนอกรอบโครงสร้างใหม่เสร็จเรียบร้<strong>อย</strong>แล้วนอกจากนี้ ใน<strong>ปี</strong>งบประมาณ 2552 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้จัดทําโครงการ<strong>ศ</strong>ึกษารูปแบบโครงสร้างองค์กรที่เหมาะสมกับ<strong>พ</strong>ันธกิจของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยานั้น ซึ่งผลจากการ<strong>ศ</strong>ึกษาดังกล่าว มีข้อเสนอแนะว่า สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาควรปรับโครงสร้างที่ปัจจุบันอ้างอิงผลิตภัณฑ์ (Product based structure) ไปสู่โครงสร้างใหม่ที่อ้างอิงภารกิจ (Functional basedstructure) เ<strong>พ</strong>ื่อให้การดําเนินงานบรรลุผลลั<strong>พ</strong>ธ์และผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจน การ<strong>พ</strong>ัฒนาประสิทธิภา<strong>พ</strong>ขององค์กรและ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของบุคลากร ยกระดับมาตรฐานการดําเนินงานและคุณภา<strong>พ</strong>การให้บริการแก่ประชาชน2.2 ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กร (Strategy)จากทิ<strong>ศ</strong>ทางการ<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมของประเท<strong>ศ</strong> ตามแผน<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2550 - <strong>2554</strong>) ทั้ง<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขและสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ร่วมขับเคลื่อนและร่วม<strong>พ</strong>ัฒนางานในส่วนที่เกี่ยวข้อง โดย<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขได้จัดทําแผน<strong>พ</strong>ัฒนาสุขภา<strong>พ</strong>แห่งชาติฉบับที่ 10 (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2550-<strong>2554</strong>) เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบสุขภา<strong>พ</strong>ไทย และสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้จัดทําแผน<strong>พ</strong>ัฒนาคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ในช่วงแผน<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2550 – <strong>2554</strong>) เ<strong>พ</strong>ื่อให้สอดรับกับทิ<strong>ศ</strong>ทางการ<strong>พ</strong>ัฒนาดังกล่าว หลังจากนั้นรัฐบาลได้จัดทําแผนบริหารราชการแผ่นดินและ<strong>กระทรวง</strong>สาธารณะสุขได้จัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong> ซึ่งก็ถือว่าเป็นแผนหลักที่รัฐบาลและทุกส่วนราชการต้องขานรับและนํานโยบายไปสู่การปฏิบัติ<strong>อย</strong>่างเป็นรูปธรรมดังนั้น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงได้นําแผนฯ ดังกล่าวมาทบทวนบทบาทภารกิจ และยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กรที่ต้องมุ่งมั่นดําเนินการเ<strong>พ</strong>ื่อรองรับทิ<strong>ศ</strong>ทางการ<strong>พ</strong>ัฒนาประเท<strong>ศ</strong> โดยล่าสุดเมื่อ<strong>ปี</strong> 2552สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ทําการทบทวน<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ฉบับใหม่ เนื่องจากสถานการณ์ต่าง ๆมีการเปลี่ยนแปลงไป<strong>อย</strong>่างรวดเร็ว โดยได้จัดทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2553 -2556 ขึ้น ที่จะเชื่อมโยงสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ4 <strong>ปี</strong> <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข และตอบสนองต่อนโยบายรัฐบาลตามแผนบริหารราชการแผ่นดินโดยได้กําหนดวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์ ที่ว่า “องค์กรที่เป็นเลิ<strong>ศ</strong>ด้านการคุ้มครอง และส่งเสริมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong> ปลอดภัย และสมประโยชน์ มุ่งสู่สังคมสุขภา<strong>พ</strong>ดี” และมียุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การดําเนินงาน4 ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ดังนี้ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที ่ 1 : การ<strong>พ</strong>ัฒนาการบริหารจัดการสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูงนับเป็นประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ใหม่ที่กําหนดขึ้น ใน<strong>ปี</strong> 2553 เ<strong>พ</strong>ื่อให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong> ในการบริหารงานให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ สามารถปฏิบัติราชการได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>มีความ<strong>พ</strong>ร้อมรองรับต่อทุกสถานการณ์ และที่สําคัญคือ มีระบบการบริหารจัดการภายในที่ดีด้วยซึ่งในปัจจุบันสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้นําเครื่องมือ “เกณฑ์คุณภา<strong>พ</strong>การบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA)” มาใช้บริหารจัดการระบบภายในขององค์กร เ<strong>พ</strong>ื่อให้องค์กรเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูงการที่จะให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นองค์กรสมรรถนะสูงได้ ต้องอา<strong>ศ</strong>ัยความร่วมมือจากทุกคนในองค์กร ทั้งผู้บริหารที่ต้องมีการบริหารจัดการองค์กรที่ดี มีวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์สร้างบรรยากา<strong>ศ</strong>ในองค์กรให้เอื้ออํานวยต่อการปฏิบัติงาน มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆได้<strong>อย</strong>่างรวดเร็วและมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> ส่วนบุคลากรภายในองค์กรต้องให้ความสําคัญร่วมกันผลักดัน ขับเคลื่อนและ<strong>พ</strong>ัฒนาตามนโยบายองค์กร และแผนที่กําหนดไว้ ทั้งนี้ทั้งนั้น ระบบการสร้างแรงจูงใจ และระบบสวัสดิการต่าง ๆ ต้องเอื้ออํานวย และมีความเป็นธรรมให้กับ<strong>พ</strong>นักงานเ<strong>พ</strong>ื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายสูงสุดคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 40


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ 2 : การปรับระบบและกลไกกํากับดูแลการประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ถือเป็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์หลักของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาในการปกป้อง คุ้มครองและส่งเสริมสุขภา<strong>พ</strong>ประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> โดยมีมาตรการในการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong><strong>อย</strong>่างเข้มงวด ทั้งการ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> (Pre-marketing)และการตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการ (Post-marketing) รวมทั้ง<strong>พ</strong>ัฒนาระบบดังกล่าวให้มีมาตรฐานตามระบบคุณภา<strong>พ</strong>ที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยากําหนดประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ 3:การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ประชาชนในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เป็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ต้องให้ความสําคัญไม่น้<strong>อย</strong>ไปกว่ายุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ การกํากับดูแล เนื่องจากปัจจุบันข้อมูลข่าวสารทั้งเชิงบวกและเชิงลบต่างหลั่งไหลเข้าสู่ผู้บริโภคตามช่องทางต่าง ๆ หลากหลายทําให้ผู้บริโภคเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายสะดวกและรวดเร็ว โดยเฉ<strong>พ</strong>าะสื่อเคเบิ้ลทีวี โทรทั<strong>ศ</strong>น์ ดาวเทียม วิทยุชุมชนและอินเตอร์เน็ต ส่งผลให้ผู้บริโภคได้รับข้อมูลข่าวสารที่บิดเบือนจากความเป็นจริงและโอ้อวด ดังนั้น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงมุ่งเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และจัดกิจกรรมรณรงค์ในกลุ่มเป้าหมายทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชนมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง เ<strong>พ</strong>ราะหากผู้บริโภคมีความสามารถ ในการเลือกซื้อเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> และไม่หลงเชื่อการโฆษณาเป็นเท็จแล้วก็จะเป็นกลไกสนับสนุนมาตรการของภาครัฐในการควบคุม ผู้ผลิต ผู้จําหน่ายให้ปฏิบัติตามกฎหมายอีกด้วย จึงนับเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ประชาชนในการคุ้มครองตนเองและครอบครัวให้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ได้<strong>อย</strong>่างเหมาะสมและปลอดภัย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงต้องเร่ง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของผู้บริโภคให้มีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> และรู้จัก<strong>พ</strong>ิทักษ์สิทธิประโยชน์ของตนเองรวมทั้ง กระตุ้นให้มีการร่วมมือเฝ้าระวังให้ไม่ให้เกิดปัญหาในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ 4 : การควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดถือเป็นประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์สําคัญที่ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการป้องกันและปราบปรามยาเส<strong>พ</strong>ติด จึงเป็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์สําคัญในระดับชาติ ระดับ<strong>กระทรวง</strong> และระดับกรม ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงต้องวางยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การปฏิบัติภารกิจที่ชัดเจน ในการบริหารวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่ใช้ในทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ วิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์ และอุตสาหกรรมให้มี<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียง และ<strong>อย</strong>ู่ในระบบการควบคุมที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> รวมทั้งให้ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ด้านการปราบปรามยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษ โดยมีเป้าหมายให้ตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่ใช้ในทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ วิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์ และอุตสาหกรรมไม่รั่วไหลออกนอกระบบการควบคุมและนําไปใช้ในทางที่ผิด2.3 ระบบในการดําเนินงานขององค์กร (System)การดําเนินการของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาแบ่งเป็น 2 ระบบ ดังนี้1) ระบบงานหลัก ประกอบด้วย ระบบยา อาหาร เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ เครื่องสําอาง วัตถุอันตรายและวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด ซึ่งแต่ละระบบมีการดําเนินการที่ครบวงจรทั้งด้าน Pre-Marketing และ Post-Marketingนอกจากนี้แล้ว สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ยังมีระบบโลจิสติกส์ด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> ซึ่งมีการนําระบบเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>มาใช้ในการดําเนินการ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาต และการกํากับติดตามตรวจสอบ ตลอดจนเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มขีดความสามารถในการคุ้มครองผู้บริโภค ระบบการให้บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว โดยการจัดตั้ง<strong>ศ</strong>ูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เบ็ดเสร็จ (OSSC) ขึ้น ซึ่งเป็นระบบการบริหารจัดการแบบ Cross-functional เ<strong>พ</strong>ื่อให้งานบริการด้าน<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตทุกผลิตภัณฑ์เป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ระบบการส่งเสริม สนับสนุนส่วนภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้มีการมอบอํานาจการเป็นผู้อนุญาตตามกฎหมายบางฉบับให้แก่ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายแ<strong>พ</strong>ทย์สาธารณสุขจังหวัด และแต่งตั้งให้เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด อําเภอ เช่นคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 41


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>สาธารณสุขอําเภอ และเภสัชกรโรง<strong>พ</strong>ยาบาลชุมชนเป็น<strong>พ</strong>นักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย นอกจากนี้ ยังได้แต่งตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ กรุงเท<strong>พ</strong>มหานคร เมือง<strong>พ</strong>ัทยาและเท<strong>ศ</strong>บาลเป็น<strong>พ</strong>นักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายอาหาร และ<strong>อย</strong>ู่ระหว่างการถ่ายโอนบทบาทภารกิจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อไป2) ระบบงานสนับสนุน ประกอบด้วย ระบบบริหารการเงิน การคลัง ระบบบริหารทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคลระบบเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong> <strong>ศ</strong>ูนย์วิทยบริการ ฯลฯ ซึ่งมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบการทํางาน<strong>อย</strong>่างต่อเนื่องเ<strong>พ</strong>ื่อสนับสนุนให้การดําเนินงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา บรรลุวัตถุประสงค์2.4 ลักษณะแบบแผนหรือ<strong>พ</strong>ฤติกรรมในการบริหารงานของผู้บริหารระดับสูง (Style)1) การดํารงตําแหน่งของผู้บริหารภายในระยะเวลา 5 <strong>ปี</strong> (2547-2553) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีการเปลี่ยนแปลงเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาถึง 4 ท่าน ทําให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนนโยบายและแนวทางการดําเนินงาน เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีความสอดคล้องกับแนวปฏิบัติของผู้บริหารแต่ละท่าน2) รูปแบบการทํางานผู้บริหารของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาแต่ละท่านจะมีรูปแบบการดําเนินงานที่ต่างกัน ผู้บริหารคนปัจจุบัน (น<strong>พ</strong>.<strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>ัฒน์ ยิ่งเสรี) เมื่อเข้ามาดํารงตําแหน่งได้กําหนดรูปแบบการบริหารจัดการ ดังนี้- การบริหารงานและการมอบอํานาจการบริหารงานโดยได้กําหนดนโยบายการกํากับดูแลองค์กรที่ดี (Organization Governance) เ<strong>พ</strong>ื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย <strong>พ</strong>ุทธ<strong>ศ</strong>ักราช 2550 มีการมอบแนวทางการดําเนินงานให้ผู้ปฏิบัติไว้ชัดเจน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2551 เช่น การ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>งานบริการให้มีความรวดเร็วและทันสมัย การสร้างและ<strong>พ</strong>ัฒนาเครือข่ายให้เข้มแข็ง การ<strong>พ</strong>ัฒนากฎหมายและการสร้างขวัญกําลังใจให้กับเจ้าหน้าที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป็นต้น นอกจากนี้ยังมอบอํานาจการบริหารงานให้กับรองเลขาธิการฯ ทั้ง 3 ท่าน ในการปฏิบัติราชการแทนเลขาธิการฯ และมอบหมายให้รองเลขาธิการฯ โดยแบ่งภารกิจตามภาคต่าง ๆ มีการกํากับดูแลงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น (Area Based) มอบหมายงานให้ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญมีบทบาทในการติดตามงานนโยบายและโครงการ<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษ และดําเนินงานเชิง<strong>พ</strong>ัฒนามากขึ้น- การบริหารงบประมาณโดยการมอบอํานาจให้ผู้อํานวยการกองในการอนุมัติสั่งซื้อหรือสั่งจ้างได้ภายในวงเงินไม่เกิน 100,000 บาท/ครั้ง (ยกเว้นวิธี<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษ) มีการสนับสนุนงบประมาณงบกลาง เ<strong>พ</strong>ื่อใช้ในการดําเนินงานตามนโยบายหรือโครงการเร่งด่วนต่าง ๆ เ<strong>พ</strong>ื่อให้การดําเนินงานมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>สูงสุด- การติดตามความก้าวหน้าของการดําเนินงานมีการติดตามความก้าวหน้าการดําเนินงานของหน่วยงานภายในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>อย</strong>่างสม่ําเสมอ โดยจัดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน 3 ส่วน ได้แก่ตามตัวชี้วัดคํารับรองการปฏิบัติราชการ ตามตัวชี้วัดเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์และตามแผนงาน/โครงการที่สําคัญของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยกําหนดให้มีการติดตามผลการดําเนินงานทุกเดือน และรายงานให้ผู้บริหารทราบทุกรายไตรมาส- รูปแบบการสร้างบรรยากา<strong>ศ</strong>ภายในองค์กรกําหนดแนวทางการดําเนินงานในการช่วยเหลือสังคม เช่น การจัดตั้ง <strong>ศ</strong>ูนย์ประสานงานช่วยเหลือผู้ประสบภัย<strong>พ</strong>ิบัติต่าง ๆ เช่น น้ําท่วม หรือภัยธรรมชาติ เป็นต้น มีการจัดตั้ง<strong>ศ</strong>ูนย์รับเลี้ยงเด็กเล็กของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และจัดให้มีการสร้างความสัม<strong>พ</strong>ันธ์ร่วมกัน เช่นงานทําบุญทอดกฐินและผ้าป่าสามัคคี งานกีฬาสามัคคี งานเลี้ยงสังสรรค์<strong>ปี</strong>ใหม่ และการจัดกิจกรรม<strong>พ</strong>ัฒนาทีมงาน<strong>พ</strong>ัฒนาองค์กร (OD) เป็นต้นคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 42


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>2.5 บุคลากรภายในองค์กร (Staff)1) อัตรากําลังข้าราชการของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีอัตรากําลังรวมทั้งสิ้น 612 อัตรา(อัตราว่าง18 อัตรา) โดยมีสัดส่วนเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>หญิงมากกว่าเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>ชาย ประมาณ 3:1 (หญิง 472 คน คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 77.13 และชาย 140 คน คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 22.87) (ข้อมูล ณ วันที่ 2 มิถุนายน 2552)- ระดับของข้าราชการ ขณะนี้มีข้าราชการระดับ 5 มากที่สุด 194 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 27.39)รองลงมาเป็นระดับ 7 จํานวน 166 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 24.69) และระดับ 8 จํานวน 133 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 19.50)- ช่วงอายุ ของข้าราชการสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>อย</strong>ู่ระหว่าง 50–54 <strong>ปี</strong>มากที่สุด จํานวน 115 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 18.79) รองลงมาช่วงอายุ 25–29 <strong>ปี</strong> จํานวน 97 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 15.85)และช่วงอายุ 30–34 <strong>ปี</strong> จํานวน 94 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 15.36)- จํานวนบุคลากรในแต่ละหน่วยงาน จํานวนบุคลากรแยกตามกองจากมากไปน้<strong>อย</strong>ตามลําดับ ดังนี้ กองที่มีจํานวนข้าราชการมากที่สุด ได้แก่ กองควบคุมยา จํานวน 121 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 19.77)รองลงมาเป็นกองควบคุมอาหาร จํานวน 85 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 13.89) และสํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย จํานวน 83 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 13.56)- อัตราการสูญเสียบุคลากร อัตราการเกษียณอายุราชการของข้าราชการสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีแนวโน้มเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นโดยคาดว่าอีกประมาณ 6-10 <strong>ปี</strong>ข้างหน้า จะมีข้าราชการเกษียณอายุและลาออกก่อนกําหนด ประมาณ 160 คน (คิดเป็นร้<strong>อย</strong>ละ 26.14 ของข้าราชการทั้งหมด)ซึ่งจะมีอัตราตําแหน่งคงเหลือรวม 452 อัตรา2) วุฒิการ<strong>ศ</strong>ึกษาข้าราชการส่วนใหญ่มีวุฒิการ<strong>ศ</strong>ึกษาด้านเภสัช<strong>ศ</strong>าสตร์ 272 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 44.44)และด้านวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์อาหาร 85 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 13.89) ที่เหลือจบการ<strong>ศ</strong>ึกษาด้านอื่น ๆ 210 คน(ร้<strong>อย</strong>ละ 34.31)ซึ่งตามวุฒิการ<strong>ศ</strong>ึกษายังคงสอดคล้องกับภารกิจและความรับผิดชอบของหน่วยงาน โดยกําลังคนส่วนใหญ่สําเร็จการ<strong>ศ</strong>ึกษาในระดับปริญญาตรี จํานวน 369 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 60.29) ระดับปริญญาโทจํานวน 169 คน(ร้<strong>อย</strong>ละ 27.7) ระดับต่ํากว่าปริญญาตรีจํานวน 58 คน และปริญญาเอกจํานวน 16 คน (ร้<strong>อย</strong>ละ 2.6)จากข้อมูลระดับการ<strong>ศ</strong>ึกษาข้างต้นแสดงว่า บุคลากรส่วนใหญ่ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นบุคลากรที่มีคุณภา<strong>พ</strong> เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อสําหรับการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบของหน่วยงานเมื่อวิเคราะห์การ<strong>ศ</strong>ึกษาในระดับที่สูงขึ้น <strong>พ</strong>บว่า บุคลากรที่จบการ<strong>ศ</strong>ึกษาในระดับปริญญาโทส่วนใหญ่จบการ<strong>ศ</strong>ึกษาด้านวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์ที่เป็นวิชาการต่อเนื่องจากปริญญาตรี (ประมาณร้<strong>อย</strong>ละ 65)เช่น เทคโนโลยีการอาหาร เภสัชวิทยา เภสัช<strong>ศ</strong>าสตร์ ส่วนที่เหลือเป็นด้านสนับสนุนการดําเนินงานด้านอื่น ๆ สําหรับบุคลากรที่สําเร็จการ<strong>ศ</strong>ึกษาระดับปริญญาเอก ส่วนใหญ่ร้<strong>อย</strong>ละ 78.57 จบการ<strong>ศ</strong>ึกษาด้านวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์โดยเฉ<strong>พ</strong>าะทางด้านเภสัช<strong>ศ</strong>าสตร์และด้านวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์การอาหาร3) การบริหารทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคลการ<strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะการบริหารทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคล หรือ “HR Scorecard” เป็นเครื่องมือที่นํามาใช้<strong>พ</strong>ัฒนาและสร้างกลไกการประเมินประสิทธิภา<strong>พ</strong> ประสิทธิผล ตลอดจนความคุ้มค่าและความ<strong>พ</strong>ร้อมในการบริหารทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคล โดยขั้นตอนการทํา HR Scorecard จะมีการประเมินสถานภา<strong>พ</strong>ปัจจุบันด้านการบริหารทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคล ตามกรอบมาตรฐานความสําเร็จ 5 มิติ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ทราบระดับสมรรถนะการบริหารทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคล จุดอ่อน จุดแข็ง ความคาดหวังของผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องและจากการวิเคราะห์<strong>พ</strong>บว่าจุดอ่อน 3 อันดับแรก คือคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 43


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. ความก้าวหน้าในอาชี<strong>พ</strong>และเลื่อนตําแหน่ง2. การบริหารความขัดแย้ง การร้องทุกข์ การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ3. การบริหารผลการปฏิบัติงานในส่วนปัจจัยที่แสดงถึงผลการประเมินสถานภา<strong>พ</strong>ที่เป็นจุดแข็งในปัจจุบัน ได้แก่ การถ่ายทอดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์องค์กรสู่การปฏิบัติ การส่งเสริมบรรยากา<strong>ศ</strong>การเรียนรู้ในองค์กร และการส่งเสริมวัฒนธรรมการมุ่งเน้นผลงาน4) การ<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากรหน่วยงานส่วนใหญ่ให้ความสําคัญต่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากรของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาและมีการจัดการอบรม<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเห็นได้ว่า จํานวนครั้งของการอบรมและงบประมาณที่ใช้จ่ายในการฝึกอบรมเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง<strong>ปี</strong> 2549-2552 และสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยายังได้นําระบบการ<strong>พ</strong>ัฒนาตนเองของบุคลากรหรือที่เรียกว่า IDP (Individual Development Plan) มาใช้ในการ<strong>พ</strong>ัฒนาตนเองของบุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (Self-Learning) <strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง2.6 ความรู้ความสามารถขององค์กร (Skill)บุคลากรของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ต้องมีสมรรถนะหลักๆ เ<strong>พ</strong>ื่อปฏิบัติงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคให้ปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> ดังนี้1) การบริหารจัดการความเสี่ยง สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ทั้งก่อนและหลังออกสู ่ท้องตลาด โดยผ่านกระบวนการ Risk Assessment,Risk Reduction และ RiskCommunication ซึ่งจากการเปลี่ยนแปลงทางวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์และเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าทางBiotechnology ICT และ Material Science ทําให้มีผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ใหม่และมีการนําสารเคมีใหม่ ๆ มาใช้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อความปลอดภัยของประชาชน2) การบังคับใช้กฎหมาย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา อา<strong>ศ</strong>ัยอํานาจตามกฎหมาย 9 ฉบับที่ให้อํานาจในการเป็นผู้อนุญาต ควบคุม กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ และดําเนินการตามกฎหมายกับผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีบุคลากรที่มีทักษะความสามารถในการดําเนินการแต่ขาดความต่อเนื่องของบุคลากรรุ่นใหม่ที่เข้ามารับช่วงในการดําเนินการซึ่งต้อง<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากรที่จะมาทดแทนให้มีความรู้ความสามารถในการดําเนินการ3) การ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู ้บริโภคและการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ เป็นเครื่องมือสําคัญของ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาในการสื่อสารข้อมูลความรู้และข่าวสารความเคลื่อนไหวด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ต่าง ๆ ไปถึงผู้บริโภค ซึ่งหัวใจของการดําเนินงานดังกล่าว<strong>อย</strong>ู่ที่ความถูกต้องของข้อมูลเป็นสําคัญ การสื่อสารออกไปยังผู้บริโภค<strong>อย</strong>่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นรูปแบบ สีสันของสื่อ ช่องทางหลากหลายที่เอื้อต่อการสื่อสารและเข้าถึงข้อมูล รวมถึง การใช้สื่อที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายก็นับเป็นปัจจัยหลัก ๆในการดึงดูดให้ผู้บริโภคหันมาสนใจข้อมูลข่าวสารของ <strong>อย</strong>.การวางแผนการออกสื่อ<strong>อย</strong>่างครอบคลุมช่วงเวลากลุ่มเป้าหมาย และมีความคุ้มค่า รวมถึงการดําเนินงานทั้งเชิงรุก เชิงรับและความเชื่อมั่นที่ผู้บริโภคมีต่อ <strong>อย</strong>.ในการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ทําให้ <strong>อย</strong>. ประสบความสําเร็จในการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ในระดับที่น่า<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจ <strong>อย</strong>่างไรก็ตามในยุคปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>รูปแบบใหม่เกิดขึ้นมากมาย ทั้งที่ถูกต้องตามกฎหมาย ก้ํากึ่ง หรือไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการเลย รวมทั้งยังมีกระแสของข้อมูลข่าวสารทั้งในรูปแบบโฆษณาและโฆษณาแอบแฝง<strong>พ</strong>ุ่งเข้าหาตัวผู้บริโภคมากมาย จึงเป็นเรื่องท้าทายสําหรับ <strong>อย</strong>. ในการดําเนินงานเผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์เ<strong>พ</strong>ื่อสร้างภูมิความรู้ให้แก่ผู้บริโภคต่อไปคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 44


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>4) การเจรจาการค้าและความร่วมมือระหว่างประเท<strong>ศ</strong> เป็นกลไกสําคัญในยุคการค้าเสรีแต่มีความซับซ้อนทั้งกลไกการเจรจาและเนื้อหาที่ต้องไปเจรจา รวมถึง องค์ประกอบของคณะเจรจาหน่วยงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกรอบเจรจา อันมีผลกระทบทั้งด้านบวกและลบจากการตัดสินใจและข้อตกลงนั้น ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจําเป็นที่จะต้องมีทักษะในการเจรจา และกําหนดท่าที ซึ่งเป็นปัจจัยที่สําคัญที่จะทําให้ประเท<strong>ศ</strong>ไทยได้เปรียบจากการกําหนดมาตรฐานร่วมกัน และเ<strong>พ</strong>ื่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ก้าวสู่การเป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง จําเป็น<strong>อย</strong>่างยิ่งที่ต้อง<strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะของบุคลากรเ<strong>พ</strong>ิ่มเติมในด้านการวางแผนและการบริหารจัดการ ด้านการนิเท<strong>ศ</strong>งานติดตามประเมินผลและด้านการวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนา2.7 ค่านิยมร่วมกันของสมาชิกในองค์กร (Share Value)ใน<strong>ปี</strong> 2552 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ทบทวนทิ<strong>ศ</strong>ทางองค์กรซึ่งรวมถึงค่านิยมของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่จะปลูกฝังและส่งเสริมให้บุคลากรของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ถือปฏิบัติและเ<strong>พ</strong>ิ่มให้ง่ายต่อการจดจํา จึงกําหนดเป็นดังนี้“P R O T E C T”P ห่วงใยประชา (People Centric)R สร้าง<strong>ศ</strong>รัทธาความเชื่อมั่น (Reliability)O มุ่งมั ่นเรียนรู้ (Ongoing Learning)T เชิดชูทีมงาน (Team work)E ยึดหลักการคุณธรรม จริยา (Ethic)C <strong>พ</strong>ร้อม<strong>พ</strong>ัฒนาขีดสมรรถนะ (Competency)T ไม่ลดละความโปร่งใส (Transparency)2.8 วิสัยทั<strong>ศ</strong>น์และ<strong>พ</strong>ันธกิจขององค์กรทําให้ทราบถึงเป้าหมายและวิธีการทํางานขององค์กรให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป็นส่วนสําคัญในการบริหารจัดการองค์กรแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยใน<strong>ปี</strong> 2553 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้กําหนดวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์และ<strong>พ</strong>ันธกิจ ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ทุกระดับทั้งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานและได้นําวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์และ<strong>พ</strong>ันธกิจเข้ารับฟังความเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ หน่วยงานในสังกัด<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขหน่วยราชการอื่นที่มิได้สังกัด<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข สถาบันการ<strong>ศ</strong>ึกษา และ NGOวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์“องค์กรที่เป็นเลิ<strong>ศ</strong>ด้านการคุ้มครอง และส่งเสริมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong>ปลอดภัย และสมประโยชน์ มุ่งสู่สังคมสุขภา<strong>พ</strong>ดี” <strong>พ</strong>บว่า สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาต้องการเป็นองค์กรที่เป็นเลิ<strong>ศ</strong>ด้านการคุ้มครอง และส่งเสริมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เน้นความมุ่งมั่นที่จะให้ได้ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong> ปลอดภัย และสมประโยชน์ โดยมีภา<strong>พ</strong>ที่ชัดเจนและแสดงจุดมุ่งมั่นในอนาคต คือสังคมสุขภา<strong>พ</strong>ดี จะเห็นได้ว่า วิสัยทั<strong>ศ</strong>น์บ่งบอกทิ<strong>ศ</strong>ทางที่ชัดเจนมีความท้าทาย ดึงดูดใจ และมีความเป็นไปได้ในการที่จะทําให้บรรลุวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์<strong>พ</strong>ันธกิจ1. กํากับ ดูแล ส่งเสริมให้มีการนําเสนอผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ปลอดภัย ได้มาตรฐาน2. ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ได้<strong>อย</strong>่างปลอดภัยและสมประโยชน์เ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>ที่ดีคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 45


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>3. <strong>พ</strong>ัฒนาการบริหารจัดการวิชาการและบุคลากรเ<strong>พ</strong>ื่อความเป็นเลิ<strong>ศ</strong>ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>จาก<strong>พ</strong>ันธกิจได้บอกหน้าที่หลักหรือ<strong>พ</strong>ันธะสัญญาของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ควรปฏิบัติ<strong>อย</strong>ู่ในปัจจุบัน เ<strong>พ</strong>ื่อให้บรรลุวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์ที่กําหนดไว้ โดยแต่ละ<strong>พ</strong>ันธกิจได้กําหนดขึ้นเ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองความต้องการ/ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สําคัญ ได้แก่ ผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และบุคลากรสํานักงานคณะกรรมอาหารและยา รวมทั้ง <strong>พ</strong>ันธกิจยังแสดงให้เห็นว่า ภารกิจของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีความแตกต่างจากหน่วยงานอื่น<strong>อย</strong>่างชัดเจน2.9 ผลการดําเนินงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป้าหมายการให้บริการ(<strong>กระทรวง</strong>/หน่วยงาน/ผลผลิต)ตารางแสดงข้อมูลผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด <strong>ปี</strong>งบประมาณ 2551-2552ตัวชี้วัด(ระดับผลกระทบ/ประสิทธิผล/ประสิทธิภา<strong>พ</strong>)แผนงานป้องกันแก้ไขปัญหายาเส<strong>พ</strong>ติดเร่งด่วนและปราบปรามผู้มีอิทธิ<strong>พ</strong>ล<strong>ปี</strong> 2551 <strong>ปี</strong> 2552<strong>กระทรวง</strong>ที่ 1 :ประชาชนผู้เส<strong>พ</strong>และผู้ติดยาเส<strong>พ</strong>ติดได้รับการดูแลคุณภา<strong>พ</strong>ชีวิตโดยการบําบัดรักษา ฟื้นฟู เฝ้าระวังควบคุมการใช้วัตถุเส<strong>พ</strong>ติดให้สามารถดําเนินชีวิตได้ตามปกติหน่วยงานที่ 1 :ควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดให้<strong>อย</strong>ู่ในระบบและมีการปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายผลผลิต ที่ 1:วัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่ใช้ในทางการแ<strong>พ</strong>ทย์วิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์และอุตสาหกรรมมีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน ปลอดภัยและมีการใช้<strong>อย</strong>่างถูกต้องตามกฎหมายตัวชี้วัดผลกระทบ :1. ผู้ป่วยยาเส<strong>พ</strong>ติดได้รับการบําบัดรักษาและฟื้นฟูตามเกณฑ์ที่กําหนดหมายเหตุ <strong>ปี</strong> 51 : ไม่มีตัวชี้วัดดังกล่าวเนื่องจากยังไม่ได้แยกแผนงานตัวชี้วัดประสิทธิผล :1. ผลิตภัณฑ์วัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่นําเข้าถูกต้องตามที่สําแดงในคําขออนุญาตนําเข้าหมายเหตุ <strong>ปี</strong> 51 : ไม่มีตัวชี้วัดดังกล่าวเนื่องจากยังไม่ได้แยกแผนงานตัวชี้วัดประสิทธิภา<strong>พ</strong> :1. จํานวนการควบคุมตัวยาและสารตั้งต้น 16,610 รายการ(เป้าหมาย 5,290รายการ)หมายเหตุ <strong>ปี</strong> 51 : เป็นตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก- -(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 75)- 100(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 100)6,726 รายการ(เป้าหมาย 5,290รายการ)2. ผลิตภัณฑ์วัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่นําเข้าถูกต้องตามที่สําแดงในคําขออนุญาตนําเข้าหมายเหตุ <strong>ปี</strong> 51 : ไม่มีตัวชี้วัดดังกล่าวเนื่องจากยังไม่ได้แยกแผนงาน- 100(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 100)คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 46


เป้าหมายการให้บริการ(<strong>กระทรวง</strong>/หน่วยงาน/ผลผลิต)แผนงาน<strong>พ</strong>ัฒนาสุขภา<strong>พ</strong>ประชาชน<strong>กระทรวง</strong>ที่ 1 :ประชาชนมีสุขภา<strong>พ</strong>ดี มี<strong>พ</strong>ฤติกรรมสุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องรวมทั้งมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภา<strong>พ</strong>ที่เหมาะสมหมายเหตุ <strong>ปี</strong> 51 ใช้เป้าหมายการให้บริการ<strong>กระทรวง</strong> คือ ปัญหาสุขภา<strong>พ</strong>ของประชาชนที่เกิดจากภาระโร ภัยคุกคาม และความรุนแรงลดลง และมีตัวชี้วัด 2ข้อ คือ 1. และ 2.หน่วยงานที่ 1ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการมีคุณภา<strong>พ</strong>ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนดหมายเหตุ<strong>ปี</strong> 52 : ตัวชี้วัดในข้อ3 -6 เป็นตัวชี้วัดในระดับกิจกรรมหลัก<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ตัวชี้วัด<strong>ปี</strong> 2551 <strong>ปี</strong> 2552(ระดับผลกระทบ/ประสิทธิผล/ประสิทธิภา<strong>พ</strong>)ตัวชี้วัดผลกระทบ :1. ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด2. สถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด3.ประชาชนมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องตัวชี้วัดประสิทธิผล :1. ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด2. สถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด3. จํานวนการ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>96.84(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 85)96.89(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 85)93.49(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 90)96.31(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 91)- 81.196.84(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 85)96.89(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 85)221,900(เป้าหมาย 125,000 รายการ)(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 82)93.49(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 90)96.31(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 91)271,290(เป้าหมาย 160,000)4. จํานวนการ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>17,908(เป้าหมาย 17,600 ราย)20,000(เป้าหมาย 23,429)5. จํานวนผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบ575,728(เป้าหมาย 350,000 รายการ)472,201(เป้าหมาย 360,000)6. จํานวนสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบตัวชี้วัดประสิทธิภา<strong>พ</strong>:6,337(เป้าหมาย 6,000 ราย)5,649(เป้าหมาย 6,000)ผลผลิตที่ 1ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการได้รับการกํากับดูแลและตรวจสอบให้มีมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด1. คําขออนุญาตผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ได้รับการ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตแล้วเสร็จภายในเวลาที่กําหนด-99.00(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 90)-เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 99.95- ยาผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 98.99คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 47


เป้าหมายการให้บริการ(<strong>กระทรวง</strong>/หน่วยงาน/ผลผลิต)หมายเหตุ<strong>ปี</strong> 51 : ใช้ชื่อผลผลิต คือประชาชนได้รับการคุ้มครองในการบริโภคผลิตภัณฑ์และบริการสุขภา<strong>พ</strong>ที่ปลอดภัยและไม่มีตัวชี้วัดข้อ 1 -2<strong>ปี</strong> 52 : ตัวชี้วัดข้อ 5-8 เป็นตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ตัวชี้วัด<strong>ปี</strong> 2551 <strong>ปี</strong> 2552(ระดับผลกระทบ/ประสิทธิผล/ประสิทธิภา<strong>พ</strong>)2. คําขออนุญาตสถานประกอบการได้รับการ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตแล้วเสร็จภายในเวลาที่กําหนด3. ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด-96.84(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 85)(1) คุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์ร้<strong>อย</strong>ละ 93.50- <strong>พ</strong>. ร้<strong>อย</strong>ละ 94.43- ย. ร้<strong>อย</strong>ละ 95.03- ส. ร้<strong>อย</strong>ละ 79.58- วอ. ร้<strong>อย</strong>ละ 87.54- อ. ร้<strong>อย</strong>ละ 85.30- ต. ร้<strong>อย</strong>ละ 98.53- <strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ช. ร้<strong>อย</strong>ละ 88.98- นําเข้า ร้<strong>อย</strong>ละ 97.48- เครื่องสําอางผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 100.00- วัตถุอันตรายผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 99.23- อาหารผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 98.71- วัตถุเส<strong>พ</strong>ติดผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 99.17- นําเข้าผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 96.9898.07(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 91)- เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 100.00- ยาผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 98.76- เครื่องสําอางผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 100.00- วัตถุอันตรายผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 100.00- อาหารผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 91.60- วัตถุเส<strong>พ</strong>ติดผลงาน ร้<strong>อย</strong>ละ 98.0793.49(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 90)(1) คุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์ร้<strong>อย</strong>ละ 94.20- <strong>พ</strong>. ร้<strong>อย</strong>ละ 95.12- ย. ร้<strong>อย</strong>ละ 91.98- ส. ร้<strong>อย</strong>ละ 82.23- วอ. ร้<strong>อย</strong>ละ 85.26- อ. ร้<strong>อย</strong>ละ 88.86- ต. ร้<strong>อย</strong>ละ 97.18- นําเข้า ร้<strong>อย</strong>ละ 96.89คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 48


