11.01.2015 Views

ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน - Thailand Automotive ...

ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน - Thailand Automotive ...

ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน - Thailand Automotive ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ<br />

การศึกษาศักยภาพอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สวนหนึ่งของโครงการสารสนเทศยานยนต 2553<br />

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม<br />

กระทรวงอุตสาหกรรม<br />

กันยายน 2553


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สารบัญ<br />

เรื่อง หนา<br />

บทที่ 1 หลักการและเหตุผล<br />

1.1 บทนํา 1-1<br />

1.2 ขอบเขตของการศึกษา 1-3<br />

1.3 ทฤษฎีที่ใชในการศึกษาวิเคราะห 1-4<br />

บทที่ 2 ขอมูลพื้นฐานสาธารณรัฐประชาชนจีน<br />

2.1 ขอมูลทั่วไป 2-1<br />

2.2 ขอมูลทางเศรษฐกิจพื้นฐาน 2-5<br />

2.3 ขอมูลสําคัญทางเศรษฐกิจและการคาของจีน 18 มณฑล 2-10<br />

บทที่ 3 ขอมูลอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน<br />

3.1 พัฒนาการอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน 3-1<br />

3.1.1 พัฒนาการของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต 3-1<br />

3.1.2 พัฒนาการของอุตสาหกรรมการผลิตรถจักรยานยนต 3-8<br />

3.2 โครงสรางของอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน 3-12<br />

3.2.1 อุตสาหกรรมการผลิตรถยนตนั่ง 3-14<br />

3.2.2 อุตสาหกรรมการผลิตรถบรรทุกและรถโดยสาร 3-21<br />

3.2.3 อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนประกอบและอะไหลยานยนต 3-22<br />

3.2.4 การจําหนายรถยนตและชิ้นสวนยานยนต 3-25<br />

3.2.5 การสงออกรถยนตและชิ้นสวนยานยนต 3-31


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สารบัญ (ตอ)<br />

เรื่อง หนา<br />

บทที่ 4 นโยบายภาครัฐที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยานยนต<br />

4.1 นโยบายในประเทศ 4-1<br />

4.1.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติของจีน 4-1<br />

4.1.2 นโยบายการสงเสริมการลงทุน 4-4<br />

4.1.3 โครงสรางภาษี 4-14<br />

4.1.4 นโยบายดานพลังงานทดแทนในรถยนต 4-19<br />

4.1.5 นโยบายอื่นๆที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยานยนต 4-25<br />

4.1.6 มาตรฐานบังคับที่เกี่ยวของกับรถยนต 4-26<br />

4.1.7 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาและการละเมิดลิขสิทธิ์ 4-28<br />

4.2 นโยบายระหวางประเทศ 4-33<br />

4.2.1 เขตการคาเสรี (FTA) ระหวางประเทศจีน และประเทศตางๆ 4-33<br />

4.2.1.1 ผลกระทบของอุตสาหกรรมผลิตรถยนตตอการเขารวม WTO 4-35<br />

4.2.1.2 เขตการคาเสรีอาเซียน-จีน 4-36<br />

4.2.1.3 เขตการคาเสรีจีน-นิวซีแลนด 4-43<br />

4.2.2 มาตรการการคาที่เปนภาษี 4-48<br />

4.2.3 มาตรการทางการคาที่มิใชภาษี 4-49<br />

บทที่ 5 วิเคราะหความสามารถในการแขงขันของประเทศจีน<br />

5.1 การวิเคราะหโดยใช Diamond Model 5-1<br />

5.1.1 เงื่อนไขปจจัยการผลิต (Factor Conditions) 5-1<br />

5.1.2 อุตสาหกรรมเกี่ยวโยงและสนับสนุน (Related and Supporting Industries) 5-5<br />

5.1.3 เงื่อนไขดานอุปสงค (Demand Conditions) 5-8<br />

5.1.4 บริบทการแขงขันและกลยุทธทางธุรกิจ 5-9<br />

(Context for Firm Strategy and Rivalry)


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สารบัญ (ตอ)<br />

เรื่อง หนา<br />

บทที่ 5 วิเคราะหความสามารถในการแขงขันของประเทศจีน (ตอ)<br />

5.2 การวิเคราะหโดยใช SWOT 5-11<br />

5.2.1 จุดแข็ง (Strengths: S) 5-11<br />

5.2.2 จุดออน (Weakness: W) 5-12<br />

5.2.3 โอกาส (Opportunities: O) 5-12<br />

5.2.4 อุปสรรค (Threats: T) 5-13<br />

5.3 เปรียบเทียบความสมารถในการแขงขันระหวางจีนและไทย 5-14<br />

บทที่ 6 บทสรุปและขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทย<br />

6.1 บทสรุป 6-1<br />

6.2 ขอเสนอแนะ 6-3<br />

ภาคผนวก


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สารบัญตาราง<br />

ชื่อตาราง หนา<br />

ตารางที่ 2-1 แสดงมูลคาการนําเขาสินคาของประเทศจีนไปยังประเทศคูคา 10 ลําดับแรก 2-7<br />