เป้าหมายการให้บริการ(<strong>กระทรวง</strong>/หน่วยงาน/ผลผลิต)เป้าหมายการให้บริการหน่วยงานที่ 2ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องผลผลิตที่ 2ผู้บริโภคได้รับความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ตัวชี้วัด<strong>ปี</strong> 2551 <strong>ปี</strong> 2552(ระดับผลกระทบ/ประสิทธิผล/ประสิทธิภา<strong>พ</strong>)4. สถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบ ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนดตัวชี้วัดประสิทธิผล:1. ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องตัวชี้วัดประสิทธิภา<strong>พ</strong>:1. จํานวนเรื่องที่มีการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้และประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์สู่ผู้บริโภค2. จํานวนโครงการที่รณรงค์ให้ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง(2) ฉลากร้<strong>อย</strong>ละ 99.83- <strong>พ</strong>. ร้<strong>อย</strong>ละ 100.00- ย. ร้<strong>อย</strong>ละ 99.96- ส. ร้<strong>อย</strong>ละ 99.99- วอ. ร้<strong>อย</strong>ละ 100.00- อ. ร้<strong>อย</strong>ละ 99.89- ต. ร้<strong>อย</strong>ละ 100.00(3) โฆษณาร้<strong>อย</strong>ละ 97.04- <strong>พ</strong>. ร้<strong>อย</strong>ละ 61.48- ย. ร้<strong>อย</strong>ละ 98.38- ส. ร้<strong>อย</strong>ละ 97.31- วอ. ร้<strong>อย</strong>ละ95.72- อ. ร้<strong>อย</strong>ละ 97.66- ต. ร้<strong>อย</strong>ละ 100.0096.89(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 85)- <strong>พ</strong>. ร้<strong>อย</strong>ละ 100.00- ย. ร้<strong>อย</strong>ละ 97.39- ส. ร้<strong>อย</strong>ละ 100.00- วอ. ร้<strong>อย</strong>ละ 98.30- อ. ร้<strong>อย</strong>ละ 96.84- ต. ร้<strong>อย</strong>ละ 82.00- <strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ช. ร้<strong>อย</strong>ละ 83.0680.80(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 85)277 เรื่อง(เป้าหมาย 240เรื่อง)3(เป้าหมาย 3 โครงการ)(2) ฉลากร้<strong>อย</strong>ละ 92.75- <strong>พ</strong>. ร้<strong>อย</strong>ละ 100.00- ย. ร้<strong>อย</strong>ละ 99.79- ส. ร้<strong>อย</strong>ละ 99.98- วอ. ร้<strong>อย</strong>ละ 99.36- อ. ร้<strong>อย</strong>ละ 97.76- ต. ร้<strong>อย</strong>ละ 89.96(3) โฆษณาร้<strong>อย</strong>ละ 93.52- <strong>พ</strong>. ร้<strong>อย</strong>ละ 75.53- ย. ร้<strong>อย</strong>ละ 93.94- ส. ร้<strong>อย</strong>ละ 98.36- วอ. ร้<strong>อย</strong>ละ98.98- อ. ร้<strong>อย</strong>ละ 97.18- ต. ร้<strong>อย</strong>ละ97.1296.31(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 91)- <strong>พ</strong>. ร้<strong>อย</strong>ละ 100.00- ย. ร้<strong>อย</strong>ละ 99.02- ส. ร้<strong>อย</strong>ละ 99.60- วอ. ร้<strong>อย</strong>ละ 98.37- อ. ร้<strong>อย</strong>ละ 97.39- ต. ร้<strong>อย</strong>ละ 83.5081.10(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 82)507/1353(เป้าหมาย 310เรื่อง/810ครั้ง)3(เป้าหมาย 3 โครงการ)3. ผู้บริโภคมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง93.3(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 85)91.00(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 87)คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 49


เป้าหมายการให้บริการ(<strong>กระทรวง</strong>/หน่วยงาน/ผลผลิต)<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ตัวชี้วัด<strong>ปี</strong> 2551 <strong>ปี</strong> 2552(ระดับผลกระทบ/ประสิทธิผล/ประสิทธิภา<strong>พ</strong>)หมายเหตุ: <strong>ปี</strong> 51 ตัวชี้วัดในระดับผลผลิตคือผู้บริโภครู้สิทธิ์ผู้บริโภค97.70(เป้าหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 85)4. ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องหมายเหตุ: ทําบันทึกขอแก้ไขเป้าหมายไปยังสํานักงบฯ โดยแก้ไขเป้าจาก 87 เป็น 8280.80(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 85)81.10(เป้าหมายร้<strong>อย</strong>ละ 82)หมายเหตุ1.คําอธิบาย<strong>พ</strong>. หมายถึง เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ย. หมายถึง ยาส. หมายถึง เครื่องสําอางวอ. หมายถึง วัตถุอันตรายอ. หมายถึง อาหารต. หมายถึง วัตถุเส<strong>พ</strong>ติด<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ช. หมายถึง ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนนําเข้า หมายถึง ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>นําเข้า ณ ด่านอาหารและยา2.10 การจัดการความเสี่ยงสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้เริ่มจัดทําระบบบริหารความเสี่ยงตั้งแต่<strong>ปี</strong>งบประมาณ2550 และดําเนินการ<strong>อย</strong>่างต่อเนื่องมาตลอดในการดําเนินการบริหารความเสี่ยงในแต่ละ<strong>ปี</strong>จะปรับเปลี่ยนประเด็นในการบริหารความเสี่ยงตามกรอบตัวชี้วัดการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>การบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งกรอบตัวชี้วัดดังกล่าวมีการปรับเปลี่ยนประเด็นในการบริหารความเสี่ยงทุก<strong>ปี</strong> ซึ่งส่งผลให้การบริหารความเสี่ยงในหลายประเด็นที่ต้องใช้ระยะเวลาขาดการดําเนินที่ต่อเนื่อง <strong>อย</strong>่างไรก็ตาม จากข้อมูลการวิเคราะห์ความเสี่ยงที่ผ่านมาตั้งแต่<strong>ปี</strong>งบประมาณ 2550-2553 สรุปเป็นประเด็นความเสี่ยงหลักๆ ได้ดังต่อไปนี้1) ด้านการเงินจากข้อมูลการดําเนินการบริหารความเสี่ยงที่ผ่านมา ได้มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงและจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงทางด้านการเงิน สรุปเป็นประเด็นความเสี่ยงหลัก ๆ ดังต่อไปนี้- ความเสี่ยงจากการขาดแคลนงบประมาณ- ความเสี่ยงจากการจัดสรรงบประมาณที่ไม่เหมาะสม- ความเสี่ยงจากความผิด<strong>พ</strong>ลาดในการเบิกจ่ายเงิน- ความเสี่ยงจากกระบวนการจัดซื้อ จัดจ้างไม่ถูกต้องตามระเบียบจากสถานการณ์ที่ผ่านมาความเสี่ยงด้านการเงิน ที่ส่งผลกระทบที่ชัดเจนต่อการดําเนินงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา คือ ความเสี่ยงในเรื่องของงบประมาณไม่ว่าจะเป็นความเสี่ยงจากการขาดแคลนงบประมาณ หรือการจัดสรรงบประมาณที่ไม่เหมาะสม ส่งผลกระทบโดยตรงทําให้ภารกิจงานที่จําเป็นบางงานไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณที่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ และส่งผลกระทบต่อการดําเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 50


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>2) ด้านสังคมสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาดําเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>โดยตระหนักถึงความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ของประชาชนเป็นสําคัญที่ผ่านมามีการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการดําเนินการที่อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อสังคม ดังนี้- ความเสี่ยงจากผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการไม่ได้มาตรฐาน เนื่องจากผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ในท้องตลาดมีจํานวนมาก สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาไม่สามารถควบคุม ดูแลตรวจสอบ เฝ้าระวังได้<strong>อย</strong>่างทั่วถึง เนื่องจากอัตรากําลังไม่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ ทําให้มีการลักลอบนําผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ไม่ได้มาตรฐานมาจําหน่ายท้องตลาด ซึ่งผลกระทบต่อสุขภา<strong>พ</strong>ของประชาชน- ความเสี่ยงจากการทําลายยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษของกลาง สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีมาตรการในการดําเนินงานเ<strong>พ</strong>ื่อลดความเสี่ยงและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากการเผาทําลายยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษของกลาง จึงได้มีการตั้งคณะกรรมการและคณะทํางานจากหลายหน่วยงานในการควบคุมยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษของกลาง นอกจากนี้ ในการเผาทําลายยังใช้ระบบ Pyrolyticที่อุณหภูมิสูงซึ่งเป็นระบบปิดที่สามารถทําลายของกลางได้หมดและไม่กระทบสิ่งแวดล้อม- ความเสี่ยงจากการออกกฎหมาย เนื่องจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาอํานาจหน้าที่ในการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบและกลไก เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีการดําเนินการบังคับใช้กฎหมายที่<strong>อย</strong>ู่ในความรับผิดชอบจํานวน 9 ฉบับ ซึ่งหากออกกฎหมายที่ไม่เหมาะสมและไม่ทันต่อสถานการณ์อาจส่งผลกระทบทางลบต่อสังคมได้ ซึ่งในปัจจุบันสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้มีการนําแนวทางการ<strong>พ</strong>ัฒนางานด้านการออกกฎหมายตามหลักเกณฑ์ GRP หรือ Good Regulatory Practice ซึ่งเป็นแนวทางสากลและเป็นที่ยอมรับในประเท<strong>ศ</strong>สมาชิกองค์การการค้าโลก (WTO) และAPEC โดยกลุ่มASEAN จะนํามาใช้ในอนาคต ซึ่งคาดว่าจะช่วยลดความเสี่ยงและผลกระทบที่เกิดจากการออกกฎหมายได้3) ด้านจริยธรรมสํานักงานคณะกรรมการคณะกรรมการอาหารและยามีการดําเนินการ เ<strong>พ</strong>ื่อป้องกันความเสี่ยงอันเกิดจากจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยมีการจัดตั้ง<strong>ศ</strong>ูนย์ประสานราชการใสสะอาด และวางมาตรการสร้างราชการใสสะอาดของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยานอกจากนี้ยังได้จัดตั้งชมรมจริยธรรม เ<strong>พ</strong>ื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม<strong>อย</strong>่างต่อเนื่องในการดําเนินการบริหารความเสี่ยงที่ผ่านมา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้วิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริตและประ<strong>พ</strong>ฤติมิชอบ และได้วิเคราะห์ถึงความเสี่ยงในเรื่องการ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตไม่โปร่งใส ซึ่งอาจกระทบต่อภา<strong>พ</strong>ลักษณ์ขององค์กร ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงได้กําหนดมาตรฐานคุณภา<strong>พ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามาใช้ในการให้บริการโดยใน<strong>ปี</strong>งบประมาณ 2553และ<strong>ปี</strong>ต่อๆไป สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ยังคงมุ่งมั่นที่จะดําเนินการตามนโยบายการกํากับดูแลองค์การที่ดี เ<strong>พ</strong>ื่อส่งเสริมให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีระบบการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล และเ<strong>พ</strong>ื่อให้การปฏิบัติราชการมีความโปร่งใสมีคุณธรรมมีความยึดมั่นที่จะรับผิดชอบต่อประชาชน สังคม ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 51


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>2.10 ภารกิจด้านต่างประเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาภารกิจด้านต่างประเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา นับวันจะขยายบทบาทจากการนําองค์ความรู้จากต่างประเท<strong>ศ</strong>มาดําเนินการเ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้บริโภคมาสู่การดําเนินการที่เหมาะสมไม่ให้การออกกฎหมายหรือข้อกําหนดต่าง ๆ เป็นอุปสรรคต่อการค้าหรืออีกนัยหนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาต้องดําเนินภารกิจภายใต้ข้อกําหนดขององค์การค้าโลก(WTO) โดยต้องรักษาจุดสมดุล เรื่องความปลอดภัยต่อผู้บริโภคด้วย โดยภายใต้ข้อตกลง ASEANงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเน้นหนักในด้านการประสาน (Harmonies) <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติยา,<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติอาหาร, <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติเครื่องสําอาง,<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ กฎหมายของกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>อาเซียน ให้เป็นมาตรฐานของอาเซียน โดยถือเป็นกลุ่มสําคัญอันดับต้น (Priority IntegrationSector) และเป็นกลุ่มภารกิจที่สําคัญภายใต้กรอบความร่วมมือในการอํานวยความสะดวกทางการค้า(Trade Facilitation Work Program) ที่<strong>กระทรวง</strong><strong>พ</strong>าณิชย์เป็นแกนนําหลักของประเท<strong>ศ</strong>ไทย ขณะเดียวกันสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาต้องตอบข้อซักถามของประเท<strong>ศ</strong>เช่นสหรัฐอเมริกา หรือกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>เช่นกลุ่ม APEC ที่สอบถามว่ากฎระเบียบของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จัดทํา<strong>อย</strong>่างโปร่งใสตามกฎสากล หรือมีจุดหมายแอบแฝงในการสร้างอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่เรื่องทางภาษี (ซึ่งในอนาคตภาษีสินค้าทุก<strong>อย</strong>่างจะลดเหลือร้<strong>อย</strong>ละ 0) หรือที่เรียกว่า Technical barrier to trade (TBT)ดังนั้นสํานักงาคณะกรรมการอาหารและยาจึงมีสถานภา<strong>พ</strong>เป็นองค์กรวิชาการที่ต้อง<strong>อย</strong>ู่ภายใต้กฎระเบียบและข้อตกลงทางการค้าไป<strong>พ</strong>ร้อมๆ กัน1. ภารกิจงานด้านต่างประเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา1) ความชัดเจนของนโยบายและการมีแผนบูรณาการการเจรจาในเวทีต่างประเท<strong>ศ</strong>มักใช้เวลานานกว่าจะบรรลุข้อตกลงต่างๆได้ ที่ผ่านมาสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เชิญผู้แทนภาคเอกชนเข้าร่วมรับทราบเต็มที่ เท่าที่โอกาสจะอํานวย<strong>อย</strong>่างไรก็ตามด้วยปัญหาที่อุตสาหกรรมภายในประเท<strong>ศ</strong>ของไทย มี<strong>พ</strong>ัฒนาที่ต่างระดับกัน ข้อตกลงต่างๆจึงมักเกิดผลกระทบเชิงลบต่ออุตสาหกรรมขนาดเล็กและเกิดแรงต้าน ทําให้ภาครัฐต้องจัดสรรทรั<strong>พ</strong>ยากรเ<strong>พ</strong>ื่อการยกระดับมาตรฐานของอุตสาหกรรมกลุ่มที่เป็นปัญหา ส่งผลให้ความก้าวหน้าตามข้อตกลงไม่เป็นไปตามที่กําหนดไว้ จากประสบการณ์การชะงักเชิงนโยบาย ที่เกิดขึ้นบ่<strong>อย</strong>ครั้งทําให้อุตสาหกรรมขนาดใหญ่มักจะรีรอในการลงทุนในด้านการ<strong>พ</strong>ัฒนาตนเอง เกิดภาวะถดถ<strong>อย</strong>จนกลายเป็นข้อเสียเปรียบ ของอุตสาหกรรมไทยในเวทีสากลการรวมกลุ่มและความเข็มแข็งของภาคเอกชนเป็นปัญหาสําคัญอีกปัญหาหนึ่งกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆมักจะมีสมาชิกจํานวนน้<strong>อย</strong>ทําให้การดําเนินการในนามของกลุ่มไม่สามารถเป็นตัวแทนได้แท้จริง ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา อาจต้องช่วยชี้ให้เห็น<strong>พ</strong>ลังของการรวมกลุ่มของอุตสาหกรรมในทุกระดับนอกจากนี ้ภาคเอกชนควรมี<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ของตนเอง ที่มีการกําหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสม กับกลุ่อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดกลางและขนาดเล็กเ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองต่อข้อจํากัดที่ต่างกันที่ผ่านมาแม้จะมีการร่วมมือระหว่างภาครัฐ และเอกชนตลอดมา แต่ยังไม่<strong>พ</strong>บว่ามีการบูรณาการในด้านการกําหนดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์และแผนงานรองรับของสองภาคส่วน โดยใช้ข้อตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong>เป็นเป้าประสงค์ทั้ งนี้อาจต้องแบ่งกลุ่ม (Cluster) อุตสาหกรรมในระดับการ<strong>พ</strong>ัฒนาต่างๆกัน เ<strong>พ</strong>ื่อจะได้มียุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์และแผน<strong>พ</strong>ัฒนาที่เหมาะสม ยืดหยุ่น แต่มีความจําเ<strong>พ</strong>าะต่อการปฏิบัติงาน2) การตอบสนองต่อข้อกําหนดมิให้ใช้กฎระเบียบเป็นอุปสรรคทางการค้าองค์การค้าโลก (WTO) มีข้อกําหนดให้หน่วยงานของภาครัฐที่มีอํานาจออกกฎหมายมิให้ใช้กฎหมาย กฎ ระเบียบมาเป็นอุปสรรคทางการค้า (Technical barrier to trade = TBT) ทั้งนี้กลุ่ม APEC และประชาคมอาเซียน กําหนดมาตรการรองรับให้หน่วยงานใช้ปฏิบัติโดยอาเซียนได้รับรองหลักการ Good Regulatory Practice (GRP) ในการประชุมสุดยอดผู้นําอาเซียนใน<strong>ปี</strong> 2551คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 52


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีการเตรียมการรองรับ โดย<strong>พ</strong>ัฒนาเรื่อง ระบบคุณภา<strong>พ</strong>และจัดสัมมนาเกี่ยวกับเรื่อง GRP ซึ่งผลการสัมมนาชี้ให้เห็นว่าการดําเนินการของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ผ่านมายังมีช่องว่างให้ต้อง<strong>พ</strong>ัฒนา เช่น การแจ้งข้อกฎหมายก่อนประกา<strong>ศ</strong>ใช้การทําประชา<strong>พ</strong>ิจารณ์การวิเคราะห์ผลกระทบและทางเลือกต่างๆ เ<strong>พ</strong>ื่อนํามา<strong>พ</strong>ิจารณาใช้ก่อนการออกกฎหมาย หรือระเบียบใดๆ ที่มีผลต่อการค้า ดังนั้นการบูรณาการเรื่อง GRP เข้าสู่กระบวนการทํางานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงเป็นสิ่งที่ต้องทําควบคู่กับการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบคุณภา<strong>พ</strong>ที่กําลังดําเนินการ<strong>อย</strong>ู่ในขณะนี้การทําประชา<strong>พ</strong>ิจารณ์ที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปฏิบัติก่อนออกข้อกําหนดหรือกฎระเบียบถือว่าเป็นขั้นตอนหนึ่งของ GRP <strong>อย</strong>่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการหลายรายสะท้อนว่าการทําประชา<strong>พ</strong>ิจารณ์ที่ผ่านมา รวมทั้งการเชิญผู้ประกอบการเข้าร่วมให้ข้อคิดเห็นต่างๆ มักจะไม่ให้เวลาเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อและไม่เกิดการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น<strong>อย</strong>่างจริงจัง รวมทั้งขาดข้อมูลที่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อทําให้การวิเคราะห์เ<strong>พ</strong>ื่อกําหนดท่าทีไม่ดีเท่าที่ควร เกิดการออกกฎหมายเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นเรื่<strong>อย</strong>ๆ โดยที่การใช้บังคับกฎหมายมักจะไม่ค่<strong>อย</strong>ได้ผลตามที่คาด และยังส่งผลให้ไทยถูกโต้ตอบจากประเท<strong>ศ</strong>สมาชิก WTO ว่าการออกกฎหมายขาดข้อมูลทางวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์ที่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ จนข้อกฎหมายของไทยถูกซักถามและต้องหยุดชะงักไปหลายกรณีทั้งภาคอุตสาหกรรมและสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา อาจต้องร่วมกันวิเคราะห์จุดแข็ง-จุดอ่อน-โอกาส และภาวะคุกคามของอุตสาหกรรม ให้รอบด้านโดยใช้ข้อมูลเป็นฐานในการตัดสินใจวางท่าทีที่จะเกิดประโยชน์ที่สมดุลต่อผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทั้งนี้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา อาจต้องขยายกรอบงานให้<strong>อย</strong>ู่ในระดับ<strong>กระทรวง</strong>หรือระดับประเท<strong>ศ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อให้สามารถกําหนดมาตรการ ที่อาจเกินหน้าที่รับผิดชอบของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้3) การตอบสนองต่อประเด็นใหม่ (Emerging issue) วิทยาการใหม่ (new technology) ในเวทีสากลด้วยกระแสโลกาภิวัตน์ การสื่อสารที่ทันสมัยและความต้องการของผู้บริโภคจึงเกิดประเด็นใหม่ๆ ในเวทีระหว่างประเท<strong>ศ</strong> เช่น ยาและเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ปลอม แนวคิด Food defense (การใช้อาหารเป็นเครื่องมือในการก่อการร้ายโดยใส่สาร<strong>พ</strong>ิษ หรือสิ่งเป็นอันตรายต่อประชาชน กลุ่มใหญ่)ในขณะเดียวกันมีวิทยาการใหม่ที่ยังไม่แน่นอนเรื่องความปลอดภัย เช่น เรื่อง Stem cellเรื่อง Nanotechnology เรื่อง GMO ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมใหม่ที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างประเท<strong>ศ</strong>เช่น ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ในกลุ่มอาเซียน ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้านสารอาหารในระดับโลก (INFOSAN) แผนปฏิบัติงานตามข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และหน่วยงาน <strong>อย</strong>. ของประเท<strong>ศ</strong>ต่างๆสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงจําเป็นต้องมีบุคลากรและโครงสร้างที่สามารถรองรับสิ่งใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากงานที่ทํา<strong>อย</strong>ู่เป็นประจํา แต่การจะรองรับได้ดีนั้น ต้องอา<strong>ศ</strong>ัยความ<strong>พ</strong>ร้อมทั้งด้านโครงสร้าง ทรั<strong>พ</strong>ยากรและบุคลากร2. ข้อจํากัดต่อการปฏิบัติงานด้านต่างประเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาการที่ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ภายใต้ความรับผิดชอบของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยากลายมาเป็นกลุ่มสินค้าสําคัญที่ทุกกลุ่มประชาคมต้องการให้เกิดการค้าขายโดยสะดวกระหว่างประเท<strong>ศ</strong>ในปัจจุบัน การออกข้อกฎหมายที่เป็นมาตรฐานเชิงบังคับถูกจับตามองไม่ให้เป็นอุปสรรคทางการค้าแต่ขณะเดียวกันภารกิจที่ต้องปกป้องความปลอดภัยของผู้บริโภค อาจส่งผลที่เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาในประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้1) จุดยืนของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และองค์ความรู้จากผลกระทบของการรวมกลุ่มเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ และข้อตกลงการค้าโลก สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา อาจต้องวิเคราะห์จุดยืนของตนเองใหม่ เ<strong>พ</strong>ื่อส่งสัญญาณถึงผู้เกี่ยวข้องฝ่ายต่างๆ จุดยืนที่ผ่านมาของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาค่อนข้างชัดเจนในการคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 53


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>โดยการกําหนดมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานสินค้าตามสภา<strong>พ</strong>ปัญหาในประเท<strong>ศ</strong> แต่เมื่อเกิดข้อตกลงที่ผลักดันให้ใช้มาตรฐานเดียวกันในกลุ่มเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ ภาคอุตสาหกรรมซึ่งมีระดับการ<strong>พ</strong>ัฒนาหลายระดับทําให้แต่ละกลุ่มมีความ<strong>พ</strong>ร้อมต่างกัน สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงต้องมีจุดยืนที่ชัดเจนว่าการตัดสินใจต่างๆจะใช้ความ<strong>พ</strong>ร้อมของผู้ประกอบการ ประกอบการตัดสินใจ<strong>อย</strong>่างไรและสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาอาจจําเป็นต้องหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น <strong>กระทรวง</strong><strong>พ</strong>าณิชย์และ<strong>กระทรวง</strong>อุตสาหกรรม ในการหามาตรการรองรับผลกระทบของข้อตกลงต่างๆต่อภาคอุตสาหกรรมเ<strong>พ</strong>ื่อให้ได้มาตรการที่มีมุมมองครบวงจร ขณะเดียวกันองค์ความรู้ของเจ้าหน้าที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาต้องปรับให้เหมาะกับจุดยืนของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาด้วย หากจุดยืนนั้นขยายจากด้านมาตรฐานความปลอดภัย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาอาจต้อง<strong>พ</strong>ัฒนาองค์ความรู้และมุมมองทางด้านเ<strong>ศ</strong>รษฐ<strong>ศ</strong>าสตร์ การวิเคราะห์ผลกระทบ เ<strong>พ</strong>ิ่มเติมจากองค์ความรู้หลักในการทํางาน2) บุคลากรและทั<strong>ศ</strong>นคติของบุคลากรบุคลากรที่ทํางานด้านต่างประเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ล้วนเป็นนักวิชาการ และในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเอง มีความหลากหลายของสายวิชาการน้<strong>อย</strong>หากจะปรับทิ<strong>ศ</strong>ทางการทํางานใหม่ อาจต้องเ<strong>พ</strong>ิ่มสายงาน เช่น ความสัม<strong>พ</strong>ันธ์ระหว่างประเท<strong>ศ</strong>การค้าระหว่างประเท<strong>ศ</strong> เ<strong>ศ</strong>รษฐ<strong>ศ</strong>าสตร์ระหว่างประเท<strong>ศ</strong> และแม้แต่นิติกรเองจําเป็นต้องเ<strong>พ</strong>ิ่มความรู้ด้านกฎหมายระหว่างประเท<strong>ศ</strong> และการทําข้อตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong>เหล่านี้ เป็นต้นการสรรหาบุคลากรที่เหมาะสมกับภารกิจต่างประเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นความท้าทายอีกประการหนึ่ง บุคลากรด้านต่างประเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาขณะนี้เป็นระดับ 8 ที่มีอายุราชการมากกว่า 20 <strong>ปี</strong> และมีข้าราชใหม่ในสายงานน้<strong>อย</strong>มาก สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาอาจต้อง<strong>ศ</strong>ึกษาจากหน่วยงานที่ทําหน้าที่ใกล้เคียงกันเช่น กรมเจรจาการค้าระหว่างประเท<strong>ศ</strong> สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ(มกอช.) ซึ่งประสบความสําเร็จ<strong>อย</strong>่างมากในการสรรหาบุคลากรรุ่นใหม่เ<strong>พ</strong>ื่อนํามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับงานต่างประเท<strong>ศ</strong>นอกจากนี้ บุคลากรของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา อาจต้องปรับทั<strong>ศ</strong>นคติจากการเป็นนักวิชาการ ซึ่งว่าด้วยเรื่องของหลักการมาเป็นนักเจรจา ซึ่งต้องฝึกทักษะต่างๆเช่น การยอมถ<strong>อย</strong> การตอบปฏิเสธ การหาแนวร่วม การ Lobby ก่อนหรือระหว่างการเจรจา เหล่านี้เป็นต้น3. ทิ<strong>ศ</strong>ทางการดําเนินงานด้านต่างประเท<strong>ศ</strong>ข้อคิดเห็นและข้อจํากัดเบื้องต้นที่ได้ประมวลมานั้น ทําให้เห็นว่า สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จําเป็นต้องให้ความสําคัญต่อของภารกิจงานต่างประเท<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น เ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดการความครอบคลุมสามารถรองรับผลกระทบของข้อตกลงต่างๆ ทั้งนี้อาจวิเคราะห์เป็นแนวทาง<strong>พ</strong>ัฒนาได้ดังต่อไปนี้1) การสร้างเครือข่ายการทํางานระหว่างภาครัฐ ภาควิชาการ และภาคเอกชนข้อตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong>มักส่งผลกระทบเชิงกว้าง การมีเครือข่ายเ<strong>พ</strong>ื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจัดทําฐานข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ ฯลฯ จึงอาจเป็นแนวทางสนธิกําลัง (Synergy) ที่เหมาะสมสําหรับงานด้านประเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งมีทรั<strong>พ</strong>ยากรจํากัดสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เป็นหน่วยงานหนึ่งที่น่าสนใจในการสร้างเครือข่ายนักวิชาการ และที่ผ่านมามีผลงานเชิงประจักษ์คือ กลุ่ม FTA watch และ กลุ่ม NTB watch และผลงานวิชาการเชิงเ<strong>ศ</strong>รษฐ<strong>ศ</strong>าสตร์ด้านวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) ต่างๆ เ<strong>พ</strong>ื่อเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมสําหรับการเจรจาเขตการค้าเสรีในอนาคต นอกจากนี้การมีข้อมูลที่สมบูรณ์และรอบด้านเป็น<strong>พ</strong>ื้นฐานสําคัญของการตัดสินใจ และกําหนดท่าทีที่เกิดประโยชน์ต่อประเท<strong>ศ</strong>ชาติดังนั้นความร่วมมือระยะยาวคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 54


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>กับภาควิชาการ หรือหน่วยงานเช่น สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาเรื่อง ฐานข้อมูลจึงเป็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์สําคัญหนึ่ง <strong>อย</strong>่างไรก็ตามความครอบคลุมของข้อมูลเป็นประเด็นสําคัญอีกประเด็นหนึ่งเช่นกัน ความเป็นเครือข่ายจะทําให้ได้ข้อมูลจากฝ่ายที่เกี่ยวข้องในทุกระดับเป็นการเปิดมุมมองและทําให้มีการตัดสินใจ<strong>อย</strong>่างรอบด้าน2) การสร้างยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์งานด้านต่างประเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาการใช้เครื่องมือทางการบริหารจัดการ มีความจําเป็นสําหรับเรื่องที่ซับซ้อน เช่น กรณีข้อตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong> และผลกระทบ ซึ่งเมื่อผนวกกับความหลากหลายของผู้ประกอบการ ทําให้การตัดสินใจต่างๆอาจต้องมีหลายทางเลือก (Options) ในช่วงเวลาต่างๆ กัน (Phasing) สําหรับผู้ประกอบการในแต่ละกลุ่ม (Cluster)ซึ่งจะต้องใช้องค์ความรู้ด้านการจัดทํายุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การวางกลยุทธ์มาวิเคราะห์เชิงลึกที่ผ่านมาข้อตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong> อาจถูกมองเป็นภัยคุกคามเ<strong>พ</strong>ราะเอื้อประโยชน์ต่อกลุ่มธุรกิจกลุ่มใหญ่ แต่ขณะเดียวกันการปิดกั้นเป็นไปได้ยาก ประเท<strong>ศ</strong>ไทยจําเป็นต้องเปิดตลาดสินค้าของตนเอง ซึ่งหากไม่มีการเตรียมการที่ดี<strong>พ</strong>อ ธุรกิจรายย่<strong>อย</strong>จะถูกกระทบ<strong>อย</strong>่างมากจากสินค้าที่จะทะลักเข้ามาจากแหล่งผลิตอื่นการสร้างยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ด้านต่างประเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงอาจช่วยให้เกิดการวิเคราะห์ข้อมูลที่รอบด้าน โดยเป็นการเปิดมุมมองของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้เกิดความชัดเจนต่อบทบาทของฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และทุกฝ่ายเห็นทิ<strong>ศ</strong>ทางการปรับเปลี่ยนในอนาคตซึ่งเป็นผลดีต่อทุกภาคส่วน2.11 กฎหมายที่<strong>อย</strong>ู่ในความรับผิดชอบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา1. กฎหมายด้านอาหาร1) <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551 มีเจตนารมณ์เ<strong>พ</strong>ื่อประสานและบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง<strong>อย</strong>่างเป็นรูปธรรม เ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการจัดการด้านอาหารของประเท<strong>ศ</strong> รวมทั้งส่งเสริมเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจการค้าด้านอุตสาหกรรมอาหาร ทั้งภายในและระหว่างประเท<strong>ศ</strong> นอกจากนี้ยังมีหน้าที่กําหนดนโยบายและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์เกี่ยวกับความมั่นคงด้านอาหารทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤต และจัดทําระบบเตือนภัยด้านอาหาร <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติฯ กําหนดให้เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาเป็นเลขานุการ โดยมีผู้อํานวยการสํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติเป็นเลขานุการร่วม คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ได้เริ่มมีการประชุมครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 20สิงหาคม 2552ที่ประชุมเห็นชอบกรอบยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การจัดการด้านอาหารของประเท<strong>ศ</strong>ไทย ประกอบด้วย3 ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ได้แก่1. ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์คุณภา<strong>พ</strong>และความปลอดภัยด้านอาหาร2. ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ความมั่นคงด้านอาหาร3. ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์อาหาร<strong>ศ</strong>ึกษาและแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>การจัดการด้านอาหารของประเท<strong>ศ</strong> โดยมอบหมายให้<strong>ศ</strong>.น<strong>พ</strong>.ไกรสิทธิ์ ตันติ<strong>ศ</strong>ิรินทร์ เป็นประธานในการจัดทํารายละเอียด<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ฯ เสนอต่อคณะกรรมการอาหารแห่งชาติซึ่งจะทําให้เกิดนโยบายการกํากับดูแลความปลอดภัยด้านอาหารที่เป็นเอกภา<strong>พ</strong> ส่งผลให้การดําเนินงานมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ยิ่งขึ้นคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 55


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>2) (ร่าง) <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติอาหาร <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. …<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติอาหาร <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2522 เป็นกฎหมายที่คุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารโดยการควบคุมดูแลการผลิต ขาย นําเข้าหรือส่งออกอาหาร ด้วยการให้อํานาจรัฐมนตรีออกกฎ<strong>กระทรวง</strong>หรือประกา<strong>ศ</strong><strong>กระทรวง</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อกําหนดคุณภา<strong>พ</strong>และเงื่อนไขการผลิตเ<strong>พ</strong>ื่อความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเงื่อนไขการโฆษณาเ<strong>พ</strong>ื่อป้องกันการหลอกลวงผู้บริโภค <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติอาหาร<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2522 ที่ใช้<strong>อย</strong>ู่ในปัจจุบัน เป็นกฎหมายที่ให้การคุ้มครองผู้บริโภคได้<strong>อย</strong>่างรัดกุมมากขึ้นแล้วนั้นแต่จากระยะเวลา 30 <strong>ปี</strong> ยังไม่เคยมีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับสถานการณ์และสภา<strong>พ</strong>สังคมที่เปลี่ยนแปลงจากเดิมเป็นอันมาก เช่น <strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภค การเรียกร้องสิทธิในการคุ้มครองผู้บริโภค การแข่งขันของตลาดการค้าเสรีที่จําเป็นต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขกติกาสากลการโฆษณากล่าวอ้างที่ไม่ถูกต้อง รูปแบบอาหารและเทคโนโลยีการผลิตใหม่ๆ ปรากฏกฎการณ์ใหม่ๆของการเกิดโรค เช่น โรควัวบ้า ไข้หวัดนก รวมทั้งข้อจํากัดภาครัฐทั้งด้านอํานาจหน้าที่ งบประมาณ กําลังคนองค์ความรู้ของบุคลากร ช่องว่างและความซ้ําซ้อนในการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนแปลงนโยบาย รวมทั้งระบบที่ไม่ยืดหยุ่นทําให้<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติอาหาร<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2522 ไม่เอื้อต่อการควบคุมและคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิผลเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ และไม่สอดคล้องกับกติกาสากล ดังนั้นจึงสมควรต้องปรับปรุงกฎหมายเ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการบริหารจัดการให้ครอบคลุมและคล่องตัวโดยสาระในการปรับปรุงกฎหมาย ต้องเ<strong>พ</strong>ิ่มและปรับความหมายของคําต่างๆ ให้ครอบคลุม และรัดกุมต่อการดําเนินงาน เช่น ภาชนะบรรจุกระจายงานให้องค์กรรัฐหรือเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญ เ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดความรวดเร็วและเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการดําเนินงาน เ<strong>พ</strong>ิ่มความเข้มงวดในการตรวจสอบอาหารนําเข้าที่ด่านอาหารและยา เ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการกํากับดูแลโฆษณาอาหาร กําหนดให้ผู้ประกอบการมีความรับผิดชอบ โดยต้องมีระบบควบคุมโดยให้มีระบบควบคุมตนเอง (Self-control) รับผิดชอบการตรวจ<strong>พ</strong>ิสูจน์ความปลอดภัยของอาหาร ตามหลักการWho didWho Pay และปรับปรุงบทลงโทษให้เหมาะสมในส่วนของกฎหมายอื่นๆ ที่เกี ่ยวข้องกับด้านอาหาร ปัจจุบันได้มี<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551 เริ่มมีผลบังคับใช้<strong>อย</strong>่างเป็นรูปธรรม ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม 2551 ซึ่งมีเนื้อหาในการควบคุมที่ครอบคลุมการผลิตในขั้นต้น (Primary Production) ไว้ด้วยแล้วซึ่งกฎหมายดังกล่าวจะเป็นเครื่องมือสําคัญที่จะช่วยยกระดับความปลอดภัยและคุณภา<strong>พ</strong>ของสินค้าเกษตร ให้ได้มาตรฐาน ทัดเทียมสากลเสริมสร้างความสมบูรณ์ในโครงสร้างกฎหมายได้ แต่<strong>อย</strong>่างก็ตามเนื่องจาก<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551 ซึ่งดูแลสินค้าเกษตร ส่วน<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติอาหาร<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2522 ดูแลผลิตภัณฑ์อาหารซึ่งมีความใกล้ชิดกันในห่วงโซ่อาหาร ซึ่งอาจเกิดความความซ้ําซ้อนในการตีความทางกฎหมายได้2 กฎหมายด้านยา1) (ร่าง) <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติยา <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. … (ปัจจุบันร่าง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติยา<strong>อย</strong>ู่ในขั้นตอนการ<strong>พ</strong>ิจารณาของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา)สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ปรับปรุงร่าง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติยา <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2510 ในประเด็นสําคัญเ<strong>พ</strong>ื่อ1. คุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคยา ส่งเสริมการใช้สิทธิและสนับสนุนให้เกิดการเข้าถึงยาจําเป็น2. เ<strong>พ</strong>ิ่มความมั่นคงด้านยา โดยการ<strong>พ</strong>ัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตยา ธุรกิจยาในประเท<strong>ศ</strong>ให้<strong>พ</strong>ึ่ง<strong>พ</strong>าตนเองได้และมี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการแข่งขัน รวมทั้งขจัดอุปสรรคในการ<strong>พ</strong>ัฒนายาจากภูมิปัญญาไทย3. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบยาของชาติให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>โดยมีมาตรการดังนี้คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 56


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. คณะกรรมการแห่งชาติด้านยา ภายใต้<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติยาเ<strong>พ</strong>ื่อกําหนดนโยบาย และมีกรรมการเฉ<strong>พ</strong>าะเรื่อง 3 ชุดตามความชํานาญและองค์ความรู้<strong>พ</strong>ื้นฐานที่แตกต่างกัน โดยที่ คณะกรรมการเฉ<strong>พ</strong>าะเรื่องทั้ง 3 ชุด มีองค์ประกอบสัดส่วนเหมาะสม ผู้มีส่วนได้เสียครบถ้วน สมดุล มีผู้เชี่ยวชาญด้านยาประเภทนั้นๆเข้าร่วมเป็นกรรมการ เ<strong>พ</strong>ื่อกําหนดหลักเกณฑ์ และให้คําแนะนําทางวิชาการเกี่ยวกับยาเฉ<strong>พ</strong>าะด้านที่แตกต่างกันได้แก่ ยาแผนปัจจุบันสําหรับมนุษย์ ยาแผนไทยและแผนทางเลือก ยาสําหรับสัตว์2. จัดแบ่งประเภทของยา ตามความเข้มงวดในการกระจายของยา เป็น ยาจําหน่ายทั่วไปยาควบคุมโดยผู้ประกอบวิชาชี<strong>พ</strong> ยาควบคุมตามใบสั่งยา และได้มีการนิยามความหมายของยาทั้ง 3 กลุ่มขึ้นแทนประเภทของยาเดิม(ยาสามัญประจําบ้าน ยาอันตราย และ ยาควบคุม<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษ) เ<strong>พ</strong>ื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจในส่วนของยาแผนโบราณ ได้ยกเลิกคําว่า ยาแผนโบราณ และได้นิยาม<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท์ใหม่เป็นยาแผนไทยและยาแผนทางเลือก เ<strong>พ</strong>ื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องที่ได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงไป และเอื้อต่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาและส่งเสริมยาแผนไทย3. ประเภทใบอนุญาต- ยกเลิก ประเภทใบอนุญาตขายยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตรายและยาควบคุม<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษ (ขย.2)แต่ยังคงมีบทเฉ<strong>พ</strong>าะกาลให้มีสิทธิ<strong>อย</strong>ู่ต่อไปอีก 10 <strong>ปี</strong> นับจากวันที่<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติใช้บังคับเว้นแต่ กรณีผู้สําเร็จการอบรมตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติยา ฉบับที่ 3 (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2522) และเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ จะให้มีสิทธิต่อไปจนสิ้นอายุ- ประเภทใบอนุญาตของยา (ผลิต ขาย นําเข้า) ได้ปรับปรุงให้สอดคล้องกับประเภทของยา- ผู้รับอนุญาตขายยา หากต้องการขายส่งยา ต้องขอมีใบอนุญาตขายส่ง แยกต่างหากเ<strong>พ</strong>ื่อประโยชน์ในการกํากับดูแลร้านยาที่ทําการขายส่ง ซึ่งจะต้องมีหลักเกณฑ์และมาตรการในการกํากับที่แตกต่างจากร้านยาขายปลีกทั่วไป4. กรณีการควบคุมการขออนุญาตเกี่ยวกับยา- องค์กรเภสัชกรรมจะไม่ได้รับการยกเว้น ในการขออนุญาตเกี่ยวกับยา- การผลิตยาของผู้ประกอบวิชาชี<strong>พ</strong>สําหรับคนไข้ของตน ให้ได้รับการยกเว้นเฉ<strong>พ</strong>าะการแบ่งบรรจุยาที่ได้รับการขึ้นทะเบียนแล้ว- การขายยาของผู้ประกอบวิชาชี<strong>พ</strong>สําหรับคนไข้ของตน ยังคงได้รับสิทธิยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตเกี่ยวกับยา เช่นเดิม- การขอรับใบอนุญาตเกี่ยวกับยาทุกประเภท กําหนดให้ผู้ขอรับอนุญาตต้องจัดให้มีผู้ดําเนินการ1คนทําหน้าที่ควบคุมดูแล รับผิดชอบดําเนินการ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้ประกอบวิชาชี<strong>พ</strong> ซึ่งมีความรู้ทางวิชาการด้านยาและมีความรับผิดชอบ เข้ามาเป็นผู้ดูแล ดําเนินการและควบคุมเกี่ยวกับการประกอบการด้านยาทุกประเภท โดยใช้หลักการเช่นเดียวกับ<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติสถาน<strong>พ</strong>ยาบาลซึ่งคาดว่าจะทําให้ การดําเนินการเกี่ยวกับยาทุกประเภทถูกต้องกฎหมายและดําเนินการถูกต้องตามหลักวิชาการมากขึ้น เป็นประโยชน์กับผู้บริโภค- คุณสมบัติของผู้รับอนุญาต ได้ตัดข้อกําหนดที่ต้องเป็นผู้มีทรั<strong>พ</strong>ย์และมีฐานะ<strong>พ</strong>อที่จะตั้งออกเ<strong>พ</strong>ื่อไม่ให้ขัดกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ5. การขึ้นทะเบียนตํารับยา- นอกจากมาตรการการขึ้นทะเบียนตํารับแล้ว ได้เ<strong>พ</strong>ิ่มมาตรการการจดแจ้งยาและยาที่เป็นเภสัชสมุนไ<strong>พ</strong>ร ตามรายการที่ประกา<strong>ศ</strong>กําหนด เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีการมาตรการในการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์ ดังกล่าวข้างต้นเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นและให้มีการจดแจ้งยาที่จําเป็นต้องใช้เฉ<strong>พ</strong>าะกรณี เช่น ยากํา<strong>พ</strong>ร้า เ<strong>พ</strong>ื่อส่งเสริมการเข้าถึงยาของผู้ป่วย- อายุทะเบียนตํารับยา เปลี่ยนจากตลอดชี<strong>พ</strong> เป็น มีอายุ “ห้า<strong>ปี</strong>” เ<strong>พ</strong>ื่อให้สามารถทบทวนทะเบียนตํารับยาได้เป็นระยะ- ยาที่ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว หากมีความจําเป็นได้กําหนดให้สามารถที่จะทบทวนทะเบียนตํารับยาได้คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 57


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>- เ<strong>พ</strong>ิ่มผู้มีสิทธิขอขึ้นทะเบียนตํารับยาจากเดิม เฉ<strong>พ</strong>าะผู้รับอนุญาตผลิตหรือนําเข้า เป็น “เจ้าของผลิตภัณฑ์ยาที่มีตัวแทนในประเท<strong>ศ</strong>ไทย” ด้วยเ<strong>พ</strong>ื่อให้เป็นไปตามหลักสากล และสอดคล้องการแนวทางของASEAN Harmonization อันจะเอื้อต่อการส่งเสริมการลงทุนด้วย- ในการขึ้นทะเบียนตํารับยากําหนดให้ต้องแจ้งข้อมูลเ<strong>พ</strong>ิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างราคายาเ<strong>พ</strong>ื่อการประเมินความสมเหตุสมผลด้านราคา และต้องแสดงข้อมูลสิทธิบัตร เ<strong>พ</strong>ื่อเอื้อประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมยาในประเท<strong>ศ</strong>- เ<strong>พ</strong>ิ่มหลักเกณฑ์<strong>พ</strong>ิจารณาทะเบียนตํารับยา โดยให้<strong>พ</strong>นักงานเจ้าหน้าที่สามารถไม่รับขึ้นทะเบียนกรณีที่ยานั้นมีโครงสร้างราคายาไม่สมเหตุสมผล หรือ ไม่คุ้มค่า6. มาตรการเ<strong>พ</strong>ิ่มการเข้าถึงยา- ให้มีมาตรการการจดแจ้ง แทนการขึ้นทะเบียนตํารับแทนยาที่จําเป็นต้องใช้เฉ<strong>พ</strong>าะกรณี เช่นยากํา<strong>พ</strong>ร้า เ<strong>พ</strong>ื่อส่งเสริมการเข้าถึงยาของผู้ป่วย- เ<strong>พ</strong>ิ่มหลักเกณฑ์<strong>พ</strong>ิจารณาทะเบียนตํารับยา โดยให้<strong>พ</strong>นักงานเจ้าหน้าที่สามารถไม่รับขึ้นทะเบียนกรณีที่ยานั้นมีโครงสร้างราคายาไม่สมเหตุสมผลหรือไม่คุ้มค่า เ<strong>พ</strong>ื่อเอื้อต่อการเข้าถึงยาของผู้ป่วย7. เ<strong>พ</strong>ิ่มบทบัญญัติ เรื่อง ความรับผิดทางแ<strong>พ</strong>่ง โดยกําหนดให้ผู้รับอนุญาตผลิต ขาย นําเข้า เจ้าของผลิตภัณฑ์ต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้เสียหายในผลของความเสียหายอันเกิดจากยานั้น เว้นแต่จะ<strong>พ</strong>ิสูจน์ได้ว่าเกิดจากเหตุสุดวิสัย8. เ<strong>พ</strong>ิ่มบทบัญญัติในการควบคุมการส่งเสริมการขายยา เ<strong>พ</strong>ิ่มเติมจากการโฆษณา โดยการส่งเสริมการขาย จะกระทําได้เฉ<strong>พ</strong>าะกับผู้ประกอบวิชาชี<strong>พ</strong>โดยตรง ซึ่งต้องไม่มีการให้เงินหรือผลประโยชน์ตอบแทน และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด3.กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคที่เกี่ยวข้อง1) <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติวิธี<strong>พ</strong>ิจารณาคดีผู้บริโภค <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2551 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 25532) <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2551หรือที่เรียกย่อๆว่า PL Law (Product Liability Law) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 20 กุมภา<strong>พ</strong>ันธ์ 2552กฎหมายทั้งสองฉบับ จะเอื้อให้ผู้บริโภคฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายกับผู้ประกอบการ กรณีหากได้รับความเสียหายจากยาหรือบริการด้านยาที่ทําให้เกิดความเสียหายขึ้น โดยให้ภาระในการ<strong>พ</strong>ิสูจน์ตก<strong>อย</strong>ู่กับผู้ประกอบการ ยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียม สามารถฟ้องด้วยวาจาได้เป็นต้น ส่งผลให้ผู้ประกอบการด้านยาจําต้องยกระดับคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐาน การผลิต และขายยาในที่สุด4. กฎหมายด้านเครื่องสําอางประเท<strong>ศ</strong>ไทยโดยรัฐมนตรีเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลง Agreement on ASEANHarmonized Cosmetic Regulatory Scheme (AHCRS) เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2546 ในการประชุมรัฐมนตรีเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจอาเซียนครั้งที่ 35 ณ กรุง<strong>พ</strong>นมเปญ ประเท<strong>ศ</strong>กัม<strong>พ</strong>ูชา เ<strong>พ</strong>ื่อปรับกฎระเบียบเกี่ยวกับเครื่องสําอางให้สอดคล้องกัน และได้จัดทํา ASEAN Cosmetic Directive (บทบัญญัติเครื่องสําอางแห่งอาเซียน) ซึ่งข้อกําหนดตามบทบัญญัติดังกล่าวได้กําหนดบังคับให้ประเท<strong>ศ</strong>สมาชิกต้องควบคุมกํากับดูแลให้ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางที่วางจําหน่ายต้องเป็นไปตามข้อตกลงทั้งในเรื่องรายการสารที่ใช้เป็นส่วนผสม ฉลากผลิตภัณฑ์และความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ หากประเท<strong>ศ</strong>สมาชิกละเลยไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง กลุ่มประเท<strong>ศ</strong>สมาชิกก็สามารถใช้เป็นข้ออ้างในการกีดกันทางการค้าซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้า<strong>อย</strong>่างมหา<strong>ศ</strong>าลโดยที่ข้อมูลปริมาณการนําเข้า-ส่งออกสินค้าเครื่องสําอางระหว่างประเท<strong>ศ</strong><strong>ปี</strong> 2551 นั้น <strong>พ</strong>บว่ากลุ่มประเท<strong>ศ</strong>คู่ค้าคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 58


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>สําคัญในปัจจุบันก็คือกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>ในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งไทยมีปริมาณการส่งออกสินค้าเครื่องสําอางไปขายสูงถึง 13,820 ล้านบาท เมื่อเทียบกับประเท<strong>ศ</strong>สหรัฐอเมริกาประมาณ 1,051 ล้านบาทสหภา<strong>พ</strong>ยุโรป2,249ล้านบาทและญี่ปุ่น 5,059 ล้านบาท (ที่มา: Import/Export Statistics กรม<strong>ศ</strong>ุลกากร)5. กฎหมายด้านวัตถุอันตรายมีการตรา<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 3) <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551 เ<strong>พ</strong>ื่อกําหนดอายุใบสําคัญการขึ้นทะเบียน ใบรับแจ้งการดําเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ยกเลิกการเก็บค่าธรรมเนียมราย<strong>ปี</strong>แต่ปรับค่าธรรมเนียมในอนุญาตตามปริมาณการดําเนินการ รวมทั้งแก้ไขข้อบัญญัติต่างๆที่ยังไม่เหมาะสมซึ่งใน<strong>ปี</strong> 2551 ถึง<strong>ปี</strong> 2553 กลุ่มควบคุมวัตถุอันตรายได้ดําเนินการปรับปรุงแก้ไขประกา<strong>ศ</strong>ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเ<strong>พ</strong>ื่อให้สอดคล้องกับข้อบัญญัติในกฎหมาย ตลอดจนเผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์กฎหมายหลักเกณฑ์ต่างๆ ให้ผู้ประกอบการทราบเ<strong>พ</strong>ื่อให้มีการปฏิบัติที่ถูกต้องตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติวัตถุอันตราย <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2535 ให้หน่วยงานต่างๆ เข้ามาใช้อํานาจกํากับดูแลวัตถุอันตรายตามขอบข่ายหน้าที่ของหน่วยงานนั้น โดยผ่านคณะกรรมการวัตถุอันตราย ซึ่งองค์ประกอบคณะกรรมการที่มีหลายหน่วยงานเข้ามาร่วม<strong>พ</strong>ิจารณานั้น ในบางครั้งเป็นอุปสรรคในแง่ความเข้าใจในการปฏิบัติงานของหน่วยงานเจ้าของเรื่อง ประกอบกับกฎหมายแม่บทที่ต้องกําหนดให้ครอบคลุมขอบข่ายที่กว้างขวางสําหรับทุกหน่วยงานรับผิดชอบ ซึ่งอาจไม่เหมาะสมกับบางหน่วยงานดังนั้นการออกประกา<strong>ศ</strong>กําหนดของหน่วยงานจึงไม่สะดวก เ<strong>พ</strong>ราะผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลาย และการประกา<strong>ศ</strong>กําหนดรายชื่อเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ตามวัตถุประสงค์การใช้ทําให้มีผลิตภัณฑ์ที่เข้าข่ายการควบคุมเป็นจํานวนมาก และบางครั้งก่อให้เกิดความไม่ชัดเจนในการ<strong>พ</strong>ิจารณาวินิจฉัยผลิตภัณฑ์รวมทั้งมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง เจ้าหน้าที่ผู้ประเมินผลิตภัณฑ์จึงจําเป็นต้องมีความรู้ และติดตามข้อมูลผลิตภัณฑ์<strong>อย</strong>่างต่อเนื่องแต่ภาระงานที่เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น ขณะที่อัตรากําลังผู้ปฏิบัติงานที่มี<strong>อย</strong>ู่<strong>อย</strong>่างจํากัดและมีภาระงาน<strong>พ</strong>ัฒนาระบบงานตามคณะกรรมการ ก.<strong>พ</strong>.ร.ที่ต้องดําเนินการตามกรอบเวลาทําให้การปฏิบัติงานเชิงรุก ได้แก่ การติดตามข้อมูลสารเคมีการทบทวนทะเบียนตํารับเ<strong>พ</strong>ื่อกําหนดมาตรการควบคุมให้ทันสถานการณ์ยังไม่สามารถดําเนินการได้<strong>อย</strong>่างเต็มที่ ประกอบกับการกําหนดอายุใบสําคัญการขึ้นทะเบียน และใบแจ้งการดําเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ส่งผลให้ผู้ประกอบการต้องดําเนินการขึ้นทะเบียนใหม่ ซึ่งอาจมีการ<strong>พ</strong>ิจารณาทบทวนทะเบียน จึงเป็นการเ<strong>พ</strong>ิ่มภาระงานด้านนี้เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงต้องเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมในการประเมินข้อมูลทะเบียนดังนี้1. ควรมีการ<strong>พ</strong>ิจารณากําหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติให้มีความเหมาะสมกับรูปแบบ และความเป็นอันตรายของผลิตภัณฑ์ที่กํากับดูแล โดยมีการ<strong>ศ</strong>ึกษาเปรียบเทียบกับหลักเกณฑ์ของหน่วยงานอื่น2. ควรมีการเตรียมระบบงานที่ชัดเจนเ<strong>พ</strong>ื่อรองรับการขึ้นทะเบียนใหม่ตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 3) <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 25513. ควรมีการจ้างผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ที่มีประสบการณ์เ<strong>พ</strong>ื่อดําเนินการ<strong>ศ</strong>ึกษาข้อมูลและประเมินความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์4. ควรใช้กระบวนการจัดการความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีการรวบรวมองค์ความรู้ด้านกฎหมาย หลักเกณฑ์ต่างๆ เ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการปฏิบัติงานคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 59


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>6. กฎหมายด้านเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551 ได้ลงประกา<strong>ศ</strong>ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 6 มีนาคม 2551 ส่งผลให้เกิดภาระงานเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้นได้แก่1. การจัดทํากฎหมายลูกที่มีจํานวนมากกว่า 75 ฉบับ การ<strong>พ</strong>ัฒนาและผลักดันมาตรการควบคุมเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ที่กําหนดเ<strong>พ</strong>ิ่มเติมใหม่ รวมทั้งการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบสารสนเท<strong>ศ</strong>รองรับ<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ฉบับใหม่อีกด้วย2. ดําเนินการ<strong>พ</strong>ัฒนากฎหมายขึ้นใหม่เ<strong>พ</strong>ื่อการควบคุมเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ที่มีการเปลี่ยนและ<strong>พ</strong>ัฒนาเทคโนโลยี<strong>อย</strong>่างรวดเร็ว<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง เช่น ปรับปรุงแก้ไขประกา<strong>ศ</strong><strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข เรื่อง ชุดตรวจที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อเอชไอวี ประกา<strong>ศ</strong><strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข เรื่อง เครื่องมือหรืออุปกรณ์กายภา<strong>พ</strong>บําบัดและยังต้องออกประกา<strong>ศ</strong>ควบคุมเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์หรือผลิตภัณฑ์ที่กําลังเป็นปัญหาในปัจจุบัน เช่น เลนส์สัมผัสเ<strong>พ</strong>ื่อความสวยงาม ลวดดัดฟันแฟชั่น เครื่องมือที่มีวัตถุประสงค์เ<strong>พ</strong>ื่อการส่งเสริมสุขภา<strong>พ</strong> เป็นต้น3. ปรับมาตรการควบคุมเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ ตามความเข้มงวดและตามความจําเป็นของสถานการณ์ การควบคุมเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์หลายรายการในระดับเข้มงวดสุดในระดับที่ต้องได้รับอนุญาต เช่นถุงยางอนามัย ถุงมือทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ แต่ปัจจุบัน ประเท<strong>ศ</strong>ไทยต้องดําเนินการ Harmonization ระบบการกํากับดูแลเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ให้เป็น ระบบสากลเ<strong>พ</strong>ื่อคุ้มครองผู้บริโภคทัดเทียมสากลภายใต้ยุคการค้าเสรีซึ่งจําเป็นต้องกํากับดูแลเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ให้ครอบคลุมมากขึ้นโดยยกระดับการกํากับดูแลและจัดประเภทเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ตามกลุ่มเสี่ยง (High risk, Intermediate risk และLow risk) เป็นต้นคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 60


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ส่วนที่ 2การประเมิน<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>องค์กรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ประเมินสมรรถนะองค์กร โดยวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัจจัยภายในและภายนอก โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมในการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ของ <strong>อย</strong>. ประจํา<strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong> ซึ่งได้ร่วมกันวิเคราะห์ปัจจัย(จุดแข็งและจุดอ่อน) เ<strong>พ</strong>ื่อประเมินสภา<strong>พ</strong>องค์กรโดยใช้หลักของ McKinsey 7S และการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก(โอกาสและภัยคุกคาม) เ<strong>พ</strong>ื่อประเมินผลกระทบจากสภา<strong>พ</strong>แวดล้อมโดยใช้หลักของ PEST + HCP Analysisเ<strong>พ</strong>ื่อเป็นแนวทางในการกําหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางองค์กร สรุปได้ดังนี้1. ผลการประเมินสถานภา<strong>พ</strong>ปัจจุบันของสํานักงานคณะกรรมการอาหาร 1การวิเคราะห์สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมภายใน (เรียงตามจัดลําดับความสําคัญ)จุดแข็ง (Strengths)1. <strong>อย</strong>. มีกฎหมายรองรับการทํางาน ทําให้สามารถดําเนินงาน ได้ โดยมีกฎหมายเป็นเครื่องมือหลักในการทํางาน2. มีระบบการดําเนินงานที่ครอบคลุมบทบาทภารกิจทั้งระบบงานหลักและระบบงานสนับสนุนเช่นระบบโลจิสติกส์ ระบบการให้บริการเบ็ดเสร็จณ จุดเดียว และระบบการส่งเสริม สนับสนุนส่วนภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นต้น ทั้งนี้เ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มขีดความสามารถในการคุ้มครองผู้บริโภค3. มีประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ครอบคลุมภารกิจขององค์กร และตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาล4. บุคลากรของ <strong>อย</strong>. มีความเชี่ยวชาญและชํานาญงานโดยเฉ<strong>พ</strong>าะด้านเภสัช<strong>ศ</strong>าสตร์ และด้านอาหารและยา5. บุคลากร <strong>อย</strong>.มีทักษะ และสมรรถนะหลักที่สามารถดําเนินการได้ตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น ทักษะการบริหารความเสี่ยงการบังคับใช้กฎหมาย การ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ให้แก่ผู้บริโภค และการเจรจาข้อตกลงต่าง ๆ ในเวทีต่างประเท<strong>ศ</strong>6. รูปแบบการบริหารงานของผู้บริหารมีความคล่องตัวทําให้การดําเนินงานมีความรวดเร็ว และมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>7. วิสัยทั<strong>ศ</strong>น์บ่งบอกทิ<strong>ศ</strong>ทางที่ชัดเจน มีความท้าทายและมีความเป็นไปได้ในการบรรลุวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์8. องค์กรให้ความสําคัญกับการ<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากร โดยมีการจัดทําแผน<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากรรายบุคคล เ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการ<strong>พ</strong>ัฒนาทักษะและ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong><strong>อย</strong>่างต่อเนื่องจุดอ่อน (Weaknesses)1. อัตรากําลังไม่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อต่อการดําเนินงานกํากับ ดูแลตรวจสอบ เฝ้าระวังได้<strong>อย</strong>่างทั่วถึง ทําให้มีการลักลอบนําผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ไม่ได้มาตรฐานมาจําหน่ายท้องตลาด ซึ่งผลกระทบต่อสุขภา<strong>พ</strong>ของประชาชน2. ระบบฐานข้อมูลยังไม่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ ไม่เอื้อต่อการดําเนินงานของเจ้าหน้าที่ และการตัดสินใจของผู้บริหาร3. กฎหมายไม่เหมาะสมและไม่ทันต่อสถานการณ์ ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค รวมถึงการบังคับใช้กฎหมาย4. ยังไม่มีการกําหนดเข็มมุ่ง(จุดเน้น) ที่ชัดเจนในการดําเนินงาน5. การบูรณาการการทํางานเครือข่ายการทํางาน คบส.ระดับท้องถิ่นและภูมิภาค ไม่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ6. ผู้บริหาร <strong>อย</strong>. มีการปรับเปลี่ยนบ่<strong>อย</strong> ทําให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนนโยบายและแนวทางการดําเนินงาน เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีความสอดคล้องกับแนวปฏิบัติของผู้บริหารแต่ละท่าน7. โครงสร้างองค์กรไม่เอื้อต่อสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไป ทําให้ต้องมีการปรับโครงสร้างภายในขึ้นเ<strong>พ</strong>ื่อให้การดําเนินงานมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>เช่นการขาดการบูรณาการในการดําเนินงานPost Marketing (จนท.กลุ่ม Postไม่สามารถตรวจได้ทุกกลุ่มผลิตภัณฑ์)8. การขาดแคลนงบประมาณ หรือการจัดสรรงบประมาณที่ไม่เหมาะสม ทําให้ภารกิจงานที่จําเป็นบางงานไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณที่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ ส่งผลกระทบต่อการดําเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>9. ความก้าวหน้าในอาชี<strong>พ</strong>และการเลื่อนตําแหน่งของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ยังไม่ชัดเจน1 อ้างอิงจาก การประชุมคณะทํางานจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong> ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ครั้งที่ 3/ 2553 วันที่ 31 <strong>พ</strong>ฤษภาคม 2553คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 61


การวิเคราะห์สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมภายใน (เรียงตามจัดลําดับความสําคัญ)จุดแข็ง (Strengths) (ต่อ)9. มีการจัดตั้ง<strong>ศ</strong>ูนย์ประสานราชการใสสะอาดชมรมจริยธรรม และส่งเสริมให้ดําเนินการตามนโยบายการกํากับดูแลองค์กรที่ดี เ<strong>พ</strong>ื่อลดความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดการทุจริตและประ<strong>พ</strong>ฤติมิชอบ10. ค่านิยมขององค์กรสอดคล้องภารกิจหลักและทิ<strong>ศ</strong>ทางขององค์กร<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>จุดอ่อน (Weaknesses) (ต่อ)10. แนวโน้มการขาดแคลนบุคลากรในอนาคตที่มีจํานวนมาก ส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค11. การบริหารผลการปฏิบัติงานยังไม่เป็นธรรมและเกิดความโปร่งใส12. โครงสร้างองค์กรไม่มีหน่วยงานในส่วนภูมิภาคคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 62


การวิเคราะห์สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมภายนอก (เรียงตามจัดลําดับความสําคัญ)โอกาส (Opportunities)1. นโยบาย รมว.สธ. ที่เน้นการคุ้มครองผู้บริโภคที่เกี่ยวข้องกับสุขภา<strong>พ</strong><strong>อย</strong>่างจริงจังและการสนับสนุนให้ อสม.มีบทบาทเชิงรุกมากขึ้น2. องค์กรเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคภาคเอกชนทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัดและระดับประเท<strong>ศ</strong>มีความตื่นตัว และเข้มแข็งขึ้น มีการประสานการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ร่วมกันมากขึ้น ร่วมกันสนับสนุนการดําเนินงานของภาครัฐมากขึ้น3. ผู้บริโภคมีความตื่นตัว ปกป้องสิทธิ์ ช่วยเป็นหูเป็นตาในการสอดส่องผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ไม่ปลอดภัยและร้องเรียนมายังหน่วยงานภาครัฐเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น4. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเท<strong>ศ</strong>ที่ทันสมัย และช่องทางการเข้าถึงข้อมูลที่หลากหลาย ทําให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ได้<strong>อย</strong>่างสะดวกรวดเร็วขึ้น เชื่อมโยงไปทั่วโลก5. การ<strong>พ</strong>ัฒนายกระดับกฎระเบียบและการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>มีมาตรฐานสูงขึ้นและสอดคล้องไปในทิ<strong>ศ</strong>ทางเดียวกันในระดับสากล เช่น ASEANHarmonization, GHS, etc.6. การ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบราชการมีการผลักดันให้นําเครื่องมือทางการบริหารงานยุคใหม่เข้ามาใช้ในการดําเนินการ เช่น PMQA, Risk Managementทําให้การดําเนินงานมีการวิเคราะห์ที่ครอบคลุมสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้มากขึ้น7. กระแสความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ทําให้ผู้ประกอบการเริ่มตระหนัก และรับผิดชอบต่อสังคม ทําให้ <strong>อย</strong>. ได้รับความร่วมมือจากผู้ประกอบการในการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์ให้มีความปลอดภัย ต่อผู้บริโภคมากขึ้น<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ภัยคุกคาม (Threats)1. ผู้บริโภคเกิด<strong>พ</strong>ฤติกรรมในการซื้อหรือบริโภคโดยทีไม่ได้ตรวจสอบข้อมูล<strong>อย</strong>่างรอบคอบ ซื้อหรือบริโภคตามความสะดวก จากปัจจัยดังกล่าวทําให้คนไทยมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม2. การรวมกลุ่มทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ และการเปิดเขตการค้าเสรี ทําให้<strong>พ</strong>บปัญหาการลักลอบนําเข้าผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> และความไม่ปลอดภัยในผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>จํานวนมาก โดยเฉ<strong>พ</strong>าะสินค้าจากประเท<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อนบ้านและการเปิดเสรีทางการค้าทําให้ มีผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>นําเข้า-ส่งออก มากขึ้นโดยเฉ<strong>พ</strong>าะการค้าขายแนวชายแดน+การเปิดเสรีทางด้านการขนส่งและLogistic เช่น Eastern-Western Corridor3. การสร้างค่านิยมที่ไม่เหมาะสมโดยผู้มีชื่อเสียง เช่นสวยต้องขาว หุ่นดี ทําให้ผู้บริโภคหลงเชื่อคําโฆษณาและนิยมใช้ผลิตภัณฑ์โดยไม่สมประโยชน์4. การประกอบธุรกิจมีการแข่งขันด้านการโฆษณาและส่งเสริมการขายในหลากหลายรูปแบบและช่องทางทําให้ <strong>อย</strong>.มีภาระงานในการกํากับดูแลมากขึ้น5. เทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>ทําให้เกิดการแ<strong>พ</strong>ร่กระจายข้อมูล/โฆษณาหลอกลวงมากขึ้น ยากแก่การควบคุม6. การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็นไป<strong>อย</strong>่างรวดเร็วก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่มีการผสมผสานของเทคโนโลยีเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น เช่น Biomedical Engineering,MaterialmTechnology,Nanotechnologyผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลาย มีความคาบเกี่ยวระหว่างผลิตภัณฑ์มากขึ้น ส่งผลให้ไม่สามารถ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบงานได้ทันตามการเปลี่ยนแปลงคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 63


การวิเคราะห์สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมภายนอก (เรียงตามจัดลําดับความสําคัญ)โอกาส (Opportunities) (ต่อ)<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ภัยคุกคาม (Threats) (ต่อ)7. ภาวะวิกฤตเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจส่งผลให้รายได้ในครัวเรือนไม่มีเสถียรภา<strong>พ</strong> ทําให้ผู้บริโภคหันไปนิยมผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีราคาถูก มีโปรโมชั่นส่งเสริมการขายโดยไม่คํานึงถึงคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐาน8. การกระจายอํานาจสู่ท้องถิ่น ยังขาดโครงสร้างการบริหารงาน และการดําเนินงานด้านสาธารณสุข<strong>อย</strong>่างเป็นรูปธรรม ทําให้การดําเนินงานด้านสาธารณสุขล่าช้า9. การเมืองขาดเสถียรภา<strong>พ</strong> ทําให้นโยบายและการดําเนินงานไม่ต่อเนื่อง เช่น การประชุม คกก.ระดับชาติ ที่ <strong>อย</strong>.เกี่ยวข้อง10. งบประมาณที่ <strong>อย</strong>.ได้รับการจัดสรรจากรัฐบาลน้<strong>อย</strong>ลงไม่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อกับภาระงานที่เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น ส่งผลต่อประสิทธิภา<strong>พ</strong>การดําเนินงาน11. ปัญหายาเส<strong>พ</strong>ติดที่ปัจจุบัน<strong>พ</strong>บว่ามีการดัดแปลงสารตั้งต้นไปเป็นยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษ เช่น ยาแก้ไ<strong>อย</strong>าแก้แ<strong>พ</strong>้ เป็นต้น12. ประชาชนผู้สูงอายุและสตรีเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น ทําให้เกิดผลิตภัณฑ์เ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>และผลิตภัณฑ์เสริมความงามเ<strong>พ</strong>ื่อมารองรับความต้องการของกลุ่มผู้สูงอายุและสตรี รวมทั้ง มีการโฆษณาชวนเชื่อ โอ้อวด เกินจริงในลักษณะรักษาโรคได้ ชะลอความแก่ เ<strong>พ</strong>ิ่มความขาวลดความอ้วนเป็นต้น13. อัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ(NCD) เช่นโรคหลอดเลือดสมอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูงมะเร็ง มีแนวโน้มเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น ซึ่งมีสาเหตุมาจาก<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 64


ส่วนที่ 3ทิ<strong>ศ</strong>ทางของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>จากผลการประเมิน<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>องค์กรด้วย SWOT Analysis และกรอบทิ<strong>ศ</strong>ทางขององค์กร ได้แก่วิสัยทั<strong>ศ</strong>น์ <strong>พ</strong>ันธกิจ ค่านิยม เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาวขององค์กร และผลการดําเนินงานที่คาดหวังระดับผลผลิตและผลลั<strong>พ</strong>ธ์ ตาม<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> 2553-2556 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ทบทวนและปรับปรุงทิ<strong>ศ</strong>ทางขององค์กรให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งทิ<strong>ศ</strong>ทางองค์กรภายใต้<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong> จะเปรียบเสมือนทิ<strong>ศ</strong>ทางที่องค์กรต้องการมุ่งไปสู่ และเป็นผลลั<strong>พ</strong>ธ์ระดับสูงที่องค์กรต้องการที่จะบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ต่อไป1. วิสัยทั<strong>ศ</strong>น์ (VISION)องค์กรที่เป็นเลิ<strong>ศ</strong>ด้านการคุ้มครอง และส่งเสริมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong> ปลอดภัย และสมประโยชน์ มุ่งสู่สังคมสุขภา<strong>พ</strong>ดี2. ภารกิจตามกฎหมาย / <strong>พ</strong>ันธกิจยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์2.1 ภารกิจตามกฎหมาย (ตามกฎ<strong>กระทรวง</strong>แบ่งส่วนราชการสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2552 ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2552)กําหนดให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข มีภารกิจเกี่ยวกับการปกป้องและคุ้มครองสุขภา<strong>พ</strong>ของประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์ ซึ่งล้วนถือเป็นผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> โดยผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เหล่านั้นต้องมีคุณภา<strong>พ</strong>และปลอดภัยมีการส่งเสริม<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องด้วยข้อมูลทางวิชาการที่มีหลักฐานเชื่อถือได้และมีความเหมาะสม เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ปลอดภัยและสมประโยชน์ โดยมีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้(1) ดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยอาหาร กฎหมายว่าด้วยยา กฎหมายว่าด้วยเครื่องสําอางกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย กฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท กฎหมายว่าด้วยยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษกฎหมายว่าด้วยเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ กฎหมายว่าด้วยการป้องกันการใช้สารระเหย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง(2) <strong>พ</strong>ัฒนาระบบและกลไก เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีการดําเนินการบังคับใช้กฎหมายที่<strong>อย</strong>ู่ในความรับผิดชอบ(3) เฝ้าระวัง กํากับ และตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ สถานประกอบการและการโฆษณา รวมทั้งผลอันไม่<strong>พ</strong>ึงประสงค์ของผลิตภัณฑ์ การ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบความปลอดภัยด้านสารเคมีของประเท<strong>ศ</strong> และเป็นแกนกลางร่วมดําเนินการกับองค์กรระหว่างประเท<strong>ศ</strong>ด้านสารเคมีตลอดจนมีการติดตามหรือเฝ้าระวังข้อมูลข่าวสารด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>จากภายในประเท<strong>ศ</strong> และภายนอกประเท<strong>ศ</strong>(4) <strong>ศ</strong>ึกษา วิเคราะห์ วิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และประสิทธิผล(5) ส่งเสริม และ<strong>พ</strong>ัฒนาผู้บริโภคให้มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องเหมาะสม ปลอดภัย และคุ้มค่า รวมทั้งเ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้บริโภคนั้นมีการร้องเรียนเ<strong>พ</strong>ื่อปกป้องสิทธิของตนได้(6) <strong>พ</strong>ัฒนาและส่งเสริมการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>โดยการมีส่วนร่วมของภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน ประชาชน และเครือข่ายประชาคมสุขภา<strong>พ</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 65


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>(7) <strong>พ</strong>ัฒนาความร่วมมือระหว่างประเท<strong>ศ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อให้งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เกิดประโยชน์ต่อสุขภา<strong>พ</strong>ของประชาชน และผลประโยชน์ของประเท<strong>ศ</strong>ชาติ(8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของสํานักงานหรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย2.2 <strong>พ</strong>ันธกิจยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์1) กํากับ ดูแล ส่งเสริมให้มีการนําเสนอผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน2) ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ได้<strong>อย</strong>่างปลอดภัยและสมประโยชน์ เ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>ที่ดี3) <strong>พ</strong>ัฒนาการบริหารจัดการ วิชาการ และบุคลากรเ<strong>พ</strong>ื่อความเป็นเลิ<strong>ศ</strong>ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>3. ค่านิยม“PROTECT”P ห่วงใยประชา (People Centric)R สร้าง<strong>ศ</strong>รัทธาความเชื่อมั่น (Reliability)O มุ่งมั่นเรียนรู้ (Ongoing Learning)T เชิดชูทีมงาน (Team work)E ยึดหลักการคุณธรรม จริยา (Ethic)C <strong>พ</strong>ร้อม<strong>พ</strong>ัฒนาขีดสมรรถนะ (Competency)T ไม่ลดละความโปร่งใส (Transparency)4. เป้าประสงค์ระยะสั้น :เป้าประสงค์1. ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>มีคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐานและความปลอดภัย2. ประชาชนมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องหน่วยนับผลงาน 2553 ค่าเป้าหมาย(เป้าหมาย) <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>ร้<strong>อย</strong>ละ 93.29 91 92 93 94(90)ร้<strong>อย</strong>ละ 81.80 84 86 88 89(82)ระยะยาว :1. ประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong> ปลอดภัย และสมประโยชน์มุ่งสู่สังคมสุขภา<strong>พ</strong>ดี2. ประชาชนเชื่อมั่นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>3. ประชาชนมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 66


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>5. ผลการดําเนินงานที่คาดหวังระดับผลผลิต :1. ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบมีคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด2. สถานประกอบการที่ได้รับการตรวจสอบมีคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด3. ผู้บริโภคมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง4. บุคลากรมีสมรรถนะและการปฏิบัติงานสอดคล้องกับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กร5. องค์กรมีองค์ความรู้และการบริหารจัดการที่ดี เ<strong>พ</strong>ื่อสนับสนุนการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ระดับผลลั<strong>พ</strong>ธ์ :1. ผู้บริโภคได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐาน และความปลอดภัย2. ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง3. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High PerformanceOrganization: HPO)คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 67