ใน ป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

ตารางที่ 2-2 แสดงมูลคาการสงออกสินคาของประเทศจีนไปยังประเทศคูคา 10 ลําดับแรก 2-7<br />

ใน ป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

ตารางที่ 2-3 แสดงมูลคาสินคานําเขาของประเทศจีน เรียงลําดับตามประเภทสินคาสงออก 2-8<br />

10 ลําดับแรก ในป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

ตารางที่ 2-4 แสดงมูลคาสินคาสงออกของประเทศจีน เรียงลําดับตามประเภทสินคาสงออก 2-8<br />

10 ลําดับแรก ในป ค.ศ. 2005 – 2009 (หนวย: ดอลลารสหรัฐ)<br />

ตารางที่ 3-1 แสดงรายชื่อรถยนตจากตางชาติกับผูผลิต Big 3 ของจีน 3-6<br />

ตารางที่ 3-2 แสดงปริมาณการผลิตรถยนตของประเทศจีนแยกตามประเภท 3-13<br />

ป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

ตารางที่ 3-3 แสดงอัตราการใชกําลังการผลิตของผูผลิตรถยนตในประเทศจีน ป ค.ศ. 2004 3-18<br />

ตารางที่ 3-4 แสดงปริมาณการจําหนายรถยนตรวมของประเทศตางๆทั่วโลก 3-25<br />

(10 ลําดับแรก) ในป ค.ศ. 2005-2009<br />

ตารางที่ 3-5 แสดงปริมาณการจําหนายรถยนตของประเทศจีนแยกตามประเภท 3-26<br />

ป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

ตารางที่ 3-6 แสดงมูลคาการสงออกยานยนต (HS 87) ของประเทศจีน 3-31<br />

แยกตามประเภทรถยนต ตั้งแตป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

ตารางที่ 3-7 แสดงมูลคาการสงออกยานยนต (HS 87) ของประเทศจีน 3-32<br />

แยกตามแหลงสงออก 10 ลําดับแรก ตั้งแตป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

ตารางที่ 3-8 แสดงมูลคาการสงออกชิ้นสวนรถยนต (HS 8708) ของประเทศจีน 3-33<br />

แยกตามประเภทการสงออก 10 ลําดับแรก ตั้งแตป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

ตารางที่ 3-9 แสดงมูลคาการสงออกชิ้นสวนรถยนต (HS 8708) ของประเทศจีน 3-34<br />

แยกตามแหลงสงออก 10 ลําดับแรก ตั้งแตป ค.ศ. 2005 – 2009


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สารบัญตาราง (ตอ)<br />

ชื่อตาราง หนา<br />

ตารางที่ 4-1 แสดงโครงสรางภาษีของประเทศจีน 4-14<br />

ตารางที่ 4-2 แสดงโครงสรางภาษีสรรพสามิตสินคายานยนตของไทยและจีน 4-16<br />

ตารางที่ 4-3 แสดงโครงสรางภาษีการใชยานยนตของไทยและจีน 4-16<br />

ตารางที่ 4-4 แสดงการเปรียบเทียบนโยบายการใหสิทธิพิเศษดานการลงทุนของ 4-17<br />

เขตพัฒนาพิเศษตางๆในจีน<br />

ตารางที่ 4-5 แสดงการเปรียบเทียบนโยบายสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน 4-27<br />

ตารางที่ 4-6 แสดงการลดภาษีสินคายานยนตที่สําคัญภายใตเขตการคาเสรีอาเซียน –จีน 4-34<br />

ตารางที่ 4-7 แสดงการลดภาษีสินคายานยนตที่สําคัญภายใตเขตการคาเสรีจีน–นิวซีแลนด 4-36<br />

ตารางที่ 5-1 แสดงการเปรียบเทียบศักยภาพการแขงขันของอุตสาหกรรมยานยนต 5-14<br />

ประเทศจีนกับประเทศไทย


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สารบัญภาพ<br />

ชื่อภาพ หนา<br />

ภาพที่ 1-1 แสดงปริมาณการผลิตและจําหนายรถยนตของประเทศตางๆทั่วโลก 1-2<br />

(20 ลําดับแรก) ในป ค.ศ. 2009<br />

ภาพที