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ส่วนที่ 4ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ 1การ<strong>พ</strong>ัฒนาการบริหารจัดการสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูงมีความเชื่อมโยงกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน : -สนองต่อประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์และยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขที่ : -เป้าประสงค์/เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน :สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการบริหารงานให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตัวชี้วัดระดับผลลั<strong>พ</strong>ธ์ :ตัวชี้วัด หน่วยนับ ผลงาน 2553 ค่าเป้าหมาย(เป้าหมาย) <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>ความสําเร็จของการบรรลุตัวชี้วัดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ร้<strong>อย</strong>ละ62.50(95)96 97 98 100กลยุทธ์หลัก :<strong>พ</strong>ัฒนาระบบการบริหารยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กรให้สามารถขับเคลื่อนได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>สอดคล้องกับ SWOT:S 1 O 6 , W 12 O 2 , S 9 O 6 , S 10 O 6 , W 12 T 8 , S 3 O 1 , S 3 T 9 , S 7 T 9 , S 2 T 8 , S 6 O 6 , S 2 W 2กลยุทธ์ย่<strong>อย</strong> :1. ให้ผู้บริหารมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการทบทวน<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ขององค์กร รวมทั้งกําหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางขององค์กร และสื่อสาร<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>บุคลากรทุกระดับทราบ เข้าใจ และสามารถนําไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายที่องค์กรกําหนดไว้2. ทบทวนบทบาท ภารกิจ และจัดโครงสร้างการทํางานที่สําคัญขององค์กรให้มีความเหมาะสม และรองรับกับสภา<strong>พ</strong>แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป เ<strong>พ</strong>ื่อให้องค์กรมีการทํางานที่มีความยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนบทบาทและรูปแบบการทํางานได้ตามสถานการณ์3. นํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ที่จัดทําขึ้นแปลงไปสู่การปฏิบัติ โดยกําหนดแผนงาน/โครงการและงบประมาณที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์เป็นหลัก <strong>พ</strong>ร้อมทั้ง วิเคราะห์ความเสี่ยงแผนงาน/โครงการที่มีผลกระทบสูงต่อการบรรลุตามความสําเร็จตามประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์4. ผลักดันให้หน่วยงานหลักในองค์กรมีกระบวนการทํางาน ที่เป็นไปตามระบบคุณภา<strong>พ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา5. ผลักดันให้ทุกหน่วยงานในองค์กรนําระบบการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)มาใช้ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน PMQAของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดการยกระดับคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานการทํางานไปสู่ระดับมาตรฐานสากลคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 68


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>6. <strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะ ความสามารถและจริยธรรมของบุคลากรให้เป็นคนดี มีความสามารถ ทักษะทั<strong>ศ</strong>นคติที่เหมาะสมและสอดคล้องกับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กรได้รับการขับเคลื่อน และปฏิบัติตามได้เป็น<strong>อย</strong>่างดีจากบุคลากรในองค์กร (คนเก่ง+คนดี)7. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการจัดการความรู้และระบบข้อมูลสารสนเท<strong>ศ</strong> (Knowledge and InformationSystem) ที่สามารถใช้ได้ รวดเร็วและทันเวลา เ<strong>พ</strong>ื่อใช้เป็นข้อมูล ทั้งที่เป็นความรู้และข้อมูลสารสนเท<strong>ศ</strong> สําหรับการตัดสินใจที่สําคัญต่าง ๆ โดยเฉ<strong>พ</strong>าะ<strong>อย</strong>่างยิ่งการตัดสินใจเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์8. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนา เ<strong>พ</strong>ื่อให้ได้องค์ความรู้สอดคล้องกับทิ<strong>ศ</strong>ทางและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา9. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong> ทั้งการนําเทคโนโลยี เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์สมัยใหม่มาใช้ในการปฏิบัติงาน เ<strong>พ</strong>ื่อเสริมสร้างประสิทธิภา<strong>พ</strong>และความรวดเร็วในการปฏิบัติงาน10. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ครบถ้วน และถูกต้อง เ<strong>พ</strong>ื่อให้เครือข่ายทุกภาคส่วนได้เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ผลผลิตหลัก :สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> สอดคล้องกับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กรตัวชี้วัดระดับผลผลิต :ตัวชี้วัด หน่วยนับ ผลงาน 2553(เป้าหมาย)ระดับความสําเร็จของการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>บริหารจัดการภาครัฐระดับรอผล(4.75)กิจกรรมหลัก :1. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการบริหารยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>อย</strong>่างครบวงจร2. จัดโครงสร้างและกระบวนการทํางานให้เหมาะสมและมีคุณภา<strong>พ</strong>3. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหารทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคลให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>4. <strong>พ</strong>ัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัยและนวัตกรรมที่เอื้อต่อการดําเนินงาน5. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>และฐานข้อมูลให้มีความทันสมัย<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>4.80 4.85 5 5ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก :ตัวชี้วัด หน่วยนับ ผลงาน 2553(เป้าหมาย)1. ระดับความสําเร็จของการทบทวน ระดับ 5<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ขององค์กร(5)2. ระดับความสําเร็จของการทบทวนโครงสร้างภารกิจและจัดทําข้อเสนอแนะในการถ่ายโอนภารกิจ3. บุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้รับการ<strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะตามแผน<strong>พ</strong>ัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากรระดับ 5(5)ร้<strong>อย</strong>ละ 93.96(86)<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>5 5 5 55 5 5 588 90 92 94คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 69


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ตัวชี้วัด หน่วยนับ ผลงาน 2553 <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>(เป้าหมาย)4. จํานวนองค์ความรู้และนวัตกรรมองค์ความรู้ 6 14 14 14 14ที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสร้างขึ้น(14)5.ผลงานวิจัยที่มีการนํามาใช้ประโยชน์ต่อการ<strong>พ</strong>ัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>6. ผู้ใช้บริการมีความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจต่อระบบเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาร้<strong>อย</strong>ละ 88.88(80)ร้<strong>อย</strong>ละ 64.99(72)85 90 95 9573 74 75 76โครงการสําคัญ : โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูงผู้รับผิดชอบหลัก :1. กองผลิตภัณฑ์ (ยา อาหาร เครื่องสําอาง เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ วัตถุอันตราย และวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด)2. กองงานด่านอาหารและยา3. สํานักงานเลขานุการกรม4. กองแผนงานและวิชาการ5. กอง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค6. กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น7. กลุ่มกฎหมายอาหารและยา8. กลุ่มตรวจสอบภายใน9. กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร10. <strong>ศ</strong>ูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เบ็ดเสร็จ11. <strong>ศ</strong>ูนย์อํานวยการป้องกันและปราบปราบการกระทําฝ่าฝืนกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>12. <strong>ศ</strong>ูนย์เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 70


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ 2การปรับระบบและกลไกการกํากับดูแลการประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>มีความเชื่อมโยงกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน :นโยบายรัฐบาลที่ 3 นโยบายสังคมและคุณภา<strong>พ</strong>ชีวิตประเด็นนโยบายรัฐบาล ข้อ 3.3 นโยบายด้านสาธารณสุขประเด็นนโยบาย (ย่<strong>อย</strong>) ข้อ 3.3.3 ปรับปรุงระบบบริการด้านสาธารณสุข โดยลงทุน<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริการสุขภา<strong>พ</strong>ของภาครัฐในทุกระดับให้ได้มาตรฐานฯสนองต่อประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์และยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขที่ :ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>กระทรวง</strong>ที่ 1 : ระบบสุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong> เสริมสร้างให้ประชาชนไทยมีสุขภา<strong>พ</strong>และจิตสํานึกที ่ดีด้านสุขภา<strong>พ</strong> โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>กระทรวง</strong>ที่ 5 : <strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหารและระบบบริการทางการแ<strong>พ</strong>ทย์สาธารณสุข และผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ให้มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานเป้าประสงค์ :ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการมีคุณภา<strong>พ</strong>ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนดตัวชี้วัดระดับผลลั<strong>พ</strong>ธ์ :ตัวชี้วัด หน่วยนับ ผลงาน 2553 ค่าเป้าหมาย(เป้าหมาย) <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>1. ร้<strong>อย</strong>ละผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด2. ร้<strong>อย</strong>ละของสถานประกอบการที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนดร้<strong>อย</strong>ละร้<strong>อย</strong>ละ93.29(90)98.18(91)91 92 93 9492 93 94 95กลยุทธ์หลัก : <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์ (ทั้ง Pre และ Post - marketing) ให้เป็นมาตรฐานตามระบบคุณภา<strong>พ</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสอดคล้องกับ SWOT:S 10 O 2 , S 1 O 1 , S 12 O 2 , W 1 O 2 , W 12 O 2 , W 5 T 8 , W 3 O 5 , W 5 T 8 , S 1 ,T 2 , W 2 O 4คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 71


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>กลยุทธ์ย่<strong>อย</strong> :1. <strong>พ</strong>ัฒนาประสิทธิภา<strong>พ</strong>งานบริการด้านการ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> ให้มีความรวดเร็วโปร่งใสและเป็นธรรม รวมทั้ง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เบ็ดเสร็จให้มีความทันสมัย สามารถรองรับผู้มารับบริการได้<strong>อย</strong>่างทั่วถึงและมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> รวมทั้ง รักษาระยะเวลาการให้บริการให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กําหนด2. สร้างความเข้มแข็งในการกํากับดูแล ตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการ<strong>อย</strong>่างครบวงจร ทั้งการผลิต นําเข้า จําหน่ายและควบคุมการโฆษณาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดและมีการบังคับใช้กฎหมาย<strong>อย</strong>่างเคร่งครัด จริงจัง และเป็นธรรม3. ดําเนินการเชิงรุกเ<strong>พ</strong>ื่อลดปัญหา ความเสี่ยง อันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ไม่มีคุณภา<strong>พ</strong> โดยอา<strong>ศ</strong>ัยการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในทุกระดับ4. ถ่ายโอน บทบาทภารกิจให้ภาคเอกชนและภาครัฐอื่น มีส่วนร่วมในการดําเนินงาน คบส.และการตรวจสอบเฝ้าระวัง5. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการกํากับ ดูแล การนําเข้า-ส่งออกให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ด้วยการนําหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการนําเข้าและระบบความปลอดภัยด้านการนําเข้า (Import Safety)6. สร้างและ<strong>พ</strong>ัฒนาเครือข่ายทุกภาคส่วน(ส่วนภูมิภาค ภาครัฐอื่น ท้องถิ่น ชุมชน อสม. ฯลฯ)ให้เกิดความเข้มแข็ง และร่วมมื<strong>อย</strong>่างจริงจังในการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค และเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>7. ผลักดันงาน คบส.ลงสู่ระดับชุมชนและโรง<strong>พ</strong>ยาบาลส่งเสริมสุขภา<strong>พ</strong>ตําบล โดยใช้กระบวนการแผนที่ทางเดินยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์(SRM)8. <strong>พ</strong>ัฒนากฎหมาย กฎระเบียบด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้ทันต่อสถานการณ์ เ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ผู้บริโภคและผู้ประกอบการ รวมทั้ง <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการออกกฎหมายให้เป็นมาตรฐานตามหลักสากล9. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ก่อนและหลังออกสู่ท้องตลาด ให้มีมาตรฐานทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น และก้าวไปสู่ ระบบคุณภา<strong>พ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา10. <strong>พ</strong>ัฒนาเครือข่ายด้านการคุ้มครองผู้บริโภคทั้งในประเท<strong>ศ</strong>และต่างประเท<strong>ศ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อร่วมกันสนับสนุนการดําเนินงานให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> แลกเปลี่ยนและเสริมสร้างข้อมูลองค์ความรู้ระหว่างกัน<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง11. <strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของระบบและกลไกการเจรจาต่อรองและสร้างความร่วมมือระหว่างประเท<strong>ศ</strong>ให้สามารถแข่งขันในเวทีระหว่างประเท<strong>ศ</strong> ตลอดจน<strong>พ</strong>ิทักษ์ผลประโยชน์ของประเท<strong>ศ</strong>12. <strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะ ความสามารถของบุคลากรให้มีความสามารถ ทักษะ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์ (ทั้ง Pre และ Post - marketing) ให้เป็นมาตรฐานผลผลิตหลัก :ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการได้รับการกํากับดูแลและตรวจสอบให้มีมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนดคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 72


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ตัวชี้วัดระดับผลผลิต :ตัวชี้วัด หน่วยนับ ผลงาน 2553 ค่าเป้าหมาย(เป้าหมาย) <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>1. คํ าขออนุ ญาตผลิ ตภั ณฑ์ สุ ขภา<strong>พ</strong>ได้ รั บการ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตแล้วเสร็จภายในเวลาที่กําหนด ร้<strong>อย</strong>ละ2. คําขออนุญาตสถานประกอบการ ได้รับการ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตแล้วเสร็จภายในเวลาที่กําหนด ร้<strong>อย</strong>ละ3. ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด ร้<strong>อย</strong>ละ4. สถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์ สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด ร้<strong>อย</strong>ละ99.08(90)97.34(91)93.29(90)98.18(91)91 95 97 9792 93 94 9591 92 93 9492 93 94 95กิจกรรมหลัก :1. <strong>พ</strong>ิจารณากลั่นกรองผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ก่อนออกสู่ตลาด2. <strong>พ</strong>ิจารณาตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานของสถานประกอบการก่อนอนุญาตให้มีการประกอบการ3. ตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ให้เป็นไปตามกฎหมาย4. ตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานความปลอดภัยของสถานประกอบการให้เป็นไปตามกฎหมาย5. <strong>พ</strong>ัฒนาสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> ให้มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน6. <strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก :ตัวชี้วัด หน่วยนับ ผลงาน 2553 ค่าเป้าหมาย1. จํานวนการ<strong>พ</strong>ิจารณากลั่นกรอง ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ก่อนออกสู่ตลาด2. จํานวนการ<strong>พ</strong>ิจารณาตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานของสถานประกอบการก่อนอนุญาตให้มีการประกอบการรายการราย3. จํานวนผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบ รายการ4. จํานวนสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบราย(เป้าหมาย) <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>309,883194,296 185,000 190,000 195,000(160,000)19,752(14,000)393,009(360,000)6,109(5,520)16,482 17,500 18,000 18,500583,290 500,000 510,000 520,0005,710 5,620 5,700 5,8005. จํานวนสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ได้รับการ<strong>พ</strong>ัฒนาราย431(338)340 400 450 5006. จํานวนผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนและสถานที่ผลิตผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนได้รับการตรวจสอบรายการ/ราย2,065/2,363(2,600/2,600)2,600/2,6003,000/3,0003,000/3,0003,000/3,000คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 73


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>โครงการสําคัญ :1. โครงการความปลอดภัยด้านอาหาร2. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบคุณภา<strong>พ</strong>ยา3. โครงการความปลอดภัยด้านเครื่องสําอาง4. การกํากับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการ5. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน6. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>7. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาความปลอดภัยด้านสารเคมี : การบูรณาการด้าน GHS8. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาและจัดตั้งด่านอาหารและยา9. โครงการ<strong>ศ</strong>ึกษาและดําเนินการรองรับคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ภายใต้<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551ผู้รับผิดชอบหลัก :1. กองผลิตภัณฑ์ (ยา อาหาร เครื่องสําอาง เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ วัตถุอันตราย และวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด)2. กองงานด่านอาหารและยา3. สํานักงานเลขานุการกรม4. กองแผนงานและวิชาการ5. กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น6. กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร7. กลุ่มกฎหมายอาหารและยา8. กลุ่มตรวจสอบภายใน9. <strong>ศ</strong>ูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เบ็ดเสร็จ10. <strong>ศ</strong>ูนย์เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>11. <strong>ศ</strong>ูนย์อํานวยการป้องกันและปราบปรามการกระทําฝ่าฝืนกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 74


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ 3การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ประชาชนในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>มีความเชื่อมโยงกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน :นโยบายรัฐบาลที่ 3 นโยบายสังคมและคุณภา<strong>พ</strong>ชีวิตประเด็นนโยบายรัฐบาล ข้อ 3.3 นโยบายด้านสาธารณสุขประเด็นนโยบาย (ย่<strong>อย</strong>) ข้อ 3.3.1 สนับสนุนการดําเนินการตามแนวทางของกฎหมายสุขภา<strong>พ</strong>แห่งชาติ โดยเร่งดําเนินมาตรการเสริมสร้าง และลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภา<strong>พ</strong>และการเจ็บป่วยเรื้อรังสนองต่อประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์และยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขที่ :ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>กระทรวง</strong>ที่ 1 : ระบบสุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong> เสริมสร้างให้ประชาชนไทยมีสุขภา<strong>พ</strong>และจิตสํานึกที่ดีด้านสุขภา<strong>พ</strong> โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>กระทรวง</strong>ที่ 1 : เสริมสร้างปัจจัย<strong>พ</strong>ื้นฐานของการมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมสุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง <strong>อย</strong>ู่ในสภา<strong>พ</strong>แวดล้อมที่เหมาะสม และ<strong>พ</strong>ัฒนาประสิทธิภา<strong>พ</strong>เครือข่ายระบบเฝ้าระวัง การป้องกันการควบคุมโรคและภัยสุขภา<strong>พ</strong>เป้าประสงค์ :ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องตัวชี้วัดระดับผลลั<strong>พ</strong>ธ์ :ตัวชี้วัด หน่วยนับผลงาน 2553 ค่าเป้าหมาย(เป้าหมาย) <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องร้<strong>อย</strong>ละ 81.80(82)84 86 88 90กลยุทธ์หลัก : <strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค รวมทั้งเครือข่ายให้มีความเข้มแข็ง สามารถปกป้องและคุ้มครองตนเองได้สอดคล้องกับ SWOT: W 1 O 3 , S 2 O 4 , W 1 T 3 , W 1 T 4 , W 1 T 5 , S 2 T 8 , W 10 O 2กลยุทธ์ย่<strong>อย</strong> :1. เผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้และประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์เชิงรุกเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็วให้กับผู้บริโภค เ<strong>พ</strong>ื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง2. รณรงค์สร้างกระแสสังคมให้ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง และสมประโยชน์เ<strong>พ</strong>ื่อประชาชนมีสุขภา<strong>พ</strong>ที่ดี3. <strong>พ</strong>ัฒนาให้มีช่องทางการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้ผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น โทรทั<strong>ศ</strong>น์ วิทยุ หนังสือ<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์ websiteเป็นต้น ให้สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ได้สะดวก รวดเร็ว และง่ายต่อการจดจําคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 75


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>4. ติดตามข้อมูลข่าวสาร<strong>อย</strong>่างใกล้ชิด <strong>พ</strong>ร้อมทั้ง ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ข้อมูลดังกล่าวให้ประชาชนได้ทราบข้อมูลข่าวสารได้<strong>อย</strong>่างทันท่วงที เ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการติดอาวุธทางปัญญาให้กับผู้บริโภค ก่อนหลงเชื่อ หลงซื้อผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ไม่มีคุณภา<strong>พ</strong>5. จัดสร้างและ<strong>พ</strong>ัฒนาช่องทางให้ผู้บริโภคเข้าถึงองค์ความรู้เกี่ยวกับการการบริโภค ที่เข้าถึงง่ายสะดวก รวดเร็ว และค่าใช้จ่ายน้<strong>อย</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>ที่ดี6. สร้างและ<strong>พ</strong>ัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนให้มีความเข้มแข็ง และมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง และป้องกันกระแสการบริโภคที่ไม่ถูกต้องและไม่เอื้อต่อสุขภา<strong>พ</strong>7. <strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะ ความสามารถของบุคลากรให้มีความสามารถ ทักษะ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภคเชิงรุกและการสร้างเครือข่ายให้มีความเข้มแข็งผลผลิตหลัก :ผู้บริโภคได้รับความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องตัวชี้วัดระดับผลผลิต :ตัวชี้วัด หน่วยนับ1. จํานวนเรื่องที่มีการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้และประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์สู่ผู้บริโภค2. จํานวนโครงการที่รณรงค์ให้ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง3. ผู้บริโภคมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง4. ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องผลงาน 2553 ค่าเป้าหมาย(เป้าหมาย) <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>เรื่อง/ครั้ง 459/789 326/ 360/ 360/ 360/(280/310) 470 900 900 900โครงการ 4(4)ร้<strong>อย</strong>ละ 92.50(84)ร้<strong>อย</strong>ละ 81.80(82)กิจกรรมหลัก :1. การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>2. การรณรงค์ให้ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก :ตัวชี้วัด หน่วยนับ1. จํานวนเรื่องที่มีการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้และประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์สู่ผู้บริโภค2. จํานวนโครงการที่รณรงค์ให้ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องโครงการสําคัญ : โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภคผู้รับผิดชอบหลัก : กอง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค4 4 4 488 89 90 9084 86 88 90ผลงาน 2553 ค่าเป้าหมาย(เป้าหมาย) <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>เรื่อง/ครั้ง 459/789 326/ 360/ 360/ 360/(280/310) 470 900 900 900โครงการ 4(4)4 4 4 4คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 76


ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ 4การควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>เป้าประสงค์ :ตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่ใช้ในทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ วิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์ และอุตสาหกรรมไม่รั่วไหลออกนอกระบบการควบคุมและนําไปใช้ในทางที่ผิดตัวชี้วัดระดับผลลั<strong>พ</strong>ธ์ :ตัวชี้วัด หน่วยนับผลงาน 2553 ค่าเป้าหมาย(เป้าหมาย) <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>ร้<strong>อย</strong>ละของผู้รับอนุญาตวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด ร้<strong>อย</strong>ละ 100 96 97 98 98ดําเนินการถูกต้องตามกฎหมาย(95)กลยุทธ์หลัก :เสริมสร้างระบบการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันในการกระจายตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดให้เป็นไป<strong>อย</strong>่างถูกต้องตามกฎหมายสอดคล้องกับ SWOT: S 3 T 11 , S 1 T 11กลยุทธ์ย่<strong>อย</strong> :1. กํากับดูแลผู้รับอนุญาตวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด ให้ปฏิบัติตามกฎหมายการควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด<strong>อย</strong>่างเคร่งครัด มิให้มีการฝ่าฝืนและนําไปใช้ในทางที่ผิด2. <strong>พ</strong>ัฒนาให้มีมาตรฐานการปฏิบัติงานการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์ก่อนและหลังออกสู่ตลาดรวมถึงการตรวจรับ เก็บรักษาและทําลายของกลางให้เป็นไปตามระบบคุณภา<strong>พ</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา3. <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการจัดการข้อมูลที่เกี่ยวกับวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด4. ประมวลสภา<strong>พ</strong>ปัญหาของกฎหมายและกฎระเบียบเกี่ยวกับการควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่ใช้บังคับเ<strong>พ</strong>ื่อนําไปสู่การปรับปรุงแก้ไข ให้ทันต่อสถานการณ์5. ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายในการเฝ้าระวังวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด6. <strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะ ความสามารถของบุคลากรให้มีความสามารถ ทักษะ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการดําเนินงานควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดผลผลิตหลัก :วัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่ใช้ในทางการแ<strong>พ</strong>ทย์วิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์และอุตสาหกรรมมีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน ปลอดภัยและมีการใช้<strong>อย</strong>่างถูกต้องตามกฎหมายคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 77


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ตัวชี้วัดระดับผลผลิต :ตัวชี้วัด หน่วยนับผลงาน 2553 ค่าเป้าหมาย(เป้าหมาย) <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>ร้<strong>อย</strong>ละรายงานวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่ไม่ตรงกับ ร้<strong>อย</strong>ละ 100 100 100 100 100ข้อเท็จจริง ได้รับการตรวจสอบแก้ไขหรือถูก(100)ดําเนินการตามกฎหมายกิจกรรมหลัก : ควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก :ตัวชี้วัดหน่วย ผลงาน 2553 ค่าเป้าหมายนับ (เป้าหมาย) <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>จํานวนการควบคุมตัวยาและสารตั้งต้น รายการ 20,668(14,200)14,561 15,027 15,027 15,027โครงการสําคัญ : โครงการควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดผู้รับผิดชอบหลัก : กองควบคุมวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 78


ส่วนที่ 5การนํายุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์สู่การปฏิบัติ<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>หลังจากที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้กําหนดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การดําเนินงาน ประจํา<strong>ปี</strong><strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong> เรียบร้<strong>อย</strong>แล้ว ขั้นตอนที่สําคัญ<strong>อย</strong>่างยิ่งในการที่จะทําให้ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ดังกล่าวบรรลุผลสําเร็จตามที่ได้กําหนดไว้ก็คือการนํายุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ไปปฏิบัติ (Strategic Implementation) เ<strong>พ</strong>ื่อให้<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>มีการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ หน่วยงานรวมถึงบุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จักได้นําไปวางแผนเสนอของบประมาณให้มีความสอดคล้องกัน โดยมีวิธีการนําไปสู่การปฏิบัติ ดังนี้1. จัดทําแผนที่ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ (Strategy Map) เ<strong>พ</strong>ื่อใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารถ่ายทอดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์องค์กรให้กับบุคลากรทุกระดับตั้งแต่ผู้บริหารถึงผู้ปฏิบัติ เ<strong>พ</strong>ื่อให้บุคลากรได้เห็นภา<strong>พ</strong>ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์องค์กรในแบบที่เข้าใจง่าย รับทราบสิ่งที่องค์กรต้องการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>อย</strong>่างเป็นเหตุเป็นผล และสามารถระบุได้ว่า ตนเองเข้าไปเกี่ยวข้องกับเป้าประสงค์ใดบ้างใน<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ที่สําคัญคือ เ<strong>พ</strong>ื่อให้บุคลากรเกิดการยอมรับและมีส่วนร่วมในการผลักดันยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ให้ประสบความสําเร็จ2. จัดทําตาราง Balanced Scorecard โดยนําเป้าประสงค์หลักที่ระบุไว้ในแผนที่ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์(Strategy Map) มากําหนดตัวชี้วัดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ เป้าหมาย กลยุทธ์ โครงการและผู้รับผิดชอบ ให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกัน สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ว่า เป้าประสงค์ที่กําหนดไว้มีแผนงาน/โครงการ และผู้รับผิดชอบ รองรับ<strong>อย</strong>่างครบถ้วน3. จัดทําแผนปฏิบัติการ (Action Plan) หรือแผนงาน/โครงการที่สําคัญ ที่สอดรับกับกลยุทธ์หลัก<strong>พ</strong>ร้อมรายละเอียดโครงการที่แสดงให้เห็นถึงรายละเอียดของแผนการดําเนินการ งบประมาณที่ใช้ในการดําเนินงานและผู ้รับผิดชอบ4. สื่อสารแผนที่ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์และแผนปฏิบัติการ นับเป็นขั้นตอนสําคัญที่จะเข้ามาช่วยในการแปลงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์สู่การปฏิบัติ เ<strong>พ</strong>ื่อให้บุคลการภายในและภายนอกรับรู้และเข้าใจ สามารถใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้สัมฤทธิ์ผล5. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ ที่สามารถนําไปใช้ในการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมายระหว่างแผนงาน/โครงการได้สําหรับการนํายุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ไปปฏิบัติให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>นั้น ผู้รับผิดชอบในแต่ละเป้าประสงค์ต้องคํานึงถึงและให้สําคัญในการทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ให้มีชีวิต นํากลยุทธ์ไปวางแผนและเสนอของบประมาณเ<strong>พ</strong>ื่อนํามาใช้ในการดําเนินงานให้สอดคล้องกัน แผนที่กําหนดไว้จึงจะสามารถขับเคลื่อนได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในที่สุดคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 79


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>กรอบยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจํา<strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong> - <strong>2557</strong>ภา<strong>พ</strong>ที่ 3 กรอบยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจําปงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong> - <strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 80


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>แผนที่ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจํา<strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong> - <strong>2557</strong>ภา<strong>พ</strong>ที่ 4 แผนที่ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจําปงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong> - <strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 81


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 82


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 83


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 84


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 85


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 86


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 87


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 88


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 89


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 90


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 91


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 92


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 93


ส่วนที่ 6การติดตามประเมินผล<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong><strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. ความสําคัญในการดําเนินงานของหน่วยงานทุกๆหน่วยงาน ผู้บริหารและผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบย่อมต้องการทราบว่าภารกิจที่ได้รับมอบหมายและดําเนินการ<strong>อย</strong>ู่ มีความเป็นไปได้เ<strong>พ</strong>ียงใดจะบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ ระหว่างการดําเนินงาน<strong>พ</strong>บปัญหาอุปสรรคอะไรบ้าง จะสามารถตอบสนองต่<strong>อย</strong>ุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ของหน่วยงานได้เ<strong>พ</strong>ียงใด ควรจะต้องปรับปรุงการดําเนินงานโครงการต่อไป<strong>อย</strong>่างไรดังนั้นจึงมีความจําเป็น<strong>อย</strong>่างยิ่งที่ ส่วนราชการต้องมีระบบติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กรการติดตามประเมินผลมักใช้ควบคู่กัน แต่ความหมายของ “การติดตาม” และ“การประเมินผล”นั้นมีทั้งความคล้ายคลึงและความแตกต่างกัน เ<strong>พ</strong>ื่อให้เข้าใจตรงกันจึงกําหนดความหมายของคําทั้งสองดังนี้การติดตาม (Monitoring) หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนดไว้เ<strong>พ</strong>ื่อตัดสินใจแก้ไขปรับปรุงวิธีการปฏิบัติให้ผลงานเป็นไปตามแผน<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>มากที่สุด โดยมุ่งที่จะตอบคําถามหลักว่า ในการดําเนินงานนั้นได้รับทรั<strong>พ</strong>ยากรครบถ้วนหรือไม่ ได้ปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนดหรือไม่ ได้ผลตรงตามที่กําหนดหรือไม่ ข้อมูลจากการติดตามจะเป็นประโยชน์<strong>อย</strong>่างยิ่งต่อการเร่งรัดให้งาน/โครงการดําเนินไปตรงตามเป้าหมายของแผนและแล้วเสร็จภายในกําหนดเวลาการติดตามผลเป็นมาตรการที่จะกํากับและสนับสนุนให้การปฏิบัติงานหรืองาน/โครงการมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> บรรลุวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ และทันตามกําหนดเวลา โดยต้องติดตามทั้งปัจจัย กิจกรรมและผลการดําเนินงานการติดตามด้านปัจจัย เป็นการตรวจสอบว่างาน/โครงการนั้นได้รับปัจจัยหรือทรั<strong>พ</strong>ยากรทั้งในด้านปริมาณและคุณภา<strong>พ</strong>ภายในเวลาที่กําหนดหรือไม่การติดตามกิจกรรมเป็นการตรวจสอบว่าได้ปฏิบัติงานตามแผนหรือตามปฏิทินการปฏิบัติงานที่กําหนดไว้หรือไม่และการติดตามผลการดําเนินงาน เป็นการตรวจสอบว่าได้ผลงานตรงตามแผนหรือไม่ ข้อมูลที่ได้จากการติดตามผลจะนํามาใช้ในการปรับปรุงและ<strong>พ</strong>ัฒนางานให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ต่อไปดังภา<strong>พ</strong>ต่อไปนี้รูปแบบของการติดตามผลด้านปัจจัยการปฏิบัติงานตามการติดตามผล ผลการดําเนินงานแผนงาน/โครงการ ด้านกิจกรรมปัญหา/อุปสรรคด้านผลการดําเนินงานปรับปรุงและ<strong>พ</strong>ัฒนาภา<strong>พ</strong>ที่ 5 รูปแบบของการติดตามผลงานคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 94


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>จุดมุ่งหมายของการติดตาม การติดตามก็เ<strong>พ</strong>ื่อให้การใช้ทรั<strong>พ</strong>ยากรและเวลา<strong>อย</strong>่างประหยัดหรือมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> (Efficiency) และเอื้อต่อความสําเร็จหรือบรรลุจุดประสงค์ของโครงการด้วยการติดตาม กํากับควบคุม หรือทบทวนแผนดําเนินการ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคต่างๆ เ<strong>พ</strong>ื่อเป็นข้อมูลให้แก่ผู้เกี ่ยวข้องนํามาปรับปรุงโครงการให้ทันท่วงที กล่าวโดยสรุปจุดมุ่งหมายในการติดตามจะมีดังนี้1) เ<strong>พ</strong>ื่อให้การดําเนินโครงการเป็นไปตามแผนที่กําหนดไว้ ทั้งในด้านปัจจัยนําเข้า กิจกรรมและขั้นตอนต่างๆ2) เ<strong>พ</strong>ื่อให้ใช้ทรั<strong>พ</strong>ยากรได้เต็มที่ คุ้มค่า เกิดการประหยัดทรั<strong>พ</strong>ยากรต่างๆ3) เ<strong>พ</strong>ื่อให้ทราบถึงปัญหาหรือข้อขัดข้องต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการดําเนินงาน4) เ<strong>พ</strong>ื่อให้ได้แนวทางแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงปัจจัยนําเข้า กิจกรรม และขั้นตอนต่างๆของโครงการ5) เ<strong>พ</strong>ื่อส่งเสริมสนับสนุนให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ตั้งไว้ดังนั้นการติดตามผลจึงต้องดําเนินการ<strong>อย</strong>่างสม่ําเสมอในหน่วยงานเ<strong>พ</strong>ื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับให้ตนเองโดยผู้บังคับบัญชาขั้นต้น ผู้บังคับบัญชาระดับสูงตลอดจนผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการทุกระดับเ<strong>พ</strong>ื่อให้คําแนะนําช่วยเหลือแก้ไขอํานวยความสะดวกทั้งนี้เ<strong>พ</strong>ื่อให้การดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการบรรลุเป้าหมายที่กําหนดไว้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตรวจสอบความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการตลอดจนการ<strong>พ</strong>ิจารณาผลสัมฤทธิ์ของแผนหรืองาน/โครงการนั้นๆ ว่ามีมากน้<strong>อย</strong>เ<strong>พ</strong>ียงใดเมื่อเปรียบเทียบเกณฑ์ที่กําหนดขึ้น จึงเป็นกระบวนการบ่งชี้ถึงคุณค่าของงาน/โครงการว่าได้ผลตามวัตถุประสงค์ของแผนหรือของงาน/โครงการนั้นหรือไม่เ<strong>พ</strong>ียงใดแนวคิดและวิธีการทางการวัดและประเมินผลการ<strong>ศ</strong>ึกษา ที่ได้รับการยอมรับ<strong>อย</strong>่างกว้างขวาง คือCIPP Model ของ Stufflebeam สรุปการประเมินเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้1) กําหนด หรือระบุและบ่งชี้ข้อมูล2) จัดเก็บรวบรวมข้อมูล3) วิเคราะห์และจัดสารสนเท<strong>ศ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อนําเสนอฝ่ายบริหารโดยได้แบ่งการประเมินออกเป็น 4 ด้าน คือ CIPP Model1) การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้อม(Context Evaluation: C)2) การประเมินตัวป้อนเข้า(Input Evaluation: I)3) การประเมินกระบวนการ(Process Evaluation: P)4) การประเมินผลผลิตที่เกิดขึ้น(Product Evaluation: P)คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 95


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>ประเภทการประเมินประเภทการตัดสินใจการประเมินบริบทหรือสภาวะแวดลอม(Context Evaluation: C)การตัดสินใจเ<strong>พ</strong>ื่อการวางแผน(Planning Decisions)การประเมินตัวปอนเขา(Input Evaluation: I)การตัดสินใจเ<strong>พ</strong>ื่อกําหนดโครงสราง(Structuring Decisions)การประเมินกระบวนการ(Process Evaluation: P)การตัดสินใจเ<strong>พ</strong>ื่อนําโครงการไปปฏิบัติ(Implementing Decisions)การประเมินผลผลิตที่เกิดขึ้น(Product Evaluation: P)การตัดสินใจเ<strong>พ</strong>ื่อทบทวนโครงการ(Recycling Decisions)ภา<strong>พ</strong>ที่ 6 CIPP Model ของ Stufflebeamจากหลักการดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การติดตามเป็นกระบวนการที่ดําเนินการ<strong>อย</strong>่างต่อเนื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตลอดงาน/โครงการ ส่วนการประเมินผลอาจจะประเมินได้ในทุกช่วงของแผนหรืองาน/โครงการนับตั้งแต่ก่อนตัดสินใจจัดทําแผนหรืองาน/โครงการ ขณะดําเนินงานในจุดต่าง ๆ และเมื่อสิ้นสุดแผน สิ้น<strong>ปี</strong>งบประมาณ หรืองาน/โครงการดําเนินการแล้วเสร็จ ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้นําหลักการดังกล่าวมาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางการติดตาม ประเมินผลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา2. แนวทางการดําเนินงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้จัดทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> สาระสําคัญประกอบด้วย ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก กลยุทธ์หลัก และนํามา<strong>พ</strong>ัฒนาเป็นแผนที่ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ (Strategy Map)เ<strong>พ</strong>ื่อใช้เป็นกรอบในการแปลงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์สู่แผนปฏิบัติราชการประจํา<strong>ปี</strong> ทั้งนี้การแปลงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์สู่การปฏิบัติของหน่วยงานให้บรรลุเป้าหมายจึงมีความสําคัญที่จะต้องกําหนดระบบการติดตามประเมินผลการดําเนินงานเ<strong>พ</strong>ื่อตรวจสอบกระบวนการแปลงแผนสู่การปฏิบัติ การบรรลุเป้าหมายของผลงาน รวมทั้งปัจจัยที่ส่งผลต่อความสําเร็จและปัญหาอุปสรรค เ<strong>พ</strong>ื่อจัดทําข้อมูลสารสนเท<strong>ศ</strong>ด้านการประเมินผลนําเสนอต่อผู้บริหารระดับกรม รวมทั้งระดับ<strong>กระทรวง</strong>และระดับชาติ เ<strong>พ</strong>ื่อใช้ประโยชน์ในกระบวนการบริหารยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ การบริหารจัดการงบประมาณ และการตัดสินใจเชิงนโยบายคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 96


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>2.1 กรอบแนวคิดในการติดตามประเมินผลการติดตามประเมินผลภายใต้<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ของหน่วยงาน ยึดหลักการกระจายอํานาจความรับผิดชอบในระดับโครงการให้แก่หน่วยงานนําส่งผลผลิตเ<strong>พ</strong>ื่อผลิตผลงานให้สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายการดําเนินงานภา<strong>พ</strong>รวมในระดับกรม โดยสนับสนุนให้ผู้บริหารของทุกหน่วยงานในระดับกองมีอํานาจและบทบาทในการบริหารกลยุทธ์และติดตามประเมินผลและรับผิดชอบติดตามการดําเนินงานตามกลยุทธ์ที่รับผิดชอบโดยกองแผนงานและวิชาการเป็นหน่วยงานวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปในภา<strong>พ</strong>รวมของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเสนอผู้บริหาร และนําเสนอรายงานต่อ<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขเ<strong>พ</strong>ื่อประมวลผลการประเมินในระดับ<strong>กระทรวง</strong>เสนอต่อหน่วยงานติดตามประเมินผลในระดับประเท<strong>ศ</strong>ต่อไป2.2 ขอบเขตของการติดตามประเมินผลกําหนดขอบเขตของการติดตามประเมินผลแบ่งเป็น 3 มิติ ได้แก่1) มิติด้านเวลา กําหนดให้มีการติดตามประเมินผลเป็น 2 ช่วงระยะเวลา คือมิติ เนื้อหา ระยะเวลา การใช้ประโยชน์1. การติดตามผลระหว่างการดําเนินงาน ( On –going evaluation) หรือเรียกว่าการประเมินผลเ<strong>พ</strong>ื่อปรับรูปแบบ (Formativeevaluation)1. แผนปฏิบัติการงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ประจํา<strong>ปี</strong>งบประมาณรายเดือนประเมินความก้าวหน้าของการดําเนินงานและปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในกระบวนการดําเนินงานนําเสนอผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการทํางานของโครงการ2.แผนปฏิบัติราชการประจํา<strong>ปี</strong>(โครงการสําคัญตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ )รายไตรมาส2. การประเมินผลภายหลังจากการดําเนินงานเสร็จสิ้นแล้ว (Ex-postevaluation) หรือเรียกว่าการประเมินผลสรุปรวม(Summativeevaluation)ประเมินผลสําเร็จตามตัวชี้วัดและเป้าหมายของการดําเนินงานตาม<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> ได้แก่1. แผนปฏิบัติการประจํา<strong>ปี</strong>2.แผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong> /ประจํา<strong>ปี</strong> (โครงการตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์)ราย<strong>ปี</strong>ค้นหาคําตอบหรือข้อสรุปของการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตัวชี้วัดที่กําหนดไว้ใน<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ให้ได้ข้อมูลป้อนกลับเข้าสู่กระบวนการบริหารยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์เ<strong>พ</strong>ื่อใช้ประโยชน์สําหรับการวางแผนในระยะต่อไป2. แผน<strong>พ</strong>ัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> ในช่วงแผน<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมแห่งชาติสิ้นสุดแผนคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 97


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>2) มิติด้านเนื้อหาสาระ โดยใช้องค์ประกอบของการบริหารโครงการกําหนดขอบเขตการประเมินผลประกอบด้วยระดับความสําเร็จ เนื้อหา ความเชื่อมโยง1. ระดับผลผลิต ประเมินผลสําเร็จของ เป้าหมายการดําเนินงานตามตัวชี้วัดในระดับโครงการ ภายใต้<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> ได้แก่1. แผนปฏิบัติราชการประจํา<strong>ปี</strong>- โครงการวิจัย <strong>พ</strong>ัฒนา อบรม / สัมมนา- โครงการยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์2. ระดับผลลั<strong>พ</strong>ธ์ ประเมินผลสําเร็จของเป้าหมายการดําเนินงานตามตัวชี้วัดในระดับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ภายใต้<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ได้แก่1. แผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong> แผนปฏิบัติราชการประจํา<strong>ปี</strong> (โครงการตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์)2. แผน<strong>พ</strong>ัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> ในช่วงแผน<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมแห่งชาติ3. ระดับผลกระทบ ประเมินผลสําเร็จของเป้าประสงค์ระยะสั้น/ระยะยาวภายใต้<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ความสําเร็จที่เกิดจากโครงการย่<strong>อย</strong> /กิจกรรมสําคัญ ภายใต้การบูรณาการของผลผลิต โดยหน่วยงานระดับกองบูรณาการผลสําเร็จของการดําเนินงานในภา<strong>พ</strong>รวมจากกลุ่มต่าง ๆ ที่รับผิดชอบทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคความสําเร็จที่เกิดจากการดําเนินงานตามกลยุทธ์ ภายใต้การบูรณาการของโครงการยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์โดยหน่วยงานระดับกองที่เป็นเจ้าภา<strong>พ</strong>หลักบูรณาการผลสําเร็จของการดําเนินงานในภา<strong>พ</strong>รวมจากกองต่าง ๆ ที่รับผิดชอบร่วมกันความสําเร็จที่เกิดจากการดําเนินงานตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ภายใต้การบูรณาการของตัวชี้วัดความสําเร็จในระดับโครงการยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์3) มิติด้านวิธีการ ใช้วิธีการประเมินผลเชิง<strong>พ</strong>รรณนา (Description) ในลักษณะของการรวบรวมสรุปและวิเคราะห์ผลในภา<strong>พ</strong>รวม โดยกําหนดวิธีการดําเนินงานดังนี้(1) แต่งตั้งคณะทํางานติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน(2) สํารวจความคาดหวังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับระบบการกํากับติดตามและประเมินผลการสื่อสารผลวิเคราะห์(3) จัดทํา แผนกํากับติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ซึ่งประกอบด้วย แผนทบทวนระบบการกํากับติดตามและประเมินผล แนวทางในการเลือกข้อมูลมาวิเคราะห์ และแผนการสื่อสารผลการประเมิน(4) จัดทํากรอบแนวทางการติดตามประเมินผลโครงการยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ของ <strong>อย</strong>. ประจํา<strong>ปี</strong>(5) ติดตามความก้าวหน้าของผลการดําเนินงานและปัญหาอุปสรรคตามแผนติดตามและประเมินผลโดยทุกหน่วยงานส่งข้อมูลผลการดําเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการและแบบรายงานที่กําหนดเข้าสู่ระบบการรายงาน (ระบบสํานักงานอัตโนมัติ) เสนอที่ประชุมสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทุกเดือน เ<strong>พ</strong>ื่อกําหนดมาตรการ การแก้ไขปัญหา(6) วิเคราะห์และจัดทํารายงานการประเมินผลการดําเนินงานเสนอผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามระยะเวลาที่กําหนด(7) ทบทวนระบบติดตามประเมินผลทุกครึ่ง<strong>ปี</strong>โดยสํารวจความต้องการผ่านคณะทํางานกํากับติดตามและประเมินผลเ<strong>พ</strong>ื่อให้ระบบดังกล่าวเหมาะสมและทันสมัย<strong>พ</strong>ร้อมทั้งสามารถบ่งชี้ได้ไวทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 98


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>3. ระบบฐานข้อมูลเ<strong>พ</strong>ื่อการติดตามประเมินผลการติดตามประเมินผลจําเป็นต้องดําเนินการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบฐานข้อมูล เ<strong>พ</strong>ื่อรวบรวมข้อมูลสารสนเท<strong>ศ</strong>ใช้ในการติดตามประเมินผลโดยดําเนินการจัดทําระบบรายงาน /สร้างระบบข้อมูลสารสนเท<strong>ศ</strong> / จัดเก็บ/รวบรวมข้อมูล และการประสานเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งฐานข้อมูลสําคัญที่ใช้สําหรับการติดตามประเมินผลภายใต้<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ดังนี้ฐานข้อมูล เนื้อหา รูปแบบรายงาน ระยะเวลาระบบรายงานส่วนกลาง1. ระบบสํานักงาน 1. ผลงานตามแผนปฎิบัติการประจํา<strong>ปี</strong> ได้แก่อัตโนมัติ - ผลงานเชิงปริมาณ<strong>พ</strong><strong>อย</strong>. 01 รายเดือน(Pre และ Post - marketing)2. ระบบการรับเรื่อง สรุปผลการดําเนินการรับเรื่องร้องเรียน ระบบรับเรื่องร้องเรียน รายไตรมาสร้องเรียน3. โครงการ ผลการดําเนินงานโครงการสําคัญตาม แบบรายงาน รายไตรมาสยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ระบบรายงานส่วนภูมิภาค1. งานที่ได้รับ 1. ผลการดําเนินงานที่ได้รับมอบอํานาจ (Pre แบบรายงาน คบส. รายไตรมาสมอบหมายและภารกิจที่ได้รับการสนับสนุนและ Post - marketing) (ภูมิภาค)2. ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด (ภูมิภาค)1-4แบบรายงาน คบส. /ระบบ e- inspectionรายไตรมาส3. ผลการดําเนินงานที่ได้รับมอบอํานาจ การสํารวจ ราย<strong>ปี</strong>(เท<strong>ศ</strong>บาล <strong>พ</strong>ัทยา)4. ผลการดําเนินงานที่ได้รับมอบอํานาจด้าน แบบรายงาน รายไตรมาสอาหาร (กทม.)5. ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดของสํานักตรวจ แบบรายงาน ทุก 6 เดือนและประเมินผล2. งานเฉ<strong>พ</strong>าะกิจที่ได้รับการสนับสนุนผลการดําเนินงานโครงการที่ได้รับการสนับสนุน แบบรายงาน สิ้นสุดโครงการภายใน 1 เดือนฐานข้อมูล<strong>ศ</strong>ูนย์ปฏิบัติการระดับกรม1. ฐานข้อมูล<strong>ศ</strong>ูนย์ปฏิบัติการระดับกรมของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (DOC)1. ตัวชี้วัดสําคัญสําหรับผู้บริหาร : EIS(Executive Information System)2. ข้อมูล<strong>พ</strong>ื้นฐานสถานประกอบการ/ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>3. ข้อมูลผลการปฏิบัติงาน4. ข้อมูลประสิทธิภา<strong>พ</strong>การให้บริการของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา(การ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตผลิตภัณฑ์)5. ข้อมูลสถานการณ์คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>6. ข้อมูลงบประมาณ7. ข้อมูลบุคลากร- เชื่อมโยงฐานข้อมูลภายในหน่วยงาน- รายงานรูปแบบExcel- เชื่อมโยงฐานข้อมูลภายในหน่วยงาน- รายงานรูปแบบExcelกําหนดตามรายละเอียดตัวชี้วัดกํ าหนดตามรายละเอียดตัวชี้วัดคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 99


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>4. แนวทางการติดตามประเมินผล4.1) จัดทําคู่มือ /กรอบแนวทางการติดตามประเมินผล ประจํา<strong>ปี</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกํากับติดตามประเมินผลให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนดโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของหน่วยงานในระดับกองในการกําหนดกรอบแนวทางและวิเคราะห์ความเชื่อมโยงตามกระบวนการนําส่งผลผลิตทุกระดับร่วมกับกองแผนงานและวิชาการ4.2) การวิเคราะห์และประเมินผล ผ่านระบบการรายงานผลการดําเนินงานโดยกําหนดให้มีการวิเคราะห์และประเมินผลการดําเนินงาน 2 ระดับ ได้แก่(1) ระดับกอง : ทุกกองทําการวิเคราะห์และประเมินผลการดําเนินงานในส่วนรับผิดชอบตามแผนปฏิบัติการและโครงการสําคัญตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่รับผิดชอบเป็นระยะและรายงานผลให้กองแผนงานและวิชาการตามแบบรายงานและระยะเวลาที่กําหนด(2) ระดับกรม: กองแผนงานและวิชาการทําการวิเคราะห์และประเมินผลการดําเนินงานในภา<strong>พ</strong>รวมระดับกรมตามแผนปฏิบัติราชการประจํา<strong>ปี</strong> แผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong>และโครงการสําคัญตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ของ <strong>อย</strong>.และรายงานผลเข้าที่ประชุมกรมทุกเดือน รายไตรมาสและจัดทํารายงานประเมินผลในระยะสิ้นสุด<strong>ปี</strong>งบประมาณและสิ้นสุดแผน4.3)กรอบการรายงานผลการดําเนินงานกําหนดให้มีการแสดงผลความสําเร็จของการดําเนินงานที่เชื่อมโยงตั้งแต่ความสําเร็จของการดําเนินงานในระดับผลผลิตของโครงการย่<strong>อย</strong>/ กิจกรรมสําคัญและผลลั<strong>พ</strong>ธ์ตามเป้าหมายของโครงการโดยการบูรณาการผลสําเร็จของการดําเนินงานในระดับโครงการ / กิจกรรมย่<strong>อย</strong>ที่สําคัญ ให้มีความเชื่อมโยงกับเป้าหมายและผลสําเร็จของยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การดําเนินงานภายใต้โครงการยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ตลอดจนประเมินปัจจัยเงื่อนไขและปัญหาอุปสรรคต่างๆ ตามหลักการที่สําคัญดังนี้(1) การรายงานแสดงให้เห็นถึงความสัม<strong>พ</strong>ันธ์หรือความสอดคล้องระหว่างโครงการ/ กิจกรรมที่สําคัญ ต่อเป้าหมายความสําเร็จของ<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อแสดงให้เห็นถึงการนํายุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์/ กลยุทธ์การดําเนินงานไป<strong>พ</strong>ิจารณาให้มีการดําเนินการที่สําคัญในรูปแบบของการจัดทําโครงการ/มาตรการและกิจกรรมรองรับ โดยมีการกําหนดตัวชี้วัดการดําเนินงานที่ชัดเจน และแสดงให้เห็นถึงการส่งผลสําเร็จตามลําดับขั้นของการส่งต่อของผลผลิต(2) การรายงานผลการดําเนินงานแสดงให้ทราบถึงความก้าวหน้าและความสําเร็จของงาน<strong>อย</strong>่างเป็นรูปธรรมโดยการวัดผลการดําเนินงานที่เน้นผลผลิตและผลลั<strong>พ</strong>ธ์ของโครงการ(3) การรายงานแสดงให้เห็นถึงปัจจัยเงื่อนไขความสําเร็จในการดําเนินงานโครงการซึ่งครอบคลุมถึงปัญหาอุปสรรค จุดอ่อนและข้อจํากัดของการดําเนินงาน โดยวิเคราะห์ตรวจสอบสาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อความสําเร็จและความล้มเหลวของการดําเนินงานเ<strong>พ</strong>ื่อใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับ นําไปสู่การปรับ<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>และวางแนวทางการแก้ไขให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปเ<strong>พ</strong>ื่อให้สามารถดําเนินการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 100


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>5. การสื่อสารผลการติดตามประเมินผลสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจัดให้มีการสื่อสารผลการติดตามประเมินผลเ<strong>พ</strong>ื่อให้บุคลากรทุกระดับในองค์กรสามารถรับรู้และเข้าใจในผลวิเคราะห์และนําไปใช้ในการปฏิบัติงาน และสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร โดยกองแผนงานและวิชาการเป็นผู้รับผิดชอบหลักดําเนินการและกําหนดวิธีการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ดังนี้5.1) ระบบ Internet/E-mail เป็นการสื่อสารผ่านเครื่องคอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์ไปยังบุคลากรทุกคนโดยนําเข้าใน Website กองแผนงานและวิชาการ, <strong>ศ</strong>ูนย์ปฏิบัติการฐานข้อมูล <strong>อย</strong>.(DOC) เ<strong>พ</strong>ื่อให้บุคลากรทุกคนสามารถรับทราบข้อมูลข่าวสารต่างๆได้ทันที5.2) ระบบ Individual Project Teams เป็นการสื่อสารผลวิเคราะห์ผ่านทีมงานที่รับผิดชอบโดยตรง เช่น คณะทํางานติดตามประเมินผล5.3) ระบบ Regular Staff Meeting เป็นการสื่อสารผลวิเคราะห์ผ่านรูปแบบของการประชุมปกติในทุกระดับขององค์กร เช่น การประชุมกอง การประชุมกรม5.4) ระบบ Training Programs เป็นการสื่อสารผลวิเคราะห์ผ่านการอบรม/สัมมนา เช่น อบรม DOC5.5) ระบบ Corporate Kick-off เป็นการสื่อสารผลวิเคราะห์ให้กับบุคลากรทุกคนในองค์กรประจํา<strong>ปี</strong> เช่น รายงานประจํา<strong>ปี</strong>, สรุปผลวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>, สรุปผลการดําเนินงานโครงการสําคัญตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 101


เอกสารอ้างอิง<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ผลการวิเคราะห์กรอบโครงสร้าง.กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.2. กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. รายงานผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดก.<strong>พ</strong>.ร. กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.3. กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. รายงานผลการประเมินความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจของผู้ประกอบการที่มาติดต่อสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>ปี</strong> 2551.กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.4. กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. รายงานผลการประเมินความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการติดต่อสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>ปี</strong> 2551. กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.5. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ฐานข้อมูล<strong>พ</strong>ัฒนาบุคคลระบบสํานักงานอัตโนมัติ. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.6. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. นโยบายการดําเนินงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.7. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ผลการประเมินสมรรถนะบุคลากรของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.8. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ผลการวิเคราะห์การบริหารทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคล. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.9. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ผลการสํารวจวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์และ<strong>พ</strong>ันธกิจ. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.10. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. แผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2552-2555 ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.11. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. รายงาน <strong>พ</strong><strong>อย</strong>. 01 ระบบสํานักงานอัตโนมัติ. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 102


<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>12. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. รายงานประจํา<strong>ปี</strong> สํานักงานคณะกรรมการอาหาและยา 2551. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.13. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. รายงานผลการดําเนินงานโครงการยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.14. กอง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. รายงานวิจัย การประเมินผลสัมฤทธิ์การ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค. กอง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.15. ปรีดา แต้อารักษ์, นิภา<strong>พ</strong>รรณ สุข<strong>ศ</strong>ิริ, รําไ<strong>พ</strong> แก้ววิเชียร และกิรณา แต้อารักษ์. รายงานการทบทวนการกระจายอํานาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระหว่าง<strong>ปี</strong> 2542 – 2550.2551.16. ปรีดา แต้อารักษ์และคณะ. การทบทวนการกระจายอํานาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ระหว่าง<strong>ปี</strong> 2542-2550.17. ปัณรส มาลากุล ณ <strong>อย</strong>ุธยา. “การ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบราชการไทย การ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์การ และการสร้างองค์การที่เรียนรู้” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.18. <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ. ประกา<strong>ศ</strong>ในราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 125 ตอนที่ 31 กวันที่ 8 กุมภา<strong>พ</strong>ันธ์ 2551.19. <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551. ประกา<strong>ศ</strong>ในราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 125 ตอนที่ 37กวันที่ 22 กุมภา<strong>พ</strong>ันธ์ 2551.20. สํานักงานคณะกรรมการสุขภา<strong>พ</strong>แห่งชาติ. เอกสารความคิดเห็นภาคประชาชนจากเวทีประชาชนต่อการร่างรัฐธรรมนูญของประเท<strong>ศ</strong>ไทย.21. สํานักนโยบายและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์. การสาธารณสุขไทย 2548-2550. สํานักนโยบายและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข.22. http://www.cabinet.thaigov.go.th มิถุนายน 2553.23. http://www.bot.or.th. มิถุนายน 2553.24. http://www.nesdb.go.th มิถุนายน 2553.คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 103


เปาหมาย: การประกอบการดานผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานตัวชี้วัดหลัก :1. ร<strong>อย</strong>ละผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>ที่ไดรับการตรวจสอบไดมาตรฐานตามเกณฑที่กําหนด2. ร<strong>อย</strong>ละของสถานประกอบการที่ไดรับการตรวจสอบไดมาตรฐานตามเกณฑที่กําหนดกลยุทธหลัก : <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการกํากับดูแลผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>(ทั้ง Pre และ Post Marketing) ใหเปนมาตรฐานตามระบบคุณภา<strong>พ</strong> <strong>อย</strong>.• <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการออกกฎหมายและบังคับใชกฎหมาย<strong>อย</strong>างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>• <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการกํากับดูแลใหเปนมาตรฐานตามระบบคุณภา<strong>พ</strong> <strong>อย</strong>.• <strong>พ</strong>ัฒนาเครือขายและการมีสวนรวมระหวางภาคสวนตาง ๆที่เกี่ยวของในการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคเปาหมาย :ประชาชนมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกตองตัวชี้วัดหลัก : ร<strong>อย</strong>ละของประชาชนที่มี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกตองกลยุทธหลัก : <strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผูบริโภค รวมทั้งเครือขายใหมีความเขมแข็ง สามารถปกปองและคุมครองตนเองได• เผยแ<strong>พ</strong>รความรูและประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ รวมถึง<strong>พ</strong>ัฒนาระบบการแจงเตือนใหกับประชาชน<strong>อย</strong>างรวดเร็ว• <strong>พ</strong>ัฒนาเครือขายและสรางการมีสวนรวมภาคประชาชนเปาหมาย :ตัวยาและสารตั้งตนที่เปนวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่ใชในทางการแ<strong>พ</strong>ทยวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร และอุตสาหกรรมไมรั่วไหลออกนอกระบบการควบคุมและนําไปใชในทางที่ผิดตัวชี้วัดหลัก : ร<strong>อย</strong>ละของผูรับอนุญาตวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดดําเนินการถูกตองตามกฎหมายกลยุทธหลัก :เสริมสรางระบบการเฝาระวัง ควบคุม ปองกันในการกระจาย ตัวยาและสารตั้งตนที่เปนวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดใหเปนไป<strong>อย</strong>างถูกตองตามกฎหมาย• กํากับดูแลผูรับอนุญาตวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดใหปฏิบัติตามกฎหมาย<strong>อย</strong>างเครงครัด• <strong>พ</strong>ัฒนาใหมีมาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบการจัดการขอมูล• ประสานความรวมมือกับเครือขายในการเฝาระวังวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดเปาหมาย : <strong>อย</strong>. มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการบริหารงานใหบรรลุผลสัมฤทธิ์ตัวชี้วัดหลัก : ร<strong>อย</strong>ละความสําเร็จของการบรรลุตัวชี้วัดเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรกลยุทธหลัก : <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการบริหารยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรขององคกร ใหสามารถขับเคลื่อนได<strong>อย</strong>างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>•ขับเคลื่อนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรองคกร<strong>อย</strong>างครบวงจร ดวยการ<strong>พ</strong>ัฒนาคน,KM,ระบบขอมูลและการวิจัย•ปรับโครงสราง บทบาทภารกิจและกระบวนงานใหเหมาะสมกับสถานการณ•<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหารจัดการองคกรใหเปนไปตามเกณฑ PMQA และระบบคุณภา<strong>พ</strong> <strong>อย</strong>.


วิสัยทั<strong>ศ</strong>น<strong>พ</strong>ันธกิจองคกรที่เปนเลิ<strong>ศ</strong>ดานการคุมครอง และสงเสริมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong> ปลอดภัย และสมประโยชน มุงสูสังคมสุขภา<strong>พ</strong>ดี1. กํากับ ดูแล สงเสริม ใหมีการนําเสนอผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>ที่ปลอดภัย ไดมาตรฐาน2. สงเสริมความรู ความเขาใจในการบริโภคผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>ได<strong>อย</strong>างปลอดภัย และสมประโยชน เ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>ที่ดี3. <strong>พ</strong>ัฒนาการบริหารจัดการ วิชาการ และบุคลากร เ<strong>พ</strong>ื่อความเปนเลิ<strong>ศ</strong>ดานการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>เปาประสงคหลัก1. ประชาชนไดบริโภคผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong>ปลอดภัย และสมประโยชน มุงสูสังคมสุขภา<strong>พ</strong>ดี2. ประชาชนเชื่อมั่น <strong>อย</strong>. ในการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร1. การ<strong>พ</strong>ัฒนาการบริหารจัดการสูการเปนองคกรสมรรถนะสูง2. การปรับระบบและกลไกการกํากับดูแลการประกอบการผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>3. การเสริมสรางความเขมแข็งแกประชาชนในการบริโภคผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>4. การควบคุมตัวยาและสารตั้งตนที่เปนวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดR : ประสิทธิผลตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรR1 <strong>อย</strong>.มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการบริหารงานใหบรรลุผลสัมฤทธิ์R2 การประกอบการดานผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานR3 ประชาชนมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกตองR4 ตัวยาและสารตั้งตนที่เปนวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดที่ใชในทางการแ<strong>พ</strong>ทยวิทยา<strong>ศ</strong>าสตรและอุตสาหกรรม ไมรั่วไหลออกนอกระบบการควบคุมและนําไปใชในทางที่ผิดM : ประสิทธิภา<strong>พ</strong>ของการปฏิบัติราชการ S : คุณภา<strong>พ</strong>การใหบริการM1<strong>อย</strong>. มีโครงสรางและบทบาทที่เหมาะสมกับภารกิจS1 <strong>อย</strong>.สามารถปรับเปลี่ยนองคกรไดทันกับสถานการณการเปลี่ยนแปลงM2ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรสามารถขับเคลื่อนวิสัยทั<strong>ศ</strong>นใหสําเร็จไดM3กระบวนการเอื้อตอการดําเนินงานตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตรM4ระบบการบริหารจัดการไดรับการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>อย</strong>างตอเนื่องS2ผูประกอบการไดรับอนุญาตที่เปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดM5การดําเนินการ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตมีมาตรฐานM6<strong>อย</strong>.มีกฎหมายที่เหมาะสมกับสถานการณS3การประกอบการที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑสุขภา<strong>พ</strong>ถูกตองตามกฎหมายM7การกํากับดูแลหลังออกสูตลาดมีมาตรฐานS4เจาหนาที่มีมาตรฐานในการดําเนินงานM8ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการกํากับดูแลM9การแจงเตือนของ <strong>อย</strong>.รวดเร็วทันเหตุการณS5 ประชาชนไดรับขอมูลขาวสารที่ถูกตอง ทันความตองการM10การเขาถึงขอมูลขาวสารของประชาชนมีความสะดวกรวดเร็วM11ทุกภาคสวนมีสวนรวมS6การประกอบการเกี่ยวกับตัวยาและสารตั้งตนถูกตองตามกฎหมายM12การดําเนินงานตรวจรับของกลางวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดมีมาตรฐานS7ผูประกอบการไดรับอนุญาตที่เปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดM13<strong>อย</strong>.มีกฎหมายที่เหมาะสมกับสถานการณS8ผูประกอบการเจาหนาที่ และประชาชนไดรับขอมูลที่ถูกตองทันเหตุการณM14เครือขายมีสวนรวมในการกํากับดูแลวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดให<strong>อย</strong>ูในระบบS9เจาหนาที่มีมาตรฐานในการดําเนินงานดานของกลางวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดM15<strong>อย</strong>. ตรวจสอบเก็บรักษาทําลายของกลางดวยความปลอดภัยC : การ<strong>พ</strong>ัฒนาองคกรC1บุคลากรมีสมรรถนะสูงในการ<strong>พ</strong>ัฒนางานC2การจัดการความรู<strong>พ</strong>ัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมที่สงเสริมการ<strong>พ</strong>ัฒนาองคกรC3ระบบ ITที่ทันสมัย เอื้อตอการปฏิบัติงานC4ระบบฐานขอมูลที่ทันสมัยและเหมาะสม


เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด Baseline ผลงาน ค่าเป้าหมายกลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ2552 2553 <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>R : มิติประสิทธิผลR3. ประชาชนมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง3.1 ร้<strong>อย</strong>ละของผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ 3การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ประชาชนในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>81.10 81.80 84 86 88 89S : คุณภา<strong>พ</strong>การให้การบริการS5. ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องทันความต้องการ3.2 ร้<strong>อย</strong>ละของผู้บริโภคมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง91 92.50 90 90 90 901. เผยแ<strong>พ</strong>ร์ความรู้ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์เชิงรุกและ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภครวมทั้ง<strong>พ</strong>ัฒนาการใช้สื่อ<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>1. แผนงานเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้สู่ผู้บริโภค2. รณรงค์สร้างกระแสสังคมให้ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง และสมประโยชน์ เ<strong>พ</strong>ื่อประชาชนมีสุขภา<strong>พ</strong>ที่ดี2. แผนงานประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์เชิงรุก3. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 90


เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด Baseline ผลงาน ค่าเป้าหมายกลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ2552 2553 <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>M : ประสิทธิภา<strong>พ</strong>ของการปฏิบัติราชการM9. การแจ้งเตือนของ <strong>อย</strong>.รวดเร็วทันเหตุการณ์3.3 ร้<strong>อย</strong>ละความสําเร็จในการแจ้งเตือนผู้บริโภคภายในเวลาที่กําหนด- 100 92 94 96 98 2. ติดตามข่าวสารและประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์<strong>อย</strong>่างทันท่วงที*** แผนงานประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์เชิงรุกM10. การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชนมีความสะดวกรวดเร็ว3.4 ร้<strong>อย</strong>ละเฉลี่ยความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจของผู้บริโภคที่มีต่อช่องทางการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลข่าวสาร- 99.70 73 75 77 79 3. การ<strong>พ</strong>ัฒนาช่องทางและรูปแบบในการเผยแ<strong>พ</strong>ร่เ<strong>พ</strong>ื่อให้เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายสะดวกและรวดเร็ว4. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาช่องทางการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลข่าวสารM11. ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม 3.5 ร้<strong>อย</strong>ละความสําเร็จของแผนงาน/โครงการการมีส่วนร่วม- 100 96 97 98 98 4. สร้างและ<strong>พ</strong>ัฒนาเครือข่าย5 โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและ อสม.ใน<strong>พ</strong>ื้นที่5. สร้างการมีส่วนร่วมประชาชน6.โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนC : การ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์กร*** รายละเอียดปรากฎใน ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ 1 การ<strong>พ</strong>ัฒนาการบริหารจัดการสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูงรวม 5ตัวชี้วัด6 แผนงาน/โครงการคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 91


ผู้รับผิดชอบหลัก- กอง <strong>พ</strong><strong>ศ</strong>.สนับสนุน- ทุกกองหลัก- กอง <strong>พ</strong><strong>ศ</strong>.สนับสนุน- ทุกกองคานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 92


ผู้รับผิดชอบหลัก- กอง <strong>พ</strong><strong>ศ</strong>.- <strong>ศ</strong>รร.- ทุกกองหลัก- กอง <strong>พ</strong><strong>ศ</strong>.หลัก- กอง <strong>พ</strong><strong>ศ</strong>.- กอง คบ.หลัก- กอง <strong>พ</strong><strong>ศ</strong>.คานิยมสรางสรรค <strong>อย</strong>. “ ซื่อสัตย โปรงใส รักษาวินัย <strong>พ</strong>รอมใหบริการ ประสานสามัคคี ” 93


ภาคผนวก 1(สําเนา)คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 112 /2553เรื่อง แต่งตั้งคณะทํางานจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong>------------------------------------------------------อนุสนธิคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 533/2551 สั่ง ณ วันที่ 17 <strong>พ</strong>ฤ<strong>ศ</strong>จิกายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2551 เรื่อง แต่งตั้งคณะทํางานจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจํา<strong>ปี</strong> และจัดทําแผนงบประมาณรายจ่ายประจํา<strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2553 และคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 4/2552 สั่ง ณ วันที่ 5 มกราคม<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2552 เรื่อง แต่งตั้งคณะทํางานจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจํา<strong>ปี</strong> และจัดทําแผนงบประมาณรายจ่ายประจํา<strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2553 (แก้ไข) นั้น เนื่องจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในใหม่ จึงเห็นสมควรยกเลิกและออกคําสั่งใหม่ ดังนี้ข้อ 1 ให้ยกเลิกคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 533/2551 สั่ง ณ วันที่ 17<strong>พ</strong>ฤ<strong>ศ</strong>จิกายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551 และคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 4/2552 สั่ง ณ วันที่ 5 มกราคม<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2552 และให้ใช้คําสั่งฉบับนี้แทนข้อ 2 แต่งตั้งคณะทํางานจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong> โดยมีองค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้2.1 องค์ประกอบ1) เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ที่ปรึกษา2) รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ที่เลขาธิการฯ มอบหมาย ประธาน3) เลขานุการกรม หรือผู้แทน ผู้ทํางาน4) ผู้อํานวยการกองควบคุมเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ หรือผู้แทน ผู้ทํางาน5) ผู้อํานวยการกองควบคุมยา หรือผู้แทน ผู้ทํางาน6) ผู้อํานวยการกองควบคุมวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด หรือผู้แทน ผู้ทํางาน7) ผู้อํานวยการกองควบคุมอาหาร หรือผู้แทน ผู้ทํางาน8) ผู้อํานวยการกองงานด่านอาหารและยา หรือผู้แทน ผู้ทํางาน9) ผู้อํานวยการกอง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค หรือผู้แทน ผู้ทํางาน10) ผู้อํานวยการกองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> ผู้ทํางานในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น หรือผู้แทน11) ผู้อํานวยการ<strong>ศ</strong>ูนย์ประสานงาน<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน ผู้ทํางานหรือผู้แทน12) ผู้อํานวยการสํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย หรือผู้แทน ผู้ทํางาน13) ผู้อํานวยการกลุ่มควบคุมเครื่องสําอาง หรือผู้แทน ผู้ทํางาน/14) ผู้อํานวยการ....


- 2 -14) ผู้อํานวยการกลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย หรือผู้แทน ผู้ทํางาน15) หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน หรือผู้แทน ผู้ทํางาน16) หัวหน้ากลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร หรือผู้แทน ผู้ทํางาน17) หัวหน้ากลุ่มกฎหมายอาหารและยา หรือผู้แทน ผู้ทํางาน18) ผู้อํานวยการ<strong>ศ</strong>ูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เบ็ดเสร็จ หรือผู้แทน ผู้ทํางาน19) ผู้อํานวยการ<strong>ศ</strong>ูนย์เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> ผู้ทํางานหรือผู้แทน20) ผู้อํานวยการ<strong>ศ</strong>ูนย์อํานวยการป้องกันและปราบปรามการกระทําฝ่าฝืน ผู้ทํางานกฎหมายฯ หรือผู้แทน21) ผู้อํานวยการสํานักความร่วมมือระหว่างประเท<strong>ศ</strong> หรือผู้แทน ผู้ทํางาน22) ผู้อํานวยการ<strong>ศ</strong>ูนย์<strong>พ</strong>ัฒนานโยบายแห่งชาติด้านสารเคมี หรือผู้แทน ผู้ทํางาน23) ผู้อํานวยการ<strong>ศ</strong>ูนย์เทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong> หรือผู้แทน ผู้ทํางาน24) ผู้อํานวยการกองแผนงานและวิชาการ ผู้ทํางานและเลขานุการ25) น.ส.ท<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ร เว<strong>ศ</strong>นานนท์ กองแผนงานและวิชาการ ผู้ทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ26) นายอาทิตย์ <strong>พ</strong>ันเดช กองแผนงานและวิชาการ ผู้ทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ27) น.ส.จรรยา เสนอใจ กองแผนงานและวิชาการ ผู้ทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ2.2 อํานาจหน้าที่1) จัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong> และแผนปฏิบัติราชการประจํา<strong>ปี</strong> ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ให้เป็นไปตามเกณฑ์<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)2) จัดทําและสนับสนุนข้อมูลประกอบการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong> และแผนปฏิบัติราชการประจํา<strong>ปี</strong> ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา3) <strong>พ</strong>ิจารณาตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะต่อแผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong>4) สื่อสารกระบวนการวางแผน และความก้าวหน้าในการจัดทําแผนฯ ให้บุคลากรในหน่วยงานได้รับทราบโดยทั่วกัน5) นําแผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong> ไปวางแผนงบประมาณ และแผนปฏิบัติการในหน่วยงานให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกัน6) งานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปสําเนาถูกต้องลงชื่อ ท<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ร เว<strong>ศ</strong>นานนท์(นางสาวท<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ร เว<strong>ศ</strong>นานนท์)นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษสั่ง ณ วันที่ 16 มีนาคม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2553ลงชื่อ <strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>ัฒน์ ยิ่งเสรี(นาย<strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>ัฒน์ ยิ่งเสรี)เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา


ภาคผนวก 2ตารางการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยที่ใช้ประกอบการวางแผนเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประเภทข้อมูล ชนิดของข้อมูล* วิธีการรวบรวม/แหล่งข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ ผู้รับผิดชอบ(เครื่องมือ)ปัจจัยภายนอก1. การเมือง (Political) 1. นโยบายรัฐบาล2. เสถียรภา<strong>พ</strong>ทางการเมืองและเสถียรภา<strong>พ</strong>ของรัฐบาล3. การ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบราชการ4. การกระจายอํานาจสู่ท้องถิ่น5.นโยบายและระบบการจัดสรรงบประมาณตัว<strong>อย</strong>่าง :เช่น การสํารวจ, website,แบบสอบถาม,รายงานผลการดําเนินงานประจํา<strong>ปี</strong>ฯลฯPEST Analysis กอง ช./ทุกกองที่เกี่ยวข้อง2. สภา<strong>พ</strong>เ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ (Economic) 1. รายได้ประชากร2. นโยบายทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจของรัฐบาล3. อัตราภาษีอากรที่มีผลกระทบการนําเข้า4. ความร่วมมือทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและFTA5. ปัญหาวิกฤตเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ6. การเติบโตทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ- สืบค้นทาง website1.ธนาคารแห่งประเท<strong>ศ</strong>ไทย(http://www.bot.or.th)2. สํานักงานคณะกรรมการ<strong>พ</strong>ัฒนาการเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(http://www.nesdb.go.th)PEST Analysis กอง ช./ทุกกองที่เกี่ยวข้อง3. สังคม (Sociocultural) 1. โครงสร้างอายุของประชากร2. ค่านิยมและทั<strong>ศ</strong>นคติในการบริโภคของประชาชน3. ปัญหายาเส<strong>พ</strong>ติด4. เทคโนโลยี (Technological) 1. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี2. การเข้าถึง/ช่องทางของเทคโนโลยี- สืบค้นทาง website ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องPEST Analysisกอง ช./กอง<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>./ทุกกองที่เกี่ยวข้อง- สืบค้นทาง website PEST Analysis กอง ช./<strong>ศ</strong>ูนย์ IT/ทุกกองที่เกี่ยวข้อง1


ประเภทข้อมูล ชนิดของข้อมูล* วิธีการรวบรวม/แหล่งข้อมูล วิธีการวิเคราะห์(เครื่องมือ)1. <strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภค- สืบค้นทาง websiteHealth Analysis2. ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภา<strong>พ</strong>- เอกสารวิชาการ3. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากา<strong>ศ</strong> ที่มีผลต่อภาวะสุขภา<strong>พ</strong>และความมั่นคงทางอาหาร5. สถานการณ์สภาวะสุขภา<strong>พ</strong>ของคนไทย (Health)6. สถานการณ์การคุ้มครองผู้บริโภค(Consumer Protection)7. ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย1. ด้านอาหาร2. ด้านยา3. ด้านเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์4. ด้านเครื่องสําอาง5. ด้านวัตถุอันตราย6. ด้านวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด7. ด้านผลิตภัณฑ์นําเข้า ณ ด่านอาหารและยา8. ด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน9. ด้าน<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค1. ความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจในการให้บริการ2. ข้อร้องเรียน3. ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจําแนกตาม segment3.1 ผู้รับบริการ(ผู้ประกอบการและผู้บริโภค)3.2 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(ภาครัฐและภาคประชาชน)4. การจัดการผลกระทบทางลบ- รายงานผลการดําเนินงาน,บทความ,บทวิเคราะห์เชิงมหภาค ฯลฯ- รายงานผลการดําเนินงาน,บทความ,บทวิเคราะห์,คณะทํางานPMQA หมวด 1และ 3 ฯลฯConsumerProtection Analysisผู้รับผิดชอบกอง ช./กอง <strong>พ</strong><strong>ศ</strong>./ทุกกองที่เกี่ยวข้องกอง อ.กอง ย.กอง <strong>พ</strong>.กลุ่ม ส.กลุ่ม วอ.กอง ต.กองด่านฯ<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ช.กอง <strong>พ</strong><strong>ศ</strong>.Stakeholder Analysis ก.<strong>พ</strong>.ร. / กอง <strong>พ</strong><strong>ศ</strong>. /ทุกกองที่เกี่ยวข้อง2


ประเภทข้อมูล ชนิดของข้อมูล* วิธีการรวบรวม/แหล่งข้อมูล วิธีการวิเคราะห์(เครื่องมือ)กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ของหน่วยงานภายนอก - สืบค้นทาง website- PEST Analysis- PL Law 2551และ<strong>พ</strong>.ร.บ. วิธี<strong>พ</strong>ิจารณาคดีผู้บริโภค 2551 - เอกสารวิชาการจากหน่วยงานที่ - SWOT- FTA:China-ASEAN และFTA อื่นๆ เกี่ยวข้อง- ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับร่วม:MRAs)ที่เกี่ยวข้อง- ข้อตกลงความร่วมมือ(MOU)- <strong>พ</strong>รบ.การกระจายอํานาจ ฯลฯ8. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับภายนอกที่เกี่ยวข้องการดําเนินงานเช่น กฎหมาย สคบ., กฎหมายมกอช., อนุสัญญาและข้อตกลงระหว่างต่างประเท<strong>ศ</strong> และอื่น ๆที่เกี่ยวข้องปัจจัยภายใน1. โครงสร้างองค์กร (Structure) 1. โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ2. การปรับโครงสร้างภายในให้เหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน2. ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ขององค์กร(Strategy)3. ระบบในการดําเนินงานขององค์กร (Systems)1.การ<strong>พ</strong>ัฒนาการบริหารจัดการสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง2.การปรับระบบและกลไกการกํากับดูแลการประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>3. การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ประชาชนในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>4. การควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด1. ระบบงาน เช่น ระบบการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> และระบบ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>2. ระบบเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong> เช่น Hardware,Software, Logistic และ OA3. ระบบการเงินการคลัง เช่น GFMIS4. ระบบงานข้อมูล เช่น DOC และ e-Learning5. ระบบการจัดการความรู้ KM และLearningOrganization(LO)6. ระบบการควบคุมภายใน7. ระบบการจัดการความเสี่ยง- รายงานผลการวิเคราะห์การปรับปรุงโครงสร้างสนง.<strong>อย</strong>.- <strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> <strong>อย</strong>.<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2553-2556- รายงานประจํา<strong>ปี</strong> <strong>อย</strong>.- รายงานผลการดําเนินงานของหน่วยงานต่างๆภายใน สนง.<strong>อย</strong>.7S7S กอง ช.7Sผู้รับผิดชอบกลุ่ม น. /สปท./กองผลิตภัณฑ์/ทุกกองที่เกี่ยวข้องก.<strong>พ</strong>.ร. /ทุกกองที่เกี่ยวข้องกองผลิตภัณฑ์/<strong>ศ</strong>ูนย์ IT/สล./กอง ช./ทุกกองที่เกี่ยวข้อง3


ประเภทข้อมูล ชนิดของข้อมูล* วิธีการรวบรวม/แหล่งข้อมูล วิธีการวิเคราะห์(เครื่องมือ)1. การดํารงตําแหน่งของผู้บริหารระดับสูง - บทวิเคราะห์รูปแบบ7S2.รูปแบบการบริหารงาน/มอบหมายงาน การบริหารงาน3.รูปแบบการบริหารงบประมาณ- นโยบาย/แนวทางการบริหารงาน5.การติดตามความก้าวหน้า และผลการดําเนินงาน6.การสร้างบรรยากา<strong>ศ</strong>ภายในองค์กร และอื่นๆ4. ลักษณะแบบแผนหรือ<strong>พ</strong>ฤติกรรมในการบริหารงานของผู้บริหารระดับสูง (Style)5. บุคลากรภายในองค์กร 1. อัตรากําลัง2. วุฒิการ<strong>ศ</strong>ึกษา3. รูปแบบการบริหารทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคล (HRM)4. การ<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากร (HRD)5. การบริหารลูกจ้างและการ Outsource6. ความรู้ ความสามารถขององค์กร(Skills)1. ทักษะด้าน Pre-Marketing2. ทักษะด้าน Post-Marketing3. ทักษะในการเฝ้าระวังความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> (Surveillance)4. ทักษะด้านการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์5. ทักษะด้านการเจรจาและความร่วมมือระหว่างประเท<strong>ศ</strong>6.ทักษะด้านการวางแผนและการบริหารจัดการ7.ทักษะในการนิเท<strong>ศ</strong>งานติดตามประเมินผล8.ทักษะการวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนา- ฝ่ายการเจ้าหน้าที่- คณะทํางาน PM ของ <strong>อย</strong>.- ฐานข้อมูลบุคลากร DPIS- การ<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากร ตามแผน HR Scorecard- ผลการประเมินสมรรถนะบุคลากร<strong>อย</strong>.7S7Sทุกกองสล. (ฝ่าย จ.)ผู้รับผิดชอบกองผลิตภัณฑ์/กอง<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>./สปท./ทุกกองที่เกี่ยวข้อง7. ค่านิยมร่วมกันของสมาชิกในองค์กร (Shared values)8. วิสัยทั<strong>ศ</strong>น์และ<strong>พ</strong>ันธกิจของส่วนราชการ- ค่านิยมของ สนง.<strong>อย</strong>. - ทิ<strong>ศ</strong>ทางองค์กร - ฝ่าย จ./ก<strong>พ</strong>ร.<strong>อย</strong>.-วิสัยทั<strong>ศ</strong>น์และ<strong>พ</strong>ันธกิจของ สนง.<strong>อย</strong>.- <strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> <strong>อย</strong>.<strong>ปี</strong> 2553-2556- กอง ช.4


ประเภทข้อมูล ชนิดของข้อมูล* วิธีการรวบรวม/แหล่งข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ ผู้รับผิดชอบ(เครื่องมือ)9. ผลการดําเนินงานที่ผ่านมา ได้แก่ 1. ผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong>และแผนปฏิบัติราชการประจํา<strong>ปี</strong>2. ผลการดําเนินงานของตัวชี้วัดตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ3. ผลการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการ4. ผลการดําเนินงานตามระบบ PART- รายงาน <strong>พ</strong><strong>อย</strong>.01 ระบบสํานักงานอัตโนมัติ <strong>อย</strong>.- รายงานผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด ก.<strong>พ</strong>.ร.- รายงานผลการดําเนินงานโครงการยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ของ <strong>อย</strong>.- รายงานผลการดําเนินงานต่างๆ- กอง ช.ก.<strong>พ</strong>.รทุกกอง10. ความเสี่ยง 1. การเงิน2. สังคม3. จริยธรรม11. กฎหมาย ที่ <strong>อย</strong>. รับผิดชอบ9 ฉบับ และอนุสัญญา/ข้อตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong>1. <strong>พ</strong>รบ.ยา <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 25102. <strong>พ</strong>รบ.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 25183. <strong>พ</strong>รบ.ยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 25224. <strong>พ</strong>รบ.อาหาร <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 25225. <strong>พ</strong>รก.ป้องกันการใช้สารระเหย <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 25336. <strong>พ</strong>รบ.เครื่องสําอาง <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 25357. <strong>พ</strong>รบ.วัตถุอันตราย <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 25358. <strong>พ</strong>รบ.เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 25519. <strong>พ</strong>รบ.คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 255110. อนุสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong>ใน สนง.<strong>อย</strong>.- คณะทํางานบริหารความเสี่ยง <strong>อย</strong>.- รายงานผลการดําเนินงานตามแผน<strong>พ</strong>ัฒนาองค์กร หมวด 2 (SP7)- หน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ดําเนินการตามกฎหมายในความรับผิดชอบRisk Management กอง ช.SWOT กลุ่ม น. / กองผลิตภัณฑ์หมายเหตุ : ชนิดของข้อมูล* หมายถึง การระบุรายละเอียดขอบเขตในการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละประเภท เ<strong>พ</strong>ื่อให้การวิเคราะห์ข้อมูลมีความชัดเจน เช่น การวิเคราะห์การเมือง ให้วิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> เช่น นโยบายรัฐบาลมีผลกระทบต่องานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong><strong>อย</strong>่างไร (ให้ระบุผลการวิเคราะห์จําแนกตามชนิดข้อมูลในแบบฟอร์มการวิเคราะห์ข้อมูลสภา<strong>พ</strong>แวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการดําเนินงานขององค์กร)5


แบบฟอร์มการวิเคราะห์ข้อมูลสภา<strong>พ</strong>แวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการดําเนินงานขององค์กรประเภทข้อมูล การเมือง(Political) (ตัว<strong>อย</strong>่าง)ชนิดข้อมูล นโยบายรัฐบาล (ตัว<strong>อย</strong>่าง)1. สถานการณ์ที่ผ่านมา (สรุปโดยสังเขปและให้แสดงข้อมูลเชิงสถิติ แผนภูมิ แผนภา<strong>พ</strong> หรือตาราง ประกอบ)………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………….………………………………………….…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………..2. ปัญหา อุปสรรค และผลกระทบต่อการดําเนินงาน………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………..3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข (ที่เป็นรูปธรรมเช่น ปรับระบบงาน การจัดสรรงบประมาณ การ<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากร ฯลฯ)………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………..6


ภาคผนวก 3รายละเอียดโครงการที่สําคัญตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ประจํา<strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. โครงการความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety) <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. หลักการและเหตุผลในสภาวการณ์ปัจจุบันที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งสภา<strong>พ</strong>สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีใหม่ๆ ในยุคโลกาภิวัฒน์ (globalization) และยุคสมัยใหม่ (modernization) ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภคในด้าน<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภค และการเรียกร้องสิทธิในการคุ้มครองผู้บริโภคการเปลี่ยนแปลงของผู้ผลิตที่ใช้เทคโนโลยีในการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการโฆษณาที่มีความหลากหลาย เข้าถึงผู้บริโภคได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม นอกจากนี้ ยังมีแรงผลักดันทางด้านเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจทั้งภายในและภายนอก เช่น การทะลักเข้าของสินค้าจากข้อตกลงการค้าเสรีระหว่างประเท<strong>ศ</strong> การใช้กติกาการค้าโลกเป็นเครื่องมือทางการค้า เป็นต้น และยังมีปรากฏการณ์ใหม่ ๆ เกิดขึ้น อันได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตใหม่ๆ ปรากฏการณ์ของโรคที่อุบัติขึ้นใหม่ เช่น ไข้หวัดนก วัวบ้า เป็นต้น อีกทั้งลักษณะการปฏิบัติงานเกี่ยวกับอาหารของหน่วยงานที่กํากับดูแลตลอดห่วงโซ่อาหาร ขาดการบูรณาการ ขาดความเป็นเอกภา<strong>พ</strong>และประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการกํากับดูแลการดําเนินงานในห่วงโซ่อาหาร ซึ่งปัจจัยดังกล่าว ส่งผลกระทบ<strong>อย</strong>่างรุนแรงต่อการทํางานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่มีภารกิจหลักในการคุ้มครองและดูแลด้านความปลอดภัยอาหารภายในประเท<strong>ศ</strong>การดําเนินงานโครงการความปลอดภัยด้านอาหารของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาตั้งแต่<strong>ปี</strong> 2546 ที่ผ่านมา สามารถบรรลุตามเป้าหมายได้<strong>อย</strong>่างน่า<strong>พ</strong>อใจ เช่น สารปนเปื้อนในอาหารที่สําคัญ6 ชนิด แต่<strong>อย</strong>่างไรก็ตามด้วยปัจจัยดังกล่าวข้างต้นการบรรลุถึงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารจําเป็นต้องปรับปรุงระบบการทํางาน กฎระเบียบให้ทันสมัยสอดคล้องกับกติกาสากล ยกระดับขีดความสามารถในการสร้างกลไกการกํากับดูแล <strong>พ</strong>ัฒนาองค์ความรู้และเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของผู้ประกอบการผู้บริโภค และเจ้าหน้าที่ <strong>พ</strong>ัฒนากระบวนการสร้างเครือข่าย การเชื่อมโยงฐานข้อมูล และเข้าถึงข้อมูลด้านอาหาร ตลอดจนต้องสร้างมาตรฐานการกํากับดูแลให้ทัดเทียมกับมาตรฐานสากลด้วย เ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>และขีดความสามารถของการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารให้เป็นที่ยอมรับของนานาอารยะประเท<strong>ศ</strong>และเป็นการส่งเสริมการ<strong>พ</strong>ัฒนาทางสุขภา<strong>พ</strong> เ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ และสังคม<strong>อย</strong>่างยั่งยืน ทั้งนี้ใน<strong>ปี</strong> 2551 ได้มีกฎหมายฉบับใหม่ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร ได้แก่ <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2551 เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีคณะกรรมการอาหารแห่งชาติเป็นองค์กรหลักในการกําหนดนโยบายและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ด้านอาหารทั้ง 4 มิติได้แก่ ด้านคุณภา<strong>พ</strong> ความปลอดภัย และความมั่นคงด้านอาหารรวมทั้งอาหาร<strong>ศ</strong>ึกษาให้เป็นที่ยอมรับของนานาประเท<strong>ศ</strong>ทั่วโลก ครอบคลุมตลอดห่วงโซ่อาหาร และมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่วันที่ 9 กุมภา<strong>พ</strong>ันธ์ 2551ซึ่งจะเป็นเครื่องมือในการดําเนินงานด้านอาหารปลอดภัย<strong>อย</strong>่างบูรณาการให้เกิดประสิทธิภา<strong>พ</strong>และประสิทธิผลสูงสุดดังนั้นโครงการความปลอดภัยด้านอาหาร <strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong> จึงยังคงดําเนินยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ตาม Road map การดําเนินการอาหารปลอดภัยของ<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข โดยมุ่งเน้นในด้านการกํากับดูแล ตรวจสอบ เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์อาหารให้มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคทั้งอาหารที่ผลิตในประเท<strong>ศ</strong>และอาหารนําเข้า ทั้งก่อนและหลังออกสู่ท้องตลาด ตรวจสอบตัวผลิตภัณฑ์ การแสดงฉลากการโฆษณา ไปจนถึงการตรวจสอบสถานที่ผลิตและสถานที่จําหน่าย ดําเนินเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน (6 สาร) และความไม่ปลอดภัยจากด้านอื่นๆ เช่น ทางกายภา<strong>พ</strong> เคมี และจุลินทรีย์<strong>อย</strong>่างต่อเนื่องทั้งประเท<strong>ศ</strong> โดยการทํางานในรูปแบบเครือข่ายของหน่วยเคลื่อนที่ฯ (Mobile Unit)1


เ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ห้องปฏิบัติการด่านอาหารและยาให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน ดําเนินงาน<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยเ<strong>พ</strong>ื่อแก้ไขปัญหาความไม่ปลอดภัยและใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง (Scientific Data)ในการออกกฎหมาย ขยายและยกระดับระบบประกันคุณภา<strong>พ</strong>ให้ครอบคลุมผลิตภัณฑ์เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น โดยใน<strong>ปี</strong> 2555 จะมีการออกประกา<strong>ศ</strong>ใช้GMP กฎหมายที่เทียบเท่าสากล <strong>ศ</strong>ึกษาถึงรูปแบบการนําหน่วยงานเอกชน (Certification Body : CB)ที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>เข้ามามีส่วนร่วมในการคุ้มครองผู้บริโภคอันเป็นการเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>การในงานคุ้มครองผู้บริโภคตามหลักการสากล เผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์เ<strong>พ</strong>ื่อให้ความรู้แก่ผู้บริโภค อบรมเจ้าหน้าที่ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคให้มีความรู้เท่าทันในเทคโนโลยี มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>และการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกันโดยเฉ<strong>พ</strong>าะด้านกฎหมาย ซึ่งมีการปรับปรุง <strong>พ</strong>.ร.บ. อาหาร ฉบับใหม่ ตลอดจนมีโครงการปรับปรุงและทบทวนกฎระเบียบให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและสอดคล้องกับสากล และการทําหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการร่วมตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคณะกรรมการแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551 ด้วย2. วัตถุประสงค์2.1 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนา ปรับปรุง แก้ไขกฎระเบียบให้ทันต่อสถานการณ์อ้างอิงตามมาตรฐานสากลมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภค และสอดคล้องต่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจของประเท<strong>ศ</strong>2.2 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาความเข้มแข็งในการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์อาหารให้ปลอดภัยทั้งการตรวจสอบกํากับการนําเข้า และการควบคุมการผลิตและจําหน่าย2.3 เ<strong>พ</strong>ื่อส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีความรู้ ความเข้าใจใน การบริโภคและเลือกชื้อผลิตภัณฑ์อาหารที่ถูกต้อง และเข้าถึงข้อมูลได้ยิ่งขึ้น2.4 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของเจ้าหน้าที่ ส่วนกลาง และภูมิภาคให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในกระบวนการที่เกี่ยวข้อง สู่การยอมรับตามมาตรฐานสากล2.5 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาผู้ประกอบการให้สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ประกันคุณภา<strong>พ</strong> มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค3. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัดหน่วยนับ เป้าหมายหน่วยงาน<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong> ที่รับผิดชอบ3.1 ด้านการ<strong>พ</strong>ัฒนามาตรฐานกฎหมายให้เป็นสากล1) จํานวนกฎระเบียบ/คําชี้แจง/คู่มือ เรื่อง 3 3 3 3 กอง อ.เกี่ยวกับกฎหมายที่ได้รับการ<strong>พ</strong>ัฒนาให้สอดคล้องกับสากล3.2 ด้านการ<strong>พ</strong>ัฒนาความเข้มแข็งในการกํากับดูแลให้อาหารปลอดภัย2) จํานวนห้องปฏิบัติการด่านอาหาร แห่ง 9 11 11 11 กองด่านฯและยาที่ได้รับการ<strong>พ</strong>ัฒนา (จํานวนสะสม)3) ร้<strong>อย</strong>ละของผลิตภัณฑ์อาหารได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามที่เกณฑ์กําหนดร้<strong>อย</strong>ละ 90 90 90 90 กองด่านฯ/กอง อ./กองคบ.4) ร้<strong>อย</strong>ละของฉลากอาหารที่ได้รับการตรวจสอบมีความถูกต้องร้<strong>อย</strong>ละ 90 91 92 93 กอง อ./กองคบ.2


ตัวชี้วัด5) ร้<strong>อย</strong>ละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้รับการตรวจสอบมีความถูกต้อง6) ร้<strong>อย</strong>ละของสถานประกอบการผลิตภัณฑ์อาหารได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด3.3 ด้านการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค7) การดําเนินการรณรงค์/เผยแ<strong>พ</strong>ร่/ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ ให้ความรู้ด้านความปลอดภัยอาหารในสถาน<strong>ศ</strong>ึกษาและประชาชนทั่วไปหน่วยนับ เป้าหมายหน่วยงาน<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong> ที่รับผิดชอบร้<strong>อย</strong>ละ 90 91 92 93 กอง อ./กองคบ.ร้<strong>อย</strong>ละ 90 90 90 90 กอง อ./กองคบ.เรื่อง/ครั้ง160 120/100120/100120/100กอง <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>./กอง อ3.4 ด้านการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>บุคลากรและกระบวนการ8) จํานวนบุคลากรที่ได้รับการอม คน 200 200 200 200 กอง อ.<strong>พ</strong>ัฒนาความรู้3.5 ด้านการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้ประกอบการ9) จํานวนผู้ประกอบการที่ได้รับการฝึกอบรมคน 100 100 100 100 กอง อ.4. ระยะเวลาการดําเนินการเดือนตุลาคม 2553 – กันยายน <strong>2557</strong>5. สถานที่ดําเนินงานส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคทั่วประเท<strong>ศ</strong>6. งบประมาณ<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> จํานวน 128.070 ล้านบาท (งบประมาณที่ได้รับจริง)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 130.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> 2556 จํานวน 140.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> <strong>2557</strong> จํานวน 150.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)7. ผู้รับผิดชอบโครงการกองควบคุมอาหารกองงานด่านอาหารและยากองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นกอง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค3


8. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ8.1 กฎหมาย กฎระเบียบได้รับการทบทวน ปรับปรุงให้มีความทันสมัยในการคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภค เอื้อต่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจของประเท<strong>ศ</strong>8.2 ผลิตภัณฑ์อาหารที่บริโภคในประเท<strong>ศ</strong>ปลอดภัย มีคุณภา<strong>พ</strong> และ มาตรฐาน8.3 เจ้าหน้าที่ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคมีความรู้ <strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong> และการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน8.4 ผู้บริโภคมีความรู้ ความเข้าใจ และ<strong>พ</strong>ฤติกรรมที่ถูกต้องในการเลือกบริโภค8.5 ผู้ประกอบการให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารที่ถูกต้องและปลอดภัยเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคทั้งในประเท<strong>ศ</strong>และต่างประเท<strong>ศ</strong>4


2. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบยาแห่งชาติ <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. หลักการและเหตุผล“ความปลอดภัยด้านยา” เป็น<strong>พ</strong>ันธกิจหลักเรื่องหนึ่งของกองควบคุมยา เนื่องจากยาเป็นปัจจัยสําคัญของความมั่นคงของมนุษย์ ดังนั้นยาที่ไม่ปลอดภัย หรือผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการใช้ยาที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม และไม่มีมาตรการการกํากับดูแลที่รัดกุมเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภา<strong>พ</strong>ของประชาชน และมีผลกระทบในภา<strong>พ</strong>รวมต่อเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจทั้งในระดับปัจเจกบุคคลและสังคมเมื่อกล่าวถึงคําว่า “ความปลอดภัยด้านยา” มีมิติที่เกี่ยวข้องหลากหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็นคุณภา<strong>พ</strong>ยา การใช้ยา<strong>อย</strong>่างสมเหตุสมผล และการเข้าถึงยาของประชาชน ซึ่งต้องให้ความสําคัญในทุก ๆ มิติรวมทั้งต้องควบคุมบริบทแวดล้อมให้เหมาะสมด้วย ดังนั้นจึงมีความจําเป็นต้อง<strong>พ</strong>ิจารณาประเด็นนี้เป็นประเด็นเชิงระบบ (Systematic approach)การ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบยาของประเท<strong>ศ</strong>ให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> มีความจําเป็นต่อการจัดการบริการทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ เภสัชกรรมและสาธารณสุขให้มีคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐาน ประสิทธิภา<strong>พ</strong>แก่คนไทยทุกคนได้<strong>อย</strong>่างยั่งยืนและเป็นธรรม นอกจากนี้ยังจําเป็นต่อการสนับสนุนการวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนายา รวมทั้งการ<strong>พ</strong>ัฒนาอุตสาหกรรมยาของประเท<strong>ศ</strong>อีกด้วย ระบบยาของประเท<strong>ศ</strong>จึงต้องมีการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>อย</strong>่างต่อเนื่องให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมประชาชนให้เข้าถึงยาและบริการด้านยา คุ้มครองให้ได้ใช้ยาที่มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน<strong>อย</strong>่างปลอดภัย ส่งเสริมการใช้ยา<strong>อย</strong>่างสมเหตุผลทุกระดับ และสนับสนุนการ<strong>พ</strong>ัฒนาการวิจัยยา และอุตสาหกรรมยาของประเท<strong>ศ</strong>ให้ได้มาตรฐานการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบยาของประเท<strong>ศ</strong>จําเป็นต้องมีนโยบายที่ชัดเจน และมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> มีความคล่องตัวสูงและมีความต่อเนื่อง รวมทั้งสามารถประสานความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งส่วนราชการ ภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชาชน สามารถประสานการจัดการ<strong>ศ</strong>ึกษาของสถาบันการ<strong>ศ</strong>ึกษาและสภาวิชาชี<strong>พ</strong>ให้ผลิตและ<strong>พ</strong>ัฒนาผู้ประกอบวิชาชี<strong>พ</strong>ด้านสุขภา<strong>พ</strong>ทุกสาขาให้มีความรู้ความสามารถ ความรับผิดชอบ ทักษะ จริยธรรม และเจตคติที่ดีในการบริหารจัดการการใช้ยา<strong>อย</strong>่างคุ้มค่าและสมเหตุผล รวมทั้งการประสานระบบยากับการ<strong>พ</strong>ัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตยาและส่งเสริมการใช้วัตถุดิบที่เป็นทรั<strong>พ</strong>ยากรในประเท<strong>ศ</strong>และภูมิปัญญาไท ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ด้านเทคโนโลยี สังคมเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ การขยายตัวทางการค้าและอุตสาหกรรม2. วัตถุประสงค์2.1 เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนเข้าถึงยาจําเป็นที่มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานสมเหตุสมผล2.2 เ<strong>พ</strong>ื่อให้การใช้ยาทั้งภาครัฐ และเอกชน มีการใช้<strong>อย</strong>่างสมเหตุสมผล2.3 เ<strong>พ</strong>ื่อให้อุตสาหกรรมยาแผนปัจจุบันในประเท<strong>ศ</strong>มีความเข้มแข็ง สามารถผลิตยาที่จําเป็นเ<strong>พ</strong>ื่อลดการนําเข้ายาได้2.4 เ<strong>พ</strong>ื่อให้อุตสาหกรรมยาแผนไทยยกระดับคุณภา<strong>พ</strong>ตามมาตรฐานสากล มีความสามารถผลิตยาทดแทนการใช้ยาแผนปัจจุบันและส่งเสริมภูมิปัญญาแ<strong>พ</strong>ทย์แผนไทย2.5 เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการใช้ยา<strong>อย</strong>่างปลอดภัยและเหมาะสม5


3. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>3.1 ผลิตภัณฑ์ยามีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน ร้<strong>อย</strong>ละ 95 95 95 953.2 สถานที่ผลิตยาแผนปัจจุบันได้มาตรฐานสากล(GMP) ร้<strong>อย</strong>ละ 100 100 100 1003.3 สถานที่ผลิตยาแผนไทยมีคุณภา<strong>พ</strong>ตาม แห่ง/<strong>ปี</strong> 10 10 10 10มาตรฐานสากล (GMP) เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น<strong>อย</strong>่างน้<strong>อย</strong>3.4 มีการผลิต นําเข้า ยากํา<strong>พ</strong>ร้า <strong>อย</strong>่างน้<strong>อย</strong> รายการ/<strong>ปี</strong> 5 5 5 53.5 จํานวนร้านยาคุณภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น<strong>อย</strong>่างน้<strong>อย</strong> ร้าน/<strong>ปี</strong> 50 50 50 504. กลวิธี/แผนการดําเนินงาน4.1 <strong>พ</strong>ัฒนาโครงสร้างของหน่วยงานในการขับเคลื่อนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ และปรับปรุงกระบวนการภายในให้สามารถดําเนินงาน<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ยิ่งขึ้น4.2 <strong>พ</strong>ัฒนานโยบายและกฎหมายใหม่ๆ ที่เอื้อต่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาและมาจากการมีส่วนร่วมและ<strong>อย</strong>ู่บน<strong>พ</strong>ื้นฐานของการจัดการความรู้<strong>อย</strong>่างเป็นระบบ4.3 <strong>พ</strong>ัฒนาความเข้มแข็งของอุตสาหกรรมยาภายในประเท<strong>ศ</strong>ให้มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการแข่งขันในระดับสากล4.4 <strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>และความรู้ของผู้บริโภค ให้เกิดความเข้าใจในการใช้ยา<strong>อย</strong>่างปลอดภัยและเหมาะสม4.5 สร้างเครือข่ายความร่วมมือ จากหน่วยงานรัฐ เอกชน องค์กร<strong>พ</strong>ัฒนาเอกชน ภาควิชาการสื่อ รวมทั้ง องค์กรวิชาชี<strong>พ</strong> ในการขับเคลื่อนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์5. ระยะเวลาดําเนินงานเดือนตุลาคม 2553 – กันยายน<strong>2557</strong>6. สถานที่ดําเนินงานกองควบคุมยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา7. งบประมาณ<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> จํานวน 7.436 ล้านบาท (งบประมาณที่ได้รับจริง)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 15.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> 2556 จํานวน 16.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> <strong>2557</strong> จํานวน 17.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)8. ผู้รับผิดชอบโครงการกองควบคุมยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา9. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ9.1 ประชาชนสามารถเข้าถึงยาจําเป็นที่มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานสมเหตุสมผล9.2 การใช้ยาทั้งในภาครัฐ และเอกชน มีการใช้<strong>อย</strong>่างสมเหตุสมผล9.3 อุตสาหกรรมยาแผนปัจจุบันในประเท<strong>ศ</strong>มีความเข้มแข็ง สามารถผลิตยาที่จําเป็นเ<strong>พ</strong>ื่อลดการนําเข้ายาได้9.4 อุตสาหกรรมยาแผนไทยยกระดับคุณภา<strong>พ</strong>ตามมาตรฐานสากล มีความสามารถผลิตยาทดแทนการใช้ยาแผนปัจจุบันและส่งเสริมภูมิปัญญาแ<strong>พ</strong>ทย์แผนไทย9.5 ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการใช้ยา<strong>อย</strong>่างปลอดภัยและเหมาะสม6


3. โครงการความปลอดภัยด้านเครื่องสําอาง <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. หลักการและเหตุผล1.1 ปัญหาอันตรายจากสารเคมีที่ลักลอบใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสําอางเครื่องสําอางเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้กับผิวกายภายนอก เ<strong>พ</strong>ื่อความสะอาด สวยงาม หรือแต่งกลิ่นหอมในชีวิตประจําวัน การกํากับดูแลเครื่องสําอางจึงไม่เข้มงวดเท่าผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>อื่นๆ เช่น อาหาร ยาหรือเครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ ปัจจุบัน<strong>พ</strong>บว่าเครื่องสําอาง ครีมหรือโลชั่นประเภทบํารุงผิว ป้องกันแสงแดดหรือทําให้หน้าขาว มักมีการลักลอบผสมสารที่เป็นอันตราย เช่น สารประกอบของปรอท สารไฮโดรควิโนน หรือกรดวิตามินเอ ผสม<strong>อย</strong>ู่ในปริมาณที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ ผู้ป่วยหลายรายต้องเข้ารับการบําบัดรักษาและหลายรายที่ไม่สามารถเยียวยาแก้ไขผิวหน้าที่เสียไปให้กลับคืนสู่สภา<strong>พ</strong>เดิมได้ บางรายต้องประสบกับฝ้าถาวรอันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื้อใต้ผิวหนัง (Ochronosis) หรือผิวหน้าด่างขาวซึ่งเกิดจากเซลล์ที่ผิวหนังถูกทําลาย (Leucomelanoderma) เครื่องสําอางกลุ่มนี้ส่วนใหญ่แต่เดิมจัดเป็นเครื่องสําอางทั่วไปซึ่งผู้ผลิตสามารถผลิต และวางจําหน่ายได้โดยไม่ต้องขออนุญาต การผลิตก็ทําได้ง่ายทั้งในตึกแถวคอนโด หรือบ้าน<strong>พ</strong>ักอา<strong>ศ</strong>ัยทั่วไปการติดตามตรวจสอบจึงทําได้ยาก1.2 เครื่องสําอางสิ่งจําเป็นในชีวิตประจําวันความต้องการ เครื่องสําอางกลุ่มที่ช่วยดูแลปกป้องผิวรวมทั้งกลุ่มที่แสดงสรร<strong>พ</strong>คุณว่าสามารถทําให้ผิวขาวกระจ่างใสได้เ<strong>พ</strong>ิ่มสูงมากขึ้นในปัจจุบัน ด้วยสาเหตุจากภาวะสภา<strong>พ</strong>อากา<strong>ศ</strong>โลกร้อนที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ ผลิตภัณฑ์ที่สามารถปกป้องผิวจากอันตรายของรังสีเหล่านี้ จึงกลายเป็นสิ่งจําเป็น นอกจากนั้นผู้ประกอบธุรกิจส่วนหนึ่งยังมุ่งทําการตลาดด้วยการโฆษณาชักนําให้เกิดค่านิยม โดยเน้นว่าความสวยต้องคู่กับผิวขาวใส ดังนั้นเมื่อกลุ่มผู้บริโภคส่วนใหญ่มีค่านิยมที่ต้องการให้ผิวขาว จึงมองหาผลิตภัณฑ์ที่ใช้ได้ผลเร็วในราคาย่อมเยาว์ ส่งเสริมให้เครื่องสําอางผิดกฎหมายที่ผสมสารห้ามใช้ซึ่งสามารถทําให้ผิวขาวได้ผลเร็วและราคาถูกเกิดขึ้นมากมายหลากหลายยี่ห้อสถิติการประกา<strong>ศ</strong>รายชื่อเครื่องสําอางอันตราย<strong>ปี</strong> 2548 2549 2550 2551 2552 2553รายการ 54 58 89 84 124 1601.3 กฎหมายเครื่องสําอางกฎหมายเครื่องสําอาง ได้กําหนดให้เครื่องสําอางบางประเภทเท่านั้นที่ต้องทําการขึ้นทะเบียนหรือจดแจ้งก่อนการผลิตหรือนําเข้า นับว่าเป็นจุดอ่อนสําคัญที่ทําให้เครื่องสําอางส่วนใหญ่จํานวนมากขาดการควบคุมกํากับดูแลตั้งแต่ต้น ปัจจุบันจึงได้ทําการปรับปรุงข้อกําหนดเ<strong>พ</strong>ื่อให้เครื่องสําอางทุกประเภทต้องจดแจ้งก่อนผลิตหรือนําเข้า โดยได้ออกประกา<strong>ศ</strong>ฯควบคุมตั้งแต่ปลาย<strong>ปี</strong> 2551 แต่สําหรับเครื่องสําอางเดิมที่เคยมีการผลิต/นําเข้า <strong>อย</strong>ู่ก่อนก็จะได้รับการผ่อนผันไปจนถึงสิ้น<strong>ปี</strong> 2553 ในส่วนการควบคุมการโฆษณาเครื่องสําอาง กฎหมายไม่ได้กําหนดบังคับให้ต้องทําการขออนุญาตโฆษณาการติดตามกํากับดูแลจึงทําได้ยาก7


1.4 ข้อตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong>ประเท<strong>ศ</strong>ไทยโดยรัฐมนตรีเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลง Agreement on ASEANHarmonized Cosmetic Regulatory Scheme (AHCRS) เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2546 ในการประชุมรัฐมนตรีเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 35 ณ กรุง<strong>พ</strong>นมเปญ ประเท<strong>ศ</strong>กัม<strong>พ</strong>ูชา เ<strong>พ</strong>ื่อปรับกฎระเบียบเกี่ยวกับเครื่องสําอาง ให้สอดคล้องกัน และได้จัดทํา ASEAN Cosmetic Directive (บทบัญญัติเครื่องสําอางแห่งอาเซียน) ซึ่งข้อกําหนดตามบทบัญญัติดังกล่าวได้กําหนดบังคับให้ประเท<strong>ศ</strong>สมาชิกต้องควบคุมกํากับดูแลให้ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางที่วางจําหน่ายต้องเป็นไปตามข้อตกลงทั้งในเรื่องรายการสารที่ใช้เป็นส่วนผสมฉลากผลิตภัณฑ์และความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ หากประเท<strong>ศ</strong>สมาชิกละเลยไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>สมาชิกก็สามารถใช้เป็นข้ออ้างในการกีดกันทางการค้าซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้า<strong>อย</strong>่างมหา<strong>ศ</strong>าล โดยที่ข้อมูลปริมาณการนําเข้า-ส่งออกสินค้าเครื่องสําอางระหว่างประเท<strong>ศ</strong><strong>ปี</strong> 2552 นั้น <strong>พ</strong>บว่ากลุ่มประเท<strong>ศ</strong>คู่ค้าสําคัญในปัจจุบันก็คือกลุ่มประเท<strong>ศ</strong>ในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งไทยมีปริมาณการส่งออกสินค้าเครื่องสําอางไปขายสูงถึง 13,346.5 ล้านบาท เมื่อเทียบกับประเท<strong>ศ</strong>สหรัฐอเมริกาประมาณ 455 ล้านบาทสหภา<strong>พ</strong>ยุโรป 2,067 ล้านบาทและญี่ปุ่น 7,962 ล้านบาท (ที่มา: Import/Export Statistics กรม<strong>ศ</strong>ุลกากร)2. วัตถุประสงค์การดําเนินโครงการความปลอดภัยด้านเครื่องสําอางมีจุดมุ่งหมายเ<strong>พ</strong>ื่อเร่งรัดรณรงค์แก้ไขปัญหาที่สําคัญเ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดความความปลอดภัยต่อผู้บริโภคและเ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ดังนี้2.1 เ<strong>พ</strong>ื่อแก้ไขปัญหาเครื่องสําอางผสมสารห้ามใช้ ที่<strong>พ</strong>บมีการลักลอบผลิตและจําหน่าย<strong>อย</strong>ู่ในร้านค้าย่<strong>อย</strong>ทั้งในกรุงเท<strong>พ</strong>ฯและกระจาย<strong>อย</strong>ู่ในส่วนภูมิภาคหลาย<strong>พ</strong>ื้นที่2.2 เ<strong>พ</strong>ื่อแก้ไขปัญหาเครื่องสําอางที่มีฉลากภาษาไทยไม่ถูกต้อง ไม่มีฉลากภาษาไทยและฉลากแสดงแหล่งผลิตเป็นเท็จ2.3 เ<strong>พ</strong>ื่อแก้ไขปัญหาเครื่องสําอางปลอม ลอกเลียนแบบสินค้าที่ได้รับความนิยม2.4 เ<strong>พ</strong>ื่อแก้ไขปัญหาคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานของเครื่องสําอาง ทั้งปริมาณสารสําคัญและการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์2.5 เ<strong>พ</strong>ื่อแก้ไขปัญหาเครื่องสําอางที่ใช้ในสถานบริการเสริมความงาม ซึ่ง<strong>พ</strong>บมีผู้บริโภคใช้แล้วเกิดอาการแ<strong>พ</strong>้ระคายเคือง<strong>อย</strong>่างรุนแรง2.6 เ<strong>พ</strong>ื่อแก้ไขปัญหาการโฆษณาโอ้อวด สรร<strong>พ</strong>คุณเกินจริง หลอกลวงผู้บริโภค2.7 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภคในการเลือกใช้เครื่องสําอาง<strong>อย</strong>่างสมประโยชน์2.8 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนายกระดับมาตรฐานคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางให้ได้ในระดับสากล8


3. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัดหน่วย เป้าหมายนับ <strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>3.1 การ<strong>พ</strong>ัฒนาปรับปรุงกฎหมาย(1) จํานวนกฎหมายที่ปรับปรุงแก้ไข ฉบับ 3 5 5 53.2 การกํากับดูแลเครื่องสําอางให้ปลอดภัย(2) เครื่องสําอางมีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานตามกฎหมาย(3) เครื่องสําอางทาสิวฝ้ามีความปลอดภัยจากสารห้ามใช้ 3 ชนิด(ไฮโดรควิโนน,ปรอท,กรดเรทิโนอิก)(4) ฉลากเครื่องสําอางมีความถูกต้อง(5) การโฆษณาเครื่องสําอางมีความถูกต้อง3.3 การ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค(6) ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคเครื่องสําอางที่ถูกต้อง3.4 การ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้ประกอบการ(7) สถานที่ผลิตเครื่องสําอางได้รับการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ตามหลักเกณฑ์ GMP3.5 การ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>บุคลากรและกระบวนงาน(8) อบรม<strong>พ</strong>ัฒนาความรู้บุคลากร(9) จัดทําสื่อและคู่มือการปฏิบัติงานด้านเครื่องสําอางร้<strong>อย</strong>ละร้<strong>อย</strong>ละร้<strong>อย</strong>ละร้<strong>อย</strong>ละ88908595909086969092879690928796ร้<strong>อย</strong>ละ 82 83 84 85แห่ง 100 110 120 130ครั้ง/คนเรื่อง3/25023/30023/35023.6 วิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์ความรู้(10) จํานวนโครงการวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนา โครงการ 5 6 7 83/35024. กลวิธี / แผนการดําเนินงาน4.1 <strong>พ</strong>ัฒนาปรับปรุงกฎหมายให้เป็นสากล1) แก้ไขประกา<strong>ศ</strong>สํานักงานฯและกฎ<strong>กระทรวง</strong>ตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติยา <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2510เ<strong>พ</strong>ื่อควบคุมวัตถุดิบสารห้ามใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสําอาง2) ยกร่าง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติเครื่องสําอางฉบับใหม่ ออกประกา<strong>ศ</strong>ฯควบคุมเครื่องสําอางทุกชนิดเ<strong>พ</strong>ิ่มบทกําหนดโทษ เ<strong>พ</strong>ิ่มบทบัญญัติควบคุมการโฆษณา๓) ออกประกา<strong>ศ</strong>ฯกําหนดควบคุมรายการสารตามมาตรฐานสากล4.2 <strong>พ</strong>ัฒนาการกํากับดูแลให้เครื่องสําอางปลอดภัย1) ติดตามเฝ้าระวังเครื่องสําอางกลุ่มเสี่ยงเ<strong>พ</strong>ื่อให้ฐานข้อมูลเครื่องสําอางกลุ่มเสี่ยงครบถ้วนทันต่อเหตุการณ์โดยเก็บตัว<strong>อย</strong>่างเครื่องสําอางกลุ่มเสี่ยงในท้องตลาดทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคทั่วประเท<strong>ศ</strong> ตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong>เครื่องสําอาง ณ ด่านอาหารและยา จัดส่งข้อมูลข่าวสารทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคและ ออกประกา<strong>ศ</strong>ฯแจ้งเตือนเครื่องสําอางผิดกฎหมาย สารห้ามใช้ เครื่องสําอางปลอม9


2) รณรงค์ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ให้ผู้บริโภค ผู้ประกอบการและผู้เกี่ยวข้องได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเครื่องสําอางผิดกฎหมาย และอันตรายที่เกิดต่อผู้ใช้โดยผลิตสื่อและเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้และเน้นให้ตระหนักถึงอันตรายที่จะได้รับจากเครื่องสําอางผิดกฎหมาย ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์แถลงข่าวเผยแ<strong>พ</strong>ร่การจับกุมเครื่องสําอางผิดกฎหมาย ผลิตเอกสารเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องสําอางผิดกฎหมาย โครงการประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ข้อมูลเครื่องสําอางแก่ร้านจําหน่ายรายใหญ่ รายย่<strong>อย</strong>และร้านขายยา ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ต่อผู้บริโภคโดย Mobile Unit ทั่วประเท<strong>ศ</strong> ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ให้แจ้งข้อมูลเบาะแสผู้กระทําผิด โดยมีสินบนนําจับ3) เร่งรัดติดตามตรวจสอบดําเนินคดีผู้ฝ่าฝืน<strong>อย</strong>่างต่อเนื่องเ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้บริโภคปลอดภัยจากเครื่องสําอางผิดกฎหมายโดยติดตามตรวจสอบผู้จําหน่าย ผู้ขายส่ง ผู้ขายปลีก ทลายแหล่งผลิต แหล่งกระจายสินค้าผิดกฎหมาย ประสานสํานักงานตํารวจแห่งชาติ จับกุมผู้ผลิตและตั้งด่านสกัดการแ<strong>พ</strong>ร่กระจายสินค้าผิดกฎหมาย ติดตามตรวจสอบสถานเสริมสวยและ คลินิคเสริมความงามและติดตามตรวจสอบโฆษณาเครื่องสําอางทางสื่อต่างๆ4.3 <strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้บริโภคตระหนักถึงความปลอดภัยด้านเครื่องสําอาง<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ข่าวประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์เชิงรุกทางสถานีโทรทั<strong>ศ</strong>น์/วิทยุ/หนังสือ<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์รายการประจําสถานีโทรทั<strong>ศ</strong>น์/สถานีวิทยุ ตลอดจนประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ทางเว็บไซด์ www.oryor.com เ<strong>พ</strong>ื่อให้ข้อมูลข่าวสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางป้องกันมิให้ประชาชนตกเป็นเหยื่อการโฆษณาโอ้อวดเกินจริง เลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสําอาง<strong>อย</strong>่างรู้เท่าทันและตลอดจนดําเนินกิจกรรมที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้บริโภคสามารถปรับเปลี่ยน<strong>พ</strong>ฤติกรรมจากการเลือกใช้เครื่องสําอาง กลุ่มเสี่ยง ราคาถูก4.4 <strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้ประกอบการ โดย<strong>พ</strong>ัฒนาผู้ผลิตเครื่องสําอางตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตเครื่องสําอาง (GMP) เ<strong>พ</strong>ื่อให้เครื่องสําอางที่ผลิตในประเท<strong>ศ</strong>มีคุณภา<strong>พ</strong>ดี ปลอดภัย เป็นที่ยอมรับ ทั้งในและต่างประเท<strong>ศ</strong>ตลอดจนส่งเสริมและ<strong>พ</strong>ัฒนาอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ชุมชน วิสาหกิจชุมชนโดยจัดทําโครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาการใช้สมุนไ<strong>พ</strong>รในเครื่องสําอาง<strong>อย</strong>่างปลอดภัย โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาโรงงานต้นแบบเ<strong>พ</strong>ื่อเป็น<strong>ศ</strong>ูนย์กลางการผลิตผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนในแต่ละ<strong>พ</strong>ื้นที่4.5 <strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>บุคลากรและกระบวนงานฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ทั้งในส่วนกลาง ภูมิภาค/ท้องถิ่น และสังกัดกรุงเท<strong>พ</strong> ทั้งด้านวิชาการการฝึกปฏิบัติ เอกสารวิชาการ และข้อมูลข่าวสารส่งเสริมสนับสนุน จัดให้มี<strong>ศ</strong>ูนย์ข้อมูล บริการแก่ผู้บริโภคและผู้ประกอบธุรกิจในการตรวจสอบข้อมูลการจดแจ้ง เ<strong>พ</strong>ื่อให้ทั้งผู้บริโภคและผู้ประกอบการจําหน่ายสามารถมั่นใจได้ว่าสินค้าที่ใช้หรือที่สั่งซื้อได้มีการจดแจ้งไว้ตามกฎหมายแล้ว4.6 วิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์ความรู้1) <strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยและส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยน<strong>พ</strong>ฤติกรรมและทั<strong>ศ</strong>นคติต่อการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางโดยเน้นให้คํานึงถึงความปลอดภัยและใช้<strong>อย</strong>่างสมประโยชน์2) <strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยองค์ความรู้ทั้งในทางดานประสิทธิภา<strong>พ</strong>และความปลอดภัยชองสารที่ใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสําอาง5. ระยะเวลาดําเนินงานเดือนตุลาคม 2553 – กันยายน <strong>2557</strong>6. สถานที่ดําเนินงานส่วนกลาง (กรุงเท<strong>พ</strong>มหานคร) และส่วนภูมิภาคทั่วประเท<strong>ศ</strong>10


7. งบประมาณ<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> จํานวน 9 ล้านบาท (งบประมาณที่ได้รับจริง)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 12 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> 2556 จํานวน 15 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> <strong>2557</strong> จํานวน 18 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)8. ผู้รับผิดชอบโครงการกลุ่มควบคุมเครื่องสําอางกองควบคุมยากองงานด่านอาหารและยากอง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภคกองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น<strong>ศ</strong>ูนย์ประสารงาน<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด9. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ9.1 ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอาง9.2 เครื่องสําอางมีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน ส่งผลโดยตรงต่อผู้บริโภคและเอื้อต่อการส่งออก ในระดับคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานสากล9.3 ผู้บริโภคมีความรู้ในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยและใช้<strong>อย</strong>่างสมประโยชน์ไม่ตกเป็นเหยื่อการโฆษณาโอ้อวดเกินจริง9.4 สามารถประสานการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและข้อตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong>ทั้งในด้านคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน การรายงานอาการไม่<strong>พ</strong>ึงประสงค์และ Rapid Alert System11


4. การกํากับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการ <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. หลักการและเหตุผลสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาดําเนินงานคุ้มครองประชาชนให้ได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>มาเป็นเวลา 36 <strong>ปี</strong> และยังคง<strong>พ</strong>ัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคให้สมดุลทันต่อวิวัฒนาการของสังคม และกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกที่ปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป<strong>อย</strong>่างรวดเร็วทั้งทางด้านเทคโนโลยี เ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ สังคม และการเมือง ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบของการคุ้มครองผู้บริโภค การเปลี่ยนแปลงทางด้านเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ ข้อตกลงเขตการค้าเสรี การนํามาตรการทางเทคนิคมาใช้ในการกีดกันทางการค้า จึงจําเป็นต้องผลักดันให้มีการปรับระบบการคุ้มครองผู้บริโภคให้มีความสอดคล้องกันนําไปสู่การยอมรับซึ่งกันและกันในการตรวจสอบและรับรองคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์ การหลั่งไหลของข้อมูลข่าวสาร และการโฆษณาผ่านช่องทางต่าง ๆ ก่อให้เกิดสังคมบริโภคนิยมถูกครอบงําด้วยแรงจูงใจทางเ<strong>พ</strong><strong>ศ</strong>การบํารุงสุขภา<strong>พ</strong> ความงาม เหนี่ยวนําให้เกิดการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ทั้งหลายเหล่านี้ทําให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจําเป็นต้องดําเนินการตามภารกิจ<strong>อย</strong>่างจริงจังและต่อเนื่องมาโดยตลอด สังเกตได้จากการทบทวนปัญหาด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ใน<strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2552 <strong>พ</strong>บว่า ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่<strong>พ</strong>บบ่<strong>อย</strong>ได้แก่ กลุ่มผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับความงามที่มีสารห้ามใช้ หรือค่านิยมในการทํา<strong>ศ</strong>ัลยกรรมที่ไม่เหมาะสม ปัญหาการโฆษณาอวดอ้างสรร<strong>พ</strong>คุณเกินจริงของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ยาแผนโบราณ และยาปลอม รวมทั้งการโฆษณาวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกและเต็มเซลล์ที่ทําให้ผู้บริโภคเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง จะเห็นได้ว่า ปัญหาอันตรายที่เกิดจากการใช้และบริโภคอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์อื่นที่เกี่ยวข้อง เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภา<strong>พ</strong>ของประชาชน ควรรีบดําเนินการป้องกันและแก้ไขในเชิงรุกและกําหนดมาตรการรองรับในระยะยาวสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่หลักเกี่ยวกับการปกป้องและคุ้มครองสุขภา<strong>พ</strong>ของประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> โดยผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เหล่านั้นต้องมีคุณภา<strong>พ</strong>และปลอดภัย โดย<strong>พ</strong>ิจารณากลั่นกรองผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานของสถานประกอบการก่อนจําหน่ายในท้องตลาด ตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการให้เป็นไปตามกฎหมาย <strong>พ</strong>ัฒนาสถานประกอบการให้มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานเป็นต้น นอกจากนี้ ยังส่งเสริม<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องด้วยข้อมูลทางวิชาการที่มีหลักฐาน เชื่อถือได้ และมีความเหมาะสม เ<strong>พ</strong>ื่อประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ปลอดภัยและสมประโยชน์2.วัตถุประสงค์2.1 เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการมีคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด2.2 เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้ประกอบการสามารถนําเสนอ (ผลิต นําเข้า และจําหน่าย) ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong> ปลอดภัย12


3. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>เชิงปริมาณ :3.1 คําขออนุญาตผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ได้รับ ร้<strong>อย</strong>ละ 91 95 97 97การ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตแล้วเสร็จภายในเวลาที่กําหนด3.2 คําขออนุญาตสถานประกอบการได้รับ ร้<strong>อย</strong>ละ 92 93 94 95การ<strong>พ</strong>ิจารณาอนุญาตแล้วเสร็จภายในเวลาที่กําหนดเชิงคุณภา<strong>พ</strong> :3.3 ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบได้ ร้<strong>อย</strong>ละ 91 92 93 94มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด3.4 สถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนดร้<strong>อย</strong>ละ 92 93 94 954. กลวิธี/แผนการดําเนินงาน4.1 <strong>พ</strong>ิจารณากลั่นกรองผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>สุขภา<strong>พ</strong>ก่อนออกสู่ตลาด4.2 <strong>พ</strong>ิจารณาตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐานของสถานประกอบการก่อนอนุญาตให้มีการประกอบการ4.3 ตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ให้เป็นไปตามกฎหมาย4.4 ตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานความปลอดภัยของสถานประกอบการให้เป็นไปตามกฎหมาย4.5 <strong>พ</strong>ัฒนาสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน4.6 <strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน5. ระยะเวลาดําเนินงานเดือนตุลาคม 2553 – กันยายน <strong>2557</strong>6. สถานที่ดําเนินงานส่วนกลาง (กรุงเท<strong>พ</strong>ฯ และปริมณฑล)7. งบประมาณ<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> จํานวน 166.540 ล้านบาท (งบประมาณที่ได้รับจริง)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 454.440 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> 2556 จํานวน 545.328 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> <strong>2557</strong> จํานวน 654.393 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)13


8. ผู้รับผิดชอบโครงการกองผลิตภัณฑ์ (ยา อาหาร เครื่องสําอาง เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ วัตถุอันตราย และวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด)กองงานด่านอาหารและยาสํานักงานเลขานุการกรมกองแผนงานและวิชาการกองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นกลุ่มกฎหมายอาหารและยากลุ่มตรวจสอบภายใน<strong>ศ</strong>ูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เบ็ดเสร็จ9. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>และสถานประกอบการมีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด ทําให้ผู้บริโภคเกิดความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา14


5. โครงการควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> - <strong>2557</strong>1.หลักการและเหตุผลด้วยคณะกรรมการควบคุมยาเส<strong>พ</strong>ติดสากล (International Narcotics Control Board /INCB)มุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายในการร่วมกันกํากับดูแลปัญหาระดับชาติที่เกิดจากยาเส<strong>พ</strong>ติด โดยมีการกําหนด Project prism ซึ่งเป็นแผนงานระยะยาวที่จะควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่นํามาใช้ผลิตยาเส<strong>พ</strong>ติดโดยความร่วมมือกันของประเท<strong>ศ</strong>สมาชิก ทั้ง 38 ประเท<strong>ศ</strong> ซึ่งประเท<strong>ศ</strong>ไทยเป็นหนึ่งในสมาชิกที่มีบทบาทสําคัญ ประกอบกับรัฐบาลไทยได้กําหนดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การเร่งรัดแก้ไขปัญหายาเส<strong>พ</strong>ติดและปราบปรามผู้มีอิทธิ<strong>พ</strong>ลให้เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายฯ เ<strong>พ</strong>ื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้นําไปดําเนินการ <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขได้เล็งเห็นความสําคัญดังกล่าวจึงได้นํามากําหนดเป็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ของ<strong>กระทรวง</strong> โดยกองควบคุมวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารกฎหมาย 3 ฉบับที่เกี่ยวข้องทั้ง กฎหมายว่าด้วยยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษ กฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท และกฎหมายป้องกันการใช้สารระเหย โดยมีการดําเนินงานภายใต้นโยบายสวัสดิการสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ ของ รัฐบาล “ด้าน เร่งรัดการแก้ไขปัญหายาเส<strong>พ</strong>ติด<strong>อย</strong>่างเป็นระบบครบวงจร ทั้งด้านการป้องกัน การปราบปราม การบําบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภา<strong>พ</strong>ผู้ติดยาเส<strong>พ</strong>ติด ควบคู่กับการปรับปรุงกฎหมายโดยเคร่งครัด รวมทั้งขยายความร่วมมือกับประเท<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อนบ้านและนานาชาติในการแก้ไขปัญหายาเส<strong>พ</strong>ติด” สอดคล้องกับ ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ของ <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุข “ด้านการควบคุมสารตั้งต้นที่จะนําไปสู่การผลิตสารเส<strong>พ</strong>ติด<strong>อย</strong>่างใกล้ชิด” และประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ของ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา “เสริมสร้างระบบการเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันในการกระจายตัวยา และสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดให้เป็นไป<strong>อย</strong>่างถูกต้องตามกฎหมาย” เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากการนําวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดมาใช้ในทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ วิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์ และอุตสาหกรรม อีกทั้งยังเป็นการสร้างความร่วมมือกับผู้ประกอบการด้านวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด ให้มีการดําเนินการที่ถูกต้องตามกฎหมาย เ<strong>พ</strong>ื่อช่วยกันควบคุมไม่ให้รั่วไหลไปใช้นอกวัตถุประสงค์หรือนําไปผลิตเป็นยาเส<strong>พ</strong>ติด การดําเนินการดังกล่าวยึดนโยบายยาเส<strong>พ</strong>ติดของประเท<strong>ศ</strong> และกรอบยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ชาติปราบปรามยาเส<strong>พ</strong>ติดด้าน SUPPLY เป็นหลัก และหน่วยงานยังให้ความสําคัญกับระบบบริหารจัดการด้านวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดในความรับผิดชอบโดยเน้นระบบ และมองที่ผลสําเร็จเป็นสําคัญ2.วัตถุประสงค์เ<strong>พ</strong>ื่อควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นให้มีการดําเนินการถูกต้องตามที่กฎหมายกําหนด รวมถึงการเก็บรักษายาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษของกลาง โดยดําเนินงานร่วมกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง3. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัด หน่วย เป้าหมายนับ 54 55 56 571.ร้<strong>อย</strong>ละของผู้รับอนุญาตวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดดําเนินการถูกต้องตามกฎหมาย ร้<strong>อย</strong>ละ 95 96 97 9815


4. กลวิธี และแผนการดําเนินงานกลวิธีเสริมสร้างระบบการเฝ้าระวังควบคุมการนํามาใช้ซึ่งประโยชน์ทางการแ<strong>พ</strong>ทย์วิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์ และอุตสาหกรรมแผนการดําเนินงาน1.การดําเนินงานเ<strong>พ</strong>ื่อควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด ให้เป็นไป<strong>อย</strong>่างถูกต้องตามกฎหมายทั้ง 3 ฉบับ2. การดําเนินงานด้านการเก็บรักษา และทําลายยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษของกลาง เ<strong>พ</strong>ื่อควบคุมการเก็บรักษายาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษของกลางที่เหลือจากการตรวจ<strong>พ</strong>ิสูจน์ทั้งที่คดีสิ้นสุด และที่คดียังไม่สิ้นสุด และดําเนินการเ<strong>พ</strong>ื่อเผาทําลายยาเส<strong>พ</strong>ติดให้โทษของกลางด้วยวิธีการที่โปร่งใสเป็นระบบ3. การ<strong>พ</strong>ัฒนาและประสานกระบวนการทางกฎหมาย เ<strong>พ</strong>ื่อปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย ระเบียบประกา<strong>ศ</strong>ต่างๆ เกี่ยวกับวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด ให้สามารถนําไปบังคับใช้กับผู้กระทําผิดกฎหมาย และบําบัดผู้ติดยาเส<strong>พ</strong>ติด รวมถึงทบทวนกระบวนการด้านกฎหมายให้เป็นไปตาม Good Regulatory Practice และข้อตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong>4. การประสานความร่วมมือในการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบและแลกเปลี่ยนข้อมูลสนับสนุนเกี่ยวกับวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด เ<strong>พ</strong>ื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลการควบคุมยาเส<strong>พ</strong>ติดระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในประเท<strong>ศ</strong>และระหว่างประเท<strong>ศ</strong> โดยมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาฐานข้อมูลเ<strong>พ</strong>ื่อเฝ้าระวังการกระจาย และสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนในการควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นระยะเวลา54 55 56 57หมายเหตุเป็นงานบูรณาการร่วมกับกรมสนับสนุนบริการสุขภา<strong>พ</strong> สํานักสถาน<strong>พ</strong>ยาบาลและการประกอบโรค<strong>ศ</strong>ิลปะ และสาธารณสุขจังหวัดเป็นงานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานปราบปรามยาเส<strong>พ</strong>ติดและ สถานตรวจ<strong>พ</strong>ิสูจน์ทั่วประเท<strong>ศ</strong>เป็นงานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานปราบปราม(ปปส.)และกรมการแ<strong>พ</strong>ทย์/สถาบันธัญญารักษ์เป็นงานบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานปราบปรามยาเส<strong>พ</strong>ติดทั้งในประเท<strong>ศ</strong>(เช่นปปส.) และระหว่างประเท<strong>ศ</strong> (เช่น INCB)5.ระยะเวลาดําเนินการตุลาคม 2553 – กันยายน <strong>2557</strong>6.สถานที่ดําเนินงานส่วนกลาง7.งบประมาณ (รวมงบบุคลากร)<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> จํานวน 6.576 ล้านบาท (งบประมาณที่ได้รับจริง)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 18.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> 2556 จํานวน 20.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> <strong>2557</strong> จํานวน 22.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)16


8.ผู้รับผิดชอบแผนงานกองควบคุมวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา9. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ1.ประชาชนได้รับประโยชน์จากการนําวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดมาใช้ในทางการแ<strong>พ</strong>ทย์ วิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์ และอุตสาหกรรม และมีการใช้<strong>อย</strong>่างเหมาะสม2.เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ในการบูรณาการร่วมกันควบคุมวัตถุเส<strong>พ</strong>ติดไม่ให้รั่วไหลไปใช้นอกวัตถุประสงค์ หรือนําไปผลิตเป็นยาเส<strong>พ</strong>ติด ซึ่งเป็นการช่วยลดปัญหายาเส<strong>พ</strong>ติดด้านsupply(ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ชาติการปราบปรามยาเส<strong>พ</strong>ติด)ได้อีกทางหนึ่ง17


6. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. หลักการและเหตุผลแผน<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2550-<strong>2554</strong>) ข้อ 4.1 การ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>คนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญา ข้อ 4.2 การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมและนโยบายรัฐบาล ข้อ 1.9 เ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>การบริหารจัดการโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์มุ่งส่งเสริมให้วิสาหกิจผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนสามารถใช้ทรั<strong>พ</strong>ยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>พ</strong>ื่อเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์จากชุมชนสู่ตลาดทั้งในและต่างประเท<strong>ศ</strong><strong>ศ</strong>ูนย์ประสานงาน<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน (<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ช.) เป็นหน่วยงานหลักของ<strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขด้านการบูรณาการเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนให้มีคุณภา<strong>พ</strong> มาตรฐานปลอดภัย และใช้สมประโยชน์ เ<strong>พ</strong>ื่อคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> ได้กําหนดแนวทาง<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนแบบบูรณาการ เ<strong>พ</strong>ื่อส่งเสริมให้วิสาหกิจผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนมี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ด้านการผลิตที่มีมาตรฐาน สามารถ<strong>พ</strong>ัฒนากระบวนการผลิต ทั้งด้านสถานที่ และบุคลากรที่ได้มาตรฐานเ<strong>พ</strong>ื่อผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีคุณภา<strong>พ</strong>ปลอดภัยต่อการบริโภค ตลอดจนเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนด้วยการ บูรณาการงาน<strong>พ</strong>ัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนในหลายมิติ ภายใต้หลักเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ<strong>พ</strong>อเ<strong>พ</strong>ียงเ<strong>พ</strong>ื่อมุ่งสู่การ<strong>พ</strong>ัฒนาชุมชนและสังคม<strong>อย</strong>่างยั่งยืน2. วัตถุประสงค์2.1 <strong>พ</strong>ัฒนาวิสาหกิจผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนให้มีความรู้ ทั<strong>ศ</strong>นคติและการปฏิบัติด้านการผลิตผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนที่มีมาตรฐาน2.2 <strong>พ</strong>ัฒนาสถานที่ผลิตผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคีภาครัฐ ภาคเอกชนและประชนชนในการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน2.3 ส่งเสริมความเข้มแข็งของเครือข่ายวิสาหกิจผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน ส่งเสริมการวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนาตลอดจนเทคโนโลยีที่เหมาะสมแก่การ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน2.4 <strong>พ</strong>ัฒนาวิสาหกิจผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ให้เป็นต้นแบบการเรียนรู้ของชุมชนอื่นๆ2.5 ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเ<strong>พ</strong>ิ่มแก่ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนด้วยมาตรฐาน3. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัด หน่วยนับเป้าหมาย<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>3.1 ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนมี รายการ/ร้<strong>อย</strong>ละ 2,600/93 2,600/94 2,700/95 2,700/95คุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน3.2 สถานที่ผลิตผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> แห่ง/ร้<strong>อย</strong>ละ 2,600/92 2,600/92.50 2,700/93 2,700/93ชุมชนได้มาตรฐาน3.3 จํานวน<strong>ศ</strong>ูนย์เครือข่ายที่ได้รับ แห่ง - 120 120 120การ<strong>พ</strong>ัฒนา3.4 จํานวนการประชุม<strong>พ</strong>หุภาคี ครั้ง - 19 19 193.5 จํานวนงานวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนา เรื่อง - 2 2 23.6 จํานวนสื่อเผยแ<strong>พ</strong>ร่และ ฉบับ/เล่ม - 6/90,000 6/90,000 6/90,000ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์18


4. กลวิธี / แผนการดําเนินงาน4.1 อบรม<strong>พ</strong>ัฒนาความรู้และทักษะการผลิตที่มีมาตรฐาน4.2 ประเมินรับรองมาตรฐานสถานที่ผลิต4.3 เฝ้าระวัง/ประเมินสถานการณ์ด้านคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน4.4 ประชุมสัมมนา<strong>พ</strong>หุภาคี4.5 ส่งเสริมเครือข่ายวิสาหกิจผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนและ<strong>ศ</strong>ูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ4.6 วิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนา4.7 เผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ผ่านสื่อ5. ระยะเวลาดําเนินงานเดือนตุลาคม 2553 – กันยายน <strong>2557</strong>6. สถานที่ดําเนินงานส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค7. งบประมาณ<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> จํานวน 4.307 ล้านบาท (งบประมาณที่ได้รับจริง)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 47.834 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> 2556 จํานวน 52.617 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> <strong>2557</strong> จํานวน 57.878 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)8. ผู้รับผิดชอบโครงการ<strong>ศ</strong>ูนย์ประสานงาน<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชน กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น9. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ9.1 ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนมีคุณภา<strong>พ</strong> ปลอดภัย และมี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>เชิง<strong>พ</strong>าณิชย์9.2 สถานที่ผลิตผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ชุมชนได้มาตรฐาน19


7. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong> <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> – <strong>2557</strong>1. หลักการและเหตุผลสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้จัดทําโครงการระบบสํานักงานอัตโนมัติ(<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2540-2542) โดยมุ่งเน้นการนําเอาอุปกรณ์และเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาเสริมการทํางานของเจ้าหน้าที่เ<strong>พ</strong>ื่อให้งานทั้งทางด้านบริการผู้ประกอบการได้รวดเร็ว ฉับไว เป็นที่<strong>พ</strong>อใจของผู้รับบริการและทางด้านคุ ้มครองผู้บริโภคให้ได้บริโภคผลิตภัณฑ์คุณภา<strong>พ</strong>ที่ดี มีคุณภา<strong>พ</strong>รวมทั้งได้รับข้อมูลข่าวสารเชิงรุกที่เป็นประโยชน์ในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่สมประโยชน์ อันเป็นการช่วยให้ผู้บริโภครู้จัดและคุ้มครองผู้บริโภค<strong>อย</strong>่างแท้จริงนอกจากนี้ใน<strong>ปี</strong> 2540 <strong>อย</strong>.ได้<strong>พ</strong>ัฒนา website สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ URL http://www.fda.moph.go.th และเริ่มเปิดให้บริการ e-mailแก่เจ้าหน้าที่<strong>อย</strong>.ด้วยโดยเครื่องคอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์ลูกข่ายสามารถ connect กับ Internet ได้โดยตรงใน<strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2546 <strong>อย</strong>.ได้ทําการขยายระบบเครือข่ายของหน่วยงานจากความเร็ว10 mbps เป็น 100 mbps ทั้งสํานักงาน<strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2547 มีการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบเชื่อมโยงระบบบริหารงานคลัง เป็นการ<strong>พ</strong>ัฒนาต่<strong>อย</strong>อดมาจากระบบบริหารงานคลัง ที่มีการใช้งาน<strong>อย</strong>ู่ในปัจจุบัน เป็นระบบที่มีการอํานวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่ในการกันเงิน/ผูก<strong>พ</strong>ัน/เบิกจ่ายเงินงบประมาณ นอกจากนี้ยังมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาในส่วนของการ Download แบบฟอร์ม ซึ่งเป็นการอํานวยความสะดวกให้กับผู้ประกอบการอีกด้วยใน<strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2551-2552 <strong>ศ</strong>ูนย์เทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong> ได้<strong>พ</strong>ัฒนาระบบสารสนเท<strong>ศ</strong>โลจิสติกส์ด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> ซึ่งเป็นการ<strong>พ</strong>ัฒนาแบบ Web base Application โดยทํางานบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งระบบนี้จะช่วยอํานวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่ทั้งในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาและสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดได้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้มีการวางแผนและดําเนินการจัดหาระบบคอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์และระบบเครือข่าย<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง ทําให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีโครงสร้างระบบคอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์และระบบเครือข่ายที่ค่อนข้างสมบูรณ์ นอกจากนี้ยังมีระบบสารสนเท<strong>ศ</strong>ที่<strong>พ</strong>ัฒนาขึ้นเ<strong>พ</strong>ื่อรองรับการปฏิบัติงาน แต่การใช้งานระบบสารสนเท<strong>ศ</strong>ยังมีปัญหาและอุปสรรค<strong>อย</strong>ู่ เนื่องจากสถานการณ์ด้านเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง<strong>อย</strong>่างรวดเร็ว ทําให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาต้องเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมรองรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟท์แวร์ ทั้งนี้หากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยานิ่งเฉยต่อสถานการณ์ดังกล่าว ไม่ก้าวทันต่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย จักส่งผลให้ระบบการกํากับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ล่าช้า ส่งผลกระทบต่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ของประชาชน สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงต้องมีการดําเนินจัดทําโครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาขึ้น โดยมีแผนการ<strong>พ</strong>ัฒนาทั้งด้านฮาร์ดแวร์โดยการสํารวจเครื่องคอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์ที่มี<strong>อย</strong>ู่ในสํานักงานฯที่ล้าสมัย ไม่สามารถรองรับระบบสารสนเท<strong>ศ</strong>ที่กําลัง<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ร้อมให้บริการกับประชาชน รวมทั้งการ<strong>พ</strong>ัฒนาด้านซอฟท์แวร์ เ<strong>พ</strong>ื่อสนับสนุนการดําเนินงานอิเลคทรอนิคส์ให้มีความทันสมัย สามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานอื่นได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ยิ่งขึ้น20


2. วัตถุประสงค์2.1 เ<strong>พ</strong>ื่อบํารุงรักษาระบบคอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา2.2 เ<strong>พ</strong>ื่อจัดเตรียมข้อมูลและให้บริการด้าน IT2.3 เ<strong>พ</strong>ื่อให้บริการอินเทอร์เน็ตและจดหมายอิเล็กทรอนิกส์2.4 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากรให้สามารถนําเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>มาใช้ในการปฏิบัติงานได้2.5 เ<strong>พ</strong>ื่อจัดหาอุปกรณ์คอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์เ<strong>พ</strong>ื่อการเชื่อมโยงข้อมูลการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>2.6 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ <strong>พ</strong>ร้อมให้ข้อมูลความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>2.7 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาและปรับปรุงฐานข้อมูลให้มีความทันสมัย3. ตัวชี้วัดและเป้าหมายเป้าหมายตัวชี้วัด หน่วยนับผู้ใช้บริการมีความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจต่อระบบเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>ของ <strong>อย</strong>.<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>ร้<strong>อย</strong>ละ 73 74 75 754. กลวิธี/แผนการดําเนินการ4.1 บํารุงรักษาระบบคอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์หลักของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา4.2 จัดเตรียมข้อมูลและให้บริการด้าน IT4.3 ให้บริการอินเทอร์เน็ตและจดหมายอิเล็กทรอนิกส์4.4 <strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากร4.5 <strong>พ</strong>ัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยของระบบคอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์หลัก4.6 จัดหาครุภัณฑ์คอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์ที่จําเป็นในการปฏิบัติงาน4.7 จัดหา Software ที่จําเป็นในการปฏิบัติงาน4.8 <strong>พ</strong>ัฒนาระบบสารสนเท<strong>ศ</strong>ให้ครอบคลุมงานที่ปฏิบัติ5. ระยะเวลาดําเนินงานเดือนตุลาคม 2553 - กันยายน <strong>2557</strong>6. สถานที่ดําเนินงานสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา7. งบประมาณ<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> จํานวน 27.479 ล้านบาท (งบประมาณที่ได้รับจริง)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 65.824 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> 2556 จํานวน 72.406 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> <strong>2557</strong> จํานวน 79.645 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)8. ผู้รับผิดชอบโครงการ<strong>ศ</strong>ูนย์เทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong> กองแผนงานและวิชาการ21


9. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ9.1 มีระบบฐานข้อมูลงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่เชื่อมโยงงานกํากับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ก่อนและหลังออกวางจําหน่าย ตลอดจนการทํางานในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเป็นหนึ่งเดียว9.2 มีระบบการประเมินประสิทธิภา<strong>พ</strong>และความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ประสานข้อมูลงานกํากับดูแลผลิตภัณฑ์ก่อนและหลังออกสู่ตลาดโดยใช้แฟ้มข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>9.3 มีระบบให้บริการในการทําธุรกรรมต่าง ๆ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์กับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา9.4 มีระบบฐานข้อมูลที่สามารถรองรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งใน และต่างประเท<strong>ศ</strong>22


8. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาความปลอดภัยด้านสารเคมี: การบูรณาการด้าน GHS <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong>-25551. หลักการและเหตุผลการนําระบบสากลการจําแนกความเป็นอันตรายและการติดฉลากสารเคมีและเคมีภัณฑ์ หรือระบบ GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) มาใช้ปฏิบัติในประเท<strong>ศ</strong>ไทยเป็นนโยบายสืบเนื่องจากการที่ที่ประชุมสุดยอดว่าด้วยการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืน (WorldSummit on Sustainable Development, WSSD) เมื่อ<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2545 มีมติให้ทุกประเท<strong>ศ</strong>นําระบบ GHSไปปฏิบัติโดยกลุ่มสารเคมีเป้าหมาย ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร ภาคการขนส่ง และภาคผลิตภัณฑ์สําหรับผู้บริโภค ระบบ GHS จะช่วยส่งเสริมการจัดการด้านสารเคมีเ<strong>พ</strong>ื่อความปลอดภัยของสุขภา<strong>พ</strong>มนุษย์และสิ่งแวดล้อมและช่วยลดข้อกีดกันทางการค้าของสารเคมีและผลิตภัณฑ์เคมีระหว่างประเท<strong>ศ</strong> ทั้งนี้ ประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีนโยบายที่จะนําระบบ GHS มาใช้ปฏิบัติกับวัตถุอันตรายภายใต้<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติวัตถุอันตราย <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2535 โดยคาดว่าจะสามารถประกา<strong>ศ</strong>ใช้ได้ภายใน<strong>ปี</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2553 และกําหนดระยะเวลาดําเนินการสําหรับสารเดี่ยว (substance) เป็นเวลา 1 <strong>ปี</strong> และสําหรับสารผสม (mixture)เป็นเวลา 5 <strong>ปี</strong> นับจากวันที่ประกา<strong>ศ</strong>มี ผลใช้บังคับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นหนึ่งในหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง ต่อการนําระบบ GHS มาใช้ปฏิบัติในประเท<strong>ศ</strong>ไทย ทั้งในระดับนโยบาย ระดับวิชาการ และระดับการนําไปปฏิบัติ การดําเนินงานเป็นการดําเนินงานแบบบูรณาการตามแผนปฏิบัติการ 4 <strong>ปี</strong>(<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551-<strong>2554</strong>) ของโครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาความปลอดภัยด้านสารเคมี: การบูรณาการด้าน GHS ซึ่ง<strong>อย</strong>ู่ภายใต้ความรับผิดชอบของ 2 หน่วยงาน ได้แก่ กลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย รับผิดชอบการบังคับใช้ระบบGHS และการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>เจ้าหน้าที่ ผู้ประกอบการ และผู้บริโภคเ<strong>พ</strong>ื่อรองรับการนําระบบ GHS มาใช้ปฏิบัติ และ<strong>ศ</strong>ูนย์<strong>พ</strong>ัฒนานโยบายแห่งชาติด้านสารเคมี ซึ่งเป็น<strong>ศ</strong>ูนย์ประสานงานโครงการ Thailand-UNITAR/ILO GHS Capacity Building มีหน้าที่รับผิดชอบด้านการสร้างความตระหนักแก่ผู้เกี่ยวข้องในภา<strong>พ</strong>รวม โดยเฉ<strong>พ</strong>าะ<strong>อย</strong>่างยิ่งการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้ใช้สารเคมีและผลิตภัณฑ์เคมีให้ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้สารเคมีเ<strong>พ</strong>ื่อการใช้สารเคมี<strong>อย</strong>่างปลอดภัย โดยมุ่งหวังให้เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการด้านสารเคมี<strong>อย</strong>่างยั่งยืนสําหรับ<strong>ปี</strong>งบประมาณ <strong>2554</strong> ต่อเนื่องถึง<strong>ปี</strong> 2555 จะเป็น<strong>ปี</strong>ที่มีความสําคัญ<strong>อย</strong>่างยิ่งเนื่องจากคาดว่าจะเป็น<strong>ปี</strong>แรกที่ระบบ GHS จะมีผลใช้บังคับ<strong>อย</strong>่างเต็มรูปแบบกับผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่เป็นสารเดี่ยว แผนการดําเนินงานจึงเน้นด้านการส่งเสริมและติดตามการนําระบบ GHS ไปใช้ปฏิบัติ และการขยายผลการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ูนย์การเรียนรู้และการ<strong>พ</strong>ัฒนาโรงเรียนต้นแบบเรื่องระบบ GHS ให้แก่เด็กและเยาวชนเ<strong>พ</strong>ื่อการวางรากฐาน<strong>อย</strong>่างยั่งยืนด้านการสื่อสารความเป็นอันตรายตามระบบ GHS กิจกรรมเหล่านี้จะช่วยผลักดันให้การนําระบบ GHS มาใช้ปฏิบัติสัมฤทธิ์ผล ผลลั<strong>พ</strong>ธ์สูงสุดที่คาดว่าจะได้รับจากการดําเนินโครงการ คือ การนําระบบ GHS มาใช้จะเป็นส่วนหนึ่งของแรงขับเคลื่อนในการวางรากฐาน<strong>อย</strong>่างยั่งยืนให้แก่การบริหารจัดการและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย2.วัตถุประสงค์2.1 เ<strong>พ</strong>ื่อส่งเสริมและ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>เจ้าหน้าที่และผู้ประกอบการในการนําระบบ GHS มาใช้ปฏิบัติกับผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือนและทางสาธารณสุข2.2 เ<strong>พ</strong>ื่อเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้และสร้างความเข้าใจในการสื่อสารความเป็นอันตรายตามระบบ GHSให้แก่ผู้บริโภค และผู้ใช้ผลิตภัณฑ์เคมี23


2.3 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ูนย์การเรียนรู้เรื่องระบบ GHS และความปลอดภัยด้านสารเคมีสําหรับเยาวชนโดยเป็นการต่<strong>อย</strong>อดจากโรงเรียนต้นแบบเรื่องระบบ GHS <strong>พ</strong>ร้อมทั้ง<strong>พ</strong>ัฒนาเครือข่ายที่สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผล3.ตัวชี้วัดและเป้าหมายเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด3.1 ผู้ประกอบการมี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการปฏิบัติตามระบบ GHS และมีส่วนร่วมในการดําเนินการ3.2 ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายมีการแสดงฉลากตามระบบ GHS3.3 ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจเรื่องการบังคับใช้ระบบ GHS กับผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย3.4 มี<strong>ศ</strong>ูนย์<strong>พ</strong>ัฒนาการเรียนรู้เรื่องระบบGHS และความปลอดภัยด้านสารเคมีสําหรับเยาวชนที่สามารถส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องการสื่อสารความเป็นอันตรายของสารเคมีตามระบบ GHSรวมทั้งสร้างความเข้าใจและความตระหนักเ<strong>พ</strong>ื่อการใช้สารเคมี<strong>อย</strong>่างถูกต้องและปลอดภัยจํานวนผู้ประกอบการและผู้สนใจที่เข้าร่วมการประชุมชี้แจงการบังคับใช้ระบบ GHSและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องร้<strong>อย</strong>ละของวัตถุอันตรายที่เป็นสารเดี่ยวมีการแสดงฉลากตามระบบ GHSจํานวนสื่อเผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ (ชุด)จํานวน<strong>ศ</strong>ูนย์การเรียนรู้เรื่องระบบ GHS และความปลอดภัยด้านสารเคมี <strong>พ</strong>ร้อมเครือข่าย(<strong>ศ</strong>ูนย์)เป้าหมาย<strong>ปี</strong> 54 <strong>ปี</strong> 55320 32070 703 31 14. กลวิธี / แผนการดําเนินงาน4.1 โครงการเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมเ<strong>พ</strong>ื่อนําระบบ GHS มาใช้กับผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือนและทางสาธารณสุข4.2 โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาฉลากผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย: การจัดทําฉลากวัตถุอันตรายประเภทผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อ4.3 โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ูนย์การเรียนรู้ เรื่อง ระบบสากล GHS และความปลอดภัยสารเคมีสําหรับเยาวชน5. ระยะเวลาดําเนินงานเดือนตุลาคม 2553 - กันยายน 25556. สถานที่ดําเนินงานกลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย สํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย<strong>ศ</strong>ูนย์<strong>พ</strong>ัฒนานโยบายแห่งชาติด้านสารเคมี (IPCS)24


7. งบประมาณ<strong>ปี</strong>งบประมาณงบดําเนินงาน (บาท)รวมงบประมาณกลุ่มควบคุม <strong>ศ</strong>ูนย์<strong>พ</strong>ัฒนานโยบาย(บาท)วัตถุอันตราย แห่งชาติด้านสารเคมีหมายเหตุ<strong>2554</strong> 742,450 600,000 1,342,450 งบประมาณที่ได้รับจริง2555 890,940 720,000 1,610,940 ประมาณการคําของบประมาณ8. ผู้รับผิดชอบโครงการกลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย สํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย<strong>ศ</strong>ูนย์<strong>พ</strong>ัฒนานโยบายแห่งชาติด้านสารเคมี (IPCS) กองแผนงานและวิชาการ9. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ9.1 วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือนหรือทางสาธารณสุขมีระบบการจําแนกประเภทความเป็นอันตรายและการติดฉลากเ<strong>พ</strong>ื่อสื่อสารความเป็นอันตรายเป็นไปตามระบบ GHS9.2 ผู้บริโภคใช้ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย<strong>อย</strong>่างปลอดภัยผ่านการสื่อสารความเป็นอันตรายตามระบบ GHS9.3 เด็กและเยาวชนได้รับการส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องการสื่อสารความเป็นอันตรายของสารเคมีตามระบบ GHS ตลอดจนมีความเข้าใจและตระหนักในการใช้สารเคมี<strong>อย</strong>่างถูกต้องและปลอดภัยผ่านกลไกการ<strong>พ</strong>ัฒนาโรงเรียนต้นแบบและการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ูนย์การเรียนรู้เรื่องระบบ GHSและความปลอดภัยด้านสารเคมีและเครือข่าย25


9. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. หลักการและเหตุผลจากสภา<strong>พ</strong>ทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ สังคม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทําให้ทั<strong>ศ</strong>นคติ ค่านิยมและความเชื่อในการบริโภคสินค้าของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับความรู้ที่ไม่เท่าทันผู้ประกอบการและการแข่งขันกันทางการค้า ที่ผู้ประกอบการ<strong>พ</strong>ยายามผลิตและ<strong>พ</strong>ัฒนาสินค้าเ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคและให้มียอดจําหน่ายมากที่สุด โดย<strong>พ</strong>ยายาม หาวิธีการต่าง ๆ มาใช้เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้บริโภคหันมาสนใจในผลิตภัณฑ์ของตน เช่น โดยการโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ บางครั้งหลอกลวงหรือโอ้อวดเกินจริง หรือการให้ข่าวสาร ข้อเท็จจริงเ<strong>พ</strong>ียงด้านเดียว ทําให้ผู้บริโภคสับสนและเข้าใจผิดหรือการใช้วัตถุดิบที่ไม่มีคุณภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อให้ราคาสินค้าถูก มีของแจก ของแถม เหล่านี้ ล้วนมีส่วนส่งเสริม<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคทั้งสิ้นซึ่งหากผู้บริโภคไม่มีความรู้เท่าทัน ทั้งยังไม่ทราบสิทธิของตนเองที่<strong>พ</strong>ึงจะกระทําได้เมื่อถูกละเมิดสิทธิ ย่อมทําให้ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม โดยเฉ<strong>พ</strong>าะผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> อันได้แก่ ยา อาหารเครื่องสําอาง เครื่องมือแ<strong>พ</strong>ทย์ วัตถุอันตรายที่ใช้ทางสาธารณสุข และวัตถุเส<strong>พ</strong>ติด ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิต หากผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ไม่เหมาะสมแล้ว อาจทําให้ผู้บริโภคต้องสูญเสียเงิน เสียเวลาและเสียโอกาสในการรักษา แต่หากผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องเหมาะสมแล้วย่อมทําให้มีสุขภา<strong>พ</strong>ดี แข็งแรง ลดความเสี่ยงในการเกิดปัญหาสุขภา<strong>พ</strong>จากโรคเรื้อรังนําไปสู่การคุณภา<strong>พ</strong>ชีวิตที่ดีต่อไปสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการคุ้มครองผู้บริโภคเ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้บริโภคได้ใช้ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ดี มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐาน และมีความปลอดภัย ซึ่งนอกจากการกํากับดูแล และตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ออกสู่ท้องตลาดมีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานแล้ว การ<strong>พ</strong>ัฒนาผู้บริโภคให้มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการเลือกซื้อ เลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่มีประโยชน์และปลอดภัย ก็มีส่วนสําคัญ<strong>อย</strong>่างยิ่ง ซึ่งด้วยข้อจํากัดทางด้านบุคลากรและงบประมาณ ทําให้สํานักงานฯไม่สามารถดําเนินการกํากับดูแล และตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ได้<strong>อย</strong>่างทั่วถึงทุก<strong>พ</strong>ื้นที่และไม่สามารถระวังภัยให้ผู้บริโภคได้ตลอดเวลา จึงจําเป็นต้องติดอาวุธทางปัญญาให้แก่ผู้บริโภค เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู้บริโภคมีความรู้ สามารถคุ้มครองตนเองและครอบครัวได้ และมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>โดยการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลข่าวสารและความรู้ที่ถูกต้อง ทันเหตุการณ์ ให้รับทราบและใช้เป็นข้อมูลในการ<strong>พ</strong>ิจารณาเลือกซื้อเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong><strong>อย</strong>่างเหมาะสมและปลอดภัย รวมถึงการประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์การดําเนินงานของสํานักงานฯเ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นในองค์กรและผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ได้รับการรับรองจากสํานักงานฯ ซึ่งจะก่อให้เกิดความร่วมมือในการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในการแจ้งข้อมูลหรือเบาะแสเมื่อ<strong>พ</strong>บผลิตภัณฑ์หรือโฆษณาที่น่าสงสัย ตลอดจนการรณรงค์ให้ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง ตระหนักถึงความสําคัญของการเลือกซื้อเลือกบริโภค และตื่นตัวในการปกป้องสิทธิผู้บริโภคโดยการร้องเรียนเมื่อไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือได้รับอันตรายหรือเสียหายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>2. วัตถุประสงค์2.1 เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนมีความรู้ สามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ได้<strong>อย</strong>่างปลอดภัย2.2 เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>2.3 เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนมีความเชื่อมั่นต่อ <strong>อย</strong>.ในการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>26


3. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>3.1 ผู้บริโภคมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong> ร้<strong>อย</strong>ละ 88 89 90 90ที่ถูกต้อง3.2 ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ ร้<strong>อย</strong>ละ 84 86 88 90สุขภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้อง3.3 จํานวนเครือข่ายมีส่วนร่วมในกิจกรรม งานคุ้มครองผู้บริโภคเครือข่าย 1 1 1 14. กลวิธี / แผนการดําเนินงาน4.1 เผยแ<strong>พ</strong>ร่องค์ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ผ่านสื่อต่าง ๆ ได้แก่1) สื่อโทรทั<strong>ศ</strong>น์ในรูปแบบรายการประจํา สารคดี สปอตโทรทั<strong>ศ</strong>น์2) สื่อวิทยุในรูปแบบรายการสารคดี สปอตวิทยุ3) สื่อสิ่ง<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์ เช่น หนังสือ<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์ โปสเตอร์ แผ่น<strong>พ</strong>ับ คู่มือ ชุดนิทรร<strong>ศ</strong>การ จดหมายข่าว เป็นต้น4) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น เว็บไซต์ สายด่วน เป็นต้น4.2 ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์เชิงรุกและทั่วไป เ<strong>พ</strong>ื่อสร้างความตระหนักและความเข้าใจในการบริโภค<strong>อย</strong>่างปลอดภัย สร้างความเชื่อมั่นต่อ <strong>อย</strong>. ในฐานะองค์กรคุ้มครองผู้บริโภค และให้ความร่วมมือในการดําเนินงาน เช่น การแจ้งเบาะแส การร้องเรียน เป็นต้น โดยผ่านสื่อต่าง ๆ ได้แก่1) สื่อโทรทั<strong>ศ</strong>น์ในรูปแบบสารคดีเชิงข่าว2) สื่อสิ่ง<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์ เช่น หนังสือ<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์ จุลสาร ข่าวแจก เป็นต้น3) แถลงข่าว4.3 จัดทําโครงการรณรงค์เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาให้ผู้บริโภคมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>1) รณรงค์ผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น สื่อโทรทั<strong>ศ</strong>น์ วิทยุ หนังสือ<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์ หนังสือการ์ตูน คู่มือ เป็นต้น2) ปลูกฝังจิตสํานึกในกลุ่มเยาวชนของชาติโดยการสนับสนุนให้ทํากิจกรรมสุขภา<strong>พ</strong>3) จัดกิจกรรมใน<strong>พ</strong>ื้นที่ เช่น กิจกรรมรณรงค์ ตรวจเยี่ยม เป็นต้น4.4 สร้าง สนับสนุนและ<strong>พ</strong>ัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค<strong>อย</strong>่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน เช่น เครือข่าย <strong>อย</strong>.น้<strong>อย</strong> เครือข่ายภาคประชาชน เป็นต้น4.5 การ<strong>พ</strong>ัฒนาส่วนสนับสนุนในงานคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ งานวิจัย การ<strong>พ</strong>ัฒนาบุคลากรและงาน<strong>พ</strong>ัฒนาการดําเนินงานด้านต่าง ๆ เช่นการ<strong>พ</strong>ัฒนาฐานข้อมูล เป็นต้น5. ระยะเวลาดําเนินการเดือนตุลาคม 2553– กันยายน <strong>2557</strong>6. สถานที่ดําเนินงานทั่วประเท<strong>ศ</strong>27


7. งบประมาณ<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> จํานวน 82.144 ล้านบาท (งบประมาณที่ได้รับจริง)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 150.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> 2556 จํานวน 180.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> <strong>2557</strong> จํานวน 200.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)8. ผู้รับผิดชอบโครงการกอง<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ผู้บริโภค9. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ9.1 ประชาชนมีความรู้ สามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ได้<strong>อย</strong>่างปลอดภัย9.2 ประชาชนมี<strong>พ</strong>ฤติกรรมการบริโภคเ<strong>พ</strong>ื่อสุขภา<strong>พ</strong>9.3ประชาชนมีความเชื่อมั่นต่อ <strong>อย</strong>.ในการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>28


10. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาและจัดตั้งด่านอาหารและยา <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. หลักการและเหตุผลปัจจุบันหลักการค้าเสรีและมาตรการปลอดกําแ<strong>พ</strong>งภาษีเป็นที่ยอมรับในประเท<strong>ศ</strong>ต่างๆ จึงก่อให้เกิดการเจรจาข้อตกลงเขตการค้าเสรี (FTA) ในหลายภูมิภาค เช่น AFTA, BIMSTEC, ASEAN+3 เป็นต้น และการเจรจาข้อตกลงแบบทวิภาคีกับประเท<strong>ศ</strong>ต่างๆ หลายประเท<strong>ศ</strong> เช่น ไทย-อินเดีย ไทย-ญี่ปุ่น เป็นต้นส่งผลให้การนําเข้าสินค้าจากต่างประเท<strong>ศ</strong>สะดวกขึ้นจนทําให้มีการนําเข้าสินค้าจากต่างประเท<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ิ่มสูงขึ้นเป็นจํานวนมาก ในขณะเดียวกันรัฐบาลมีนโยบายให้หน่วยงานที่ทําหน้าที่ดูแลการนําเข้า-ส่งออกอํานวยความสะดวกให้กับผู้ประกอบด้วยการปรับปรุงขั้นตอนการทํางานให้เป็นไป<strong>อย</strong>่างรวดเร็วเ<strong>พ</strong>ื่อลดต้นทุนด้านLogistic ลง เ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับผู้ส่งออกในตลาดต่างประเท<strong>ศ</strong> ส่งผลกระทบต่อระบบการตรวจสอบสินค้าที่มีการกําหนดเรื่องคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานและความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ดังจะเห็นว่าสถานการณ์การแข่งขันด้านการค้าในตลาดโลกเป็นไป<strong>อย</strong>่างรุนแรง มีการลดต้นทุนการผลิตด้วยการใช้วัตถุดิบที่ไม่มีคุณภา<strong>พ</strong>มาตรฐานจนเกิดเหตุการณ์ที่ผลิตภัณฑ์จากต่างประเท<strong>ศ</strong>หลายรายการที่ก่อให้เกิดการเสียชีวิต และอันตรายต่อผู้บริโภคเป็นจํานวนมาก ตัว<strong>อย</strong>่าง เช่น การปนเปื้อนเมลามีนในอาหาร การปนเปื้อนสาร Diethylene glycol ในผลิตภัณฑ์ยาที่ประเท<strong>ศ</strong>ปานามาทําให้มีผู้เสียชีวิตกว่า ๑๐๐ ราย หรือการปนเปื้อนสาร Diethylene glycol ในยาสีฟันและอาหารสัตว์ เป็นต้น ตลอดจนมีการปรับปรุงและจัดตั้งเขต free zone มากขึ้น ทําให้ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>หลากหลายชนิดที่มีต้นทุนต่ํามีโอกาสลักลอบนําเข้ามาจําหน่ายในประเท<strong>ศ</strong>มากขึ้นการควบคุมและกํากับดูแลความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>นําเข้าซึ่งเป็นหน้าที่รับผิดชอบของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยกองงานด่านอาหารและยา เป็นปราการด่านแรกที่จะสกัดกั้นผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>นําเข้าที่ไม่ปลอดภัย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเห็นความจําเป็นในการลงทุนเ<strong>พ</strong>ื่อจัดตั้งด่านอาหารและยาทั่วประเท<strong>ศ</strong> เนื่องจากปัจจุบันด่านอาหารและยายังมีไม่ครอบคลุมทุกช่องทางการเข้า-ออกสินค้าของกรม<strong>ศ</strong>ุลกากร อาจเป็นเหตุทําให้การตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>เป็นไป<strong>อย</strong>่างไม่ทั่วถึง การจัดตั้งด่านอาหารและยาดังกล่าวจําเป็นต้องมีสํานักงานในการบริหารงานด่านอาหารและยา และมีห้องปฏิบัติการที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการคัดกรองผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงด้วยวิธีการทดสอบเบื้องต้น<strong>อย</strong>่างรวดเร็ว อันจะเป็นการลดจํานวนและลดค่าใช้จ่ายในการส่งตรวจวิเคราะห์ที่ห้องปฏิบัติการของกรมวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์การแ<strong>พ</strong>ทย์ลง เ<strong>พ</strong>ื่อให้การดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ของด่านอาหารและยาเป็นไป<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>มากยิ่งขึ้น2. วัตถุประสงค์2.1 เ<strong>พ</strong>ื่อจัดตั้งและ<strong>พ</strong>ัฒนาด่านอาหารและยาทั่วประเท<strong>ศ</strong>ให้มีสํานักงานที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการสนับสนุนงานกํากับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>2.2 เ<strong>พ</strong>ื่อจัดให้มีห้องปฏิบัติการ<strong>พ</strong>ื้นฐาน และอุปกรณ์ทดสอบเบื้องต้นผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>นําเข้า2.3 เ<strong>พ</strong>ื่อจัดให้มียาน<strong>พ</strong>าหนะสําหรับใช้ปฏิบัติงานประจําด่านอาหารและยา29


3. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>1. จัดตั้งด่านอาหารและยาแห่งใหม่ที่<strong>พ</strong>ร้อม ด่าน 6 1 1 1ปฏิบัติงาน2. <strong>พ</strong>ัฒนาด่านอาหารและยาเดิมให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> ด่าน 6 2 2 2ที่<strong>พ</strong>ร้อมปฏิบัติงาน3. จัดหารถยนต์ประจําด่านโดยการซื้อหรือเช่า คัน 6 13 14 154. จัดซื้อเครื่องมือตรวจวิเคราะห์เอกลักษณ์โดยใช้เทคนิครามันเครื่อง 1 2 2 -4. กลวิธี/แผนการดําเนินงาน4.1 ประสานงานขอความอนุเคราะห์เจ้าของ<strong>พ</strong>ื้นที่หรือด่าน<strong>ศ</strong>ุลกากรในการจัดสรร<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>พ</strong>ื่อใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติงาน หรือเ<strong>พ</strong>ื่อตั้งตู้คอนเทนเนอร์เคลื่อนที่ เป็นสํานักงานและห้องปฏิบัติการ4.2 จัดซื้อ ตู้คอนเทนเนอร์ หรือจัดจ้างปรับปรุงห้องเ<strong>พ</strong>ื่อใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติงาน4.3 จัดซื้อครุภัณฑ์ที่จําเป็นสําหรับสํานักงาน และห้องปฏิบัติการ4.4 จัดซื้อเครื่องมือตรวจวิเคราะห์เอกลักษณ์โดยใช้เทคนิครามัน (Raman techniqueSpectrophotometer)4.5 จัดหารถยนต์ที่<strong>พ</strong>ร้อมใช้ปฏิบัติงาน โดยการซื้อหรือเช่า5. ระยะเวลาดําเนินการเดือน ตุลาคม 2553 ถึง กันยายน <strong>2557</strong>6. สถานที่ดําเนินงานด่านทั่วประเท<strong>ศ</strong>7. งบประมาณ<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> จํานวน 17.111 ล้านบาท (งบประมาณที่ได้รับจริง)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 10.120 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> 2556 จํานวน 10.360 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> <strong>2557</strong> จํานวน 6.200 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)8. ผู้รับผิดชอบโครงการกองงานด่านอาหารและยา9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ9.1 มีสํานักงานด่านอาหารและยา<strong>พ</strong>ร้อมห้องปฏิบัติการทั่วประเท<strong>ศ</strong>ที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>นําเข้าส่งผลให้การบริการตรวจปล่<strong>อย</strong>ผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>นําเข้า ณ ด่านอาหารและยาได้รับความสะดวกและรวดเร็ว9.2 ลดการนําเข้าผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>ที่ไม่ได้มาตรฐาน และสกัดกั้นการลักลอบนําเข้าได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>9.3 ประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>นําเข้าที่มีคุณภา<strong>พ</strong> ปลอดภัยได้มาตรฐาน30


11. โครงการ<strong>ศ</strong>ึกษาและดําเนินการรองรับคณะกรรมการอาหารแห่งชาติภายใต้<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2551(ต่อเนื่อง)1. หลักการและเหตุผล<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2551 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่9 กุมภา<strong>พ</strong>ันธ์ 2551 ซึ่งคณะกรรมการอาหารแห่งชาติมีอํานาจหน้าที่เสนอนโยบายและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ด้านคุณภา<strong>พ</strong>อาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร ความมั่นคงด้านอาหาร และอาหาร<strong>ศ</strong>ึกษา รวมทั้งจัดทําแผนเผชิญเหตุและระบบเตือนภัยด้านอาหาร โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และกําหนดให้มีการประชุมคณะกรรมการอาหารแห่งชาติไม่น้<strong>อย</strong>กว่า<strong>ปี</strong>ละ 2 ครั้ง ซึ่งคณะกรรมการประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน รัฐมนตรีจาก<strong>กระทรวง</strong>ที่เกี่ยวข้อง 11 <strong>กระทรวง</strong> เลขาธิการ 4 หน่วยงาน และผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการ โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เป็นกรรมการและเลขานุการ และผู้อํานวยการสํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการร่วม และในระหว่างนี้ให้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทําหน้าที่หน่วยงานธุรการให้แก่คณะกรรมการคณะกรรมการเฉ<strong>พ</strong>าะเรื่อง คณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานจากการประชุมคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2552ณทําเนียบรัฐบาล ที่ประชุมมีมติเห็นชอบในกรอบยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การจัดการด้านอาหารของประเท<strong>ศ</strong>ไทย และเห็นชอบในการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ฯ ซึ่งมีหน้าที่<strong>พ</strong>ิจารณาความเชื่อมโยงและจัดทํารายละเอียดของยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ฉบับสมบูรณ์ อันประกอบด้วยยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์หลัก 3 ด้าน ได้แก่ คุณภา<strong>พ</strong>และความปลอดภัยด้านอาหาร ความมั่นคงด้านอาหาร และอาหาร<strong>ศ</strong>ึกษา เ<strong>พ</strong>ื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ<strong>พ</strong>ิจารณาก่อนเสนอให้คณะรัฐมนตรีต่อไป โดยมอบหมายฝ่ายเลขานุการฯ ให้สนับสนุนการทํางานของคณะกรรมการจัดทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ฯ ดังกล่าวกองควบคุมอาหารจึงเล็งเห็นความจําเป็นในการจัดทําโครงการ<strong>ศ</strong>ึกษาและดําเนินการรองรับคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ภายใต้<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.2551 เ<strong>พ</strong>ื่อรองรับการดําเนินงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาในฐานะฝ่ายเลขานุการฯของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ คณะกรรมการเฉ<strong>พ</strong>าะเรื่อง คณะอนุกรรมการ หรือคณะทํางานต่าง ๆตลอดจนติดตามผลการดําเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายใต้ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ด้านอาหารที่คณะกรรมการอาหารแห่งชาติเสนอ2. วัตถุประสงค์2.1 เ<strong>พ</strong>ื่อสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการแก่คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ คณะกรรมการเฉ<strong>พ</strong>าะเรื่อง คณะอนุกรรมการ หรือคณะทํางานต่าง ๆ สําหรับการ<strong>พ</strong>ัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานภายใต้ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ด้านอาหารให้เกิดการบูรณาการและมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> ประสิทธิผล2.2 เ<strong>พ</strong>ื่อประสาน ติดตามผลการดําเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ด้านอาหาร และรายงานผลต่อคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ31


2.3 เ<strong>พ</strong>ื่อสนับสนุนการทําหน้าที่หน่วยงานธุรการให้กับคณะกรรมการอาหารแห่งชาติคณะกรรมการเฉ<strong>พ</strong>าะเรื่อง คณะอนุกรรมการ หรือคณะทํางานต่าง ๆ ภายใต้<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.25512.4 เ<strong>พ</strong>ื่อเผยแ<strong>พ</strong>ร่ และประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์การดําเนินงานของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ3. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย3.1.ร้<strong>อย</strong>ละความครอบคลุมในการมีแผนปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆที่ดําเนินการตามกรอบยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การจัดการด้านอาหารของประเท<strong>ศ</strong>ไทย3.2. มีระบบติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆที่ดําเนินการตามกรอบยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การจัดการด้านอาหารของประเท<strong>ศ</strong>ไทย3.3. มีการจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานตามกรอบยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การจัดการด้านอาหารของประเท<strong>ศ</strong>ไทยเ<strong>พ</strong>ื่อเสนอต่อคณะกรรมการอาหารแห่งชาติและเ<strong>พ</strong>ื่อเผยแ<strong>พ</strong>ร่<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>ร้<strong>อย</strong>ละ 10 30 50 80ระบบ - 1 - -ครั้ง 1 1 1 13.4. มีการจัดประชุมคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ครั้ง 2 2 2 23.5. มีการเผยแ<strong>พ</strong>ร่กรอบยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การจัดการด้านอาหารของประเท<strong>ศ</strong>ไทย ให้กับหน่วยงานต่างๆได้รับทราบและเข้าใจครั้ง 5 5 5 54. กลวิธี / แผนการดําเนินการ4.1 สืบค้น วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประสาน และแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านอาหารกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เ<strong>พ</strong>ื่อสนับสนุนข้อมูลวิชาการแก่คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ คณะกรรมการเฉ<strong>พ</strong>าะเรื่องคณะอนุกรรมการ หรือคณะทํางานต่าง ๆ4.2 <strong>ศ</strong>ึกษา และทบทวนผลการดําเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ด้านอาหาร เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาปรับปรุงให้เกิดการบูรณาการ และมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> ประสิทธิผล4.3 ประสาน ติดตามผลการดําเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ด้านอาหาร และรายงานผลต่อคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ4.4 ประสาน และดําเนินการจัดประชุมประชา<strong>พ</strong>ิจารณ์ หรือประชุมชี้แจง เ<strong>พ</strong>ื่อรับฟังข้อคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนต่อการคัดเลือกและการจัดทําประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ด้านอาหารตามลําดับความสําคัญ4.5 ประสาน และดําเนินการจัดประชุมคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ และคณะกรรมการเฉ<strong>พ</strong>าะเรื่อง คณะอนุกรรมการ หรือคณะทํางานต่าง ๆ ที่ทําหน้าที่ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย32


4.7 ดําเนินการจัดประชุมระดมสมองคณะทํางานและคณะที่ปรึกษา เ<strong>พ</strong>ื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ4.8 จัดทําสื่อสื่อเผยแ<strong>พ</strong>ร่ และประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์เกี่ยวกับการดําเนินงานของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ5. ระยะเวลาดําเนินงานเดือนตุลาคม 2553 – กันยายน <strong>2557</strong>6. สถานที่ดําเนินงานกลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบ 3 กองควบคุมอาหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา7. งบประมาณ<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> จํานวน 1.780 ล้านบาท (งบประมาณที่ได้รับจริง)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 3.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 2.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 2.000 ล้านบาท (ประมาณการคําของบประมาณ)8. ผู้รับผิดชอบโครงการกลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบ 3 กองควบคุมอาหารสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา <strong>กระทรวง</strong>สาธารณสุขเลขที่ 88/24 ถนนติวานนท์ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000โทร 0-2590-7322 โทรสาร 0-2591-84609. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ9.1 สามารถสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการแก่คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ9.2 การดําเนินงานด้านอาหารของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>เกิดการบูรณาการ และมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> ประสิทธิผล9.3 หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการดําเนินการของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ9.4 สามารสนับสนุนให้การดําเนินงานในฐานะฝ่ายเลขานุการฯ เป็นไป<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ประสิทธิผล33


12. โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง(High Performance Organization : HPO) <strong>ปี</strong> <strong>2554</strong>-<strong>2557</strong>1. หลักการและเหตุผลในปัจจุบันองค์กรทั้งหลายต่างเผชิญกับความท้าทายนานัปการ การค้าไร้<strong>พ</strong>รมแดนเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจแบบ<strong>พ</strong>าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลง<strong>อย</strong>่างรวดเร็ว ความต้องการเฉ<strong>พ</strong>าะแบบของลูกค้าการลดต้นทุน และได้เปรียบเชิงแข่งขัน เป็นต้น ด้วยเหตุปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ทําให้ผู้นําหรือผู้กําหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางองค์ต่างแสวงหาแนวทางที่จะตอบสนองความท้าทายและนํา<strong>พ</strong>าองค์กรก้าวไปสู่ความเป็นเลิ<strong>ศ</strong>สามารถแข่งขันและ<strong>อย</strong>ู่ได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> ซึ่งรูปแบบดังกล่าว คือ องค์กรที่มีสมรรถนะสูง (HighPerformance Organization : HPO) หรือองค์กรที่เป็นเลิ<strong>ศ</strong> (Excellence Organization) ในช่วงสี่ห้า<strong>ปี</strong>ที่ผ่านมา ได้มีแนวคิดที่จะขับเคลื่อนให้หน่วยงานภาครัฐเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง จึงได้มี<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติ <strong>พ</strong>ระราชกฤษฎีกา และ<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ต่าง ๆ ออกมา ที่ได้มีการนําหลักการและแนวคิดต่าง ๆ มาปรับให้เหมาะสมกับระบบราชการไทย ไม่ว่าจะเป็น<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2545 มาตรา 3/1 แห่ง<strong>พ</strong>ระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2546 <strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>การ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบราชการไทย (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2551-<strong>2554</strong>) และแผนบริหารราชการแผ่นดิน (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. 2548-2551) จากแนวคิดข้างต้น <strong>พ</strong>บว่า แนวคิดและคุณลักษณะหลัก ๆของการที่หน่วยงานภาครัฐจะมีความเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง คือ องค์กรที่มีการบริหารเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ (Strategic Management) โดยมีองค์ประกอบที่สําคัญ 3 ประการ ได้แก่ การกําหนดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ การแปลงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ไปสู่การปฏิบัติ และการประเมินผลการดําเนินงานตามยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์เนื่องจากการบริหารยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ถือเป็นหลักการในการบริหารที่จะช่วยให้องค์กรมีการกําหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางที่ชัดเจน มีแนวทางในการปฏิบัติเ<strong>พ</strong>ื่อไปสู่ทิ<strong>ศ</strong>ทางที่ต้องการ รวมทั้ง มีการติดตามประเมินผลที่ชัดเจนสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้จัดทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อใช้เป็นแนวทางในการดําเนินงานมาตั้งแต่ <strong>ปี</strong> 2540 สําหรับใน<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> ได้นําหลักกระบวนการการบริหารเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์มาใช้เป็นกระบวนการสําคัญในการขับเคลื่อนสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง นอกจากนี้ ยังกําหนดให้มีการทบทวนและปรับปรุง<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ทันต่อสถานการณ์ทุก<strong>ปี</strong><strong>อย</strong>่างต่อเนื่องกันไป เ<strong>พ</strong>ื่อเป้าหมายสําคัญ คือสามารถส่งมอบบริการให้กับประชาชนได้<strong>อย</strong>่างมีคุณภา<strong>พ</strong> <strong>พ</strong>ร้อมทั้งยืน<strong>อย</strong>ู่ได้ท่ามกลางกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง<strong>อย</strong>่างมั่นคง2. วัตถุประสงค์2.1 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์กรให้สามารถปฏิบัติราชการได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> และมีความ<strong>พ</strong>ร้อมเ<strong>พ</strong>ื่อรองรับต่อทุกสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ และสามารถหาทางแก้ไขได้<strong>อย</strong>่างเหมาะสมและเป็นระบบ2.2 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์ความรู้ด้านงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>2.3 เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนาขีดความสามารถด้านการบริหารทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคล34


3. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย<strong>2554</strong> 2555 2556 <strong>2557</strong>3.1 ระดับความสําเร็จของการ<strong>พ</strong>ัฒนาคุณภา<strong>พ</strong> ระดับ 4.80 4.85 5 5บริหารจัดการภาครัฐ3.2 ระดับความสําเร็จของการทบทวน<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong> ระดับ 5 5 5 5ขององค์กร3.3 ระดับความสําเร็จของการทบทวนโครงสร้าง ภารกิจ ระดับ 5 5 5 5และจัดทําข้อเสนอแนะในการถ่ายโอนภารกิจ3.4 บุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ร้<strong>อย</strong>ละ 88 90 92 94ได้รับการ<strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะตามแผน<strong>พ</strong>ัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากร3.5 จํานวนองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สํานักงาน องค์ 14 14 14 14คณะกรรมการอาหารและยาสร้างขึ้นความรู้3.6 ผลงานวิจัยที่มีการนํามาใช้ประโยชน์ต่อ ร้<strong>อย</strong>ละ 85 90 95 95การ<strong>พ</strong>ัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภา<strong>พ</strong>3.7 ผู้ใช้บริการมีความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจต่อระบบเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาร้<strong>อย</strong>ละ 73 74 75 764. กลวิธี/แผนการดําเนินงาน4.1 กําหนดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ เป็นการนําข้อมูลจากการกําหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางองค์กรและการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอก มาจัดทํายุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การปฏิบัติราชการ<strong>อย</strong>่างเป็นระบบ และเชื่อมโยงกับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์รัฐบาล4.2 แปลงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ไปสู่การปฏิบัติ เป็นการนํายุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ มาปฏิบัติให้เกิดผลลั<strong>พ</strong>ธ์ตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ เน้นการจัดทําแผนปฏิบัติการ โดยเชื่อมโยงกับการจัดสรรงบประมาณประจํา<strong>ปี</strong>4.3 ทบทวนและติดตามประเมินผลเชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ เป็นการสร้างระบบการติดตามตรวจสอบและทบทวนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การทํางานให้เป็นระบบและมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>5. ระยะเวลาการดําเนินการเดือนตุลาคม 2553 – กันยายน <strong>2557</strong>6. สถานที่ดําเนินงานสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา7. งบประมาณ<strong>ปี</strong> <strong>2554</strong> จํานวน 3,779,640 บาท (ประมาณการงบดําเนินงานโครงการ)<strong>ปี</strong> 2555 จํานวน 4,535,568 บาท (ประมาณการงบดําเนินงานโครงการ)<strong>ปี</strong> 2556 จํานวน 5,442,682 บาท (ประมาณการงบดําเนินงานโครงการ)<strong>ปี</strong> <strong>2557</strong> จํานวน 6,531,218 บาท (ประมาณการงบดําเนินงานโครงการ)35


8. ผู้รับผิดชอบโครงการกองแผนงานและวิชาการ9. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ9.1 ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับการตอบสนองความต้องการ/ความคาดหวังจากการดําเนินภารกิจขององค์กร<strong>อย</strong>่างแท้จริง9.2 องค์กรได้รับการ<strong>พ</strong>ัฒนาด้านการบริหารจัดการ วิธีปฏิบัติและผลการดําเนินงานให้มีบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>9.3 องค์กรมีการจัดการองค์ความรู้ที่องค์กรมี<strong>อย</strong>ู่ ให้สามารถดึงมาประยุกต์ใช้ได้<strong>อย</strong>่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>9.4 บุคลากรได้รับการส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าและ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>อย</strong>่างต่อเนื่อง36


ภาคผนวก 4รายนามคณะผู้จัดทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ที่ปรึกษา• เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา• รองเลขาธิการฯ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน• ผู้อํานวยการสํานัก/กอง/กลุ่ม ทุกท่านคณะทํางานจัดทํา<strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>• คณะทํางานจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 <strong>ปี</strong> สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา• นางสาวท<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ร เว<strong>ศ</strong>นานนท์ กลุ่มนโยบายและแผน กองแผนงานและวิชาการ• นายอาทิตย์ <strong>พ</strong>ันเดช กลุ่มนโยบายและแผน กองแผนงานและวิชาการติดต่อสอบถาม หรือแสดงความคิดเห็นกลุ่มนโยบายและแผน กองแผนงานและวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาโทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท์ 0-2590-7260, 0-2590-7291, 0-2590-7255โทรสาร 0-2591-8459e-mail : strategy@fda.moph.go.thสามารถ Download <strong>แผนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์</strong>ได้ที่ www.fda.moph.go.th

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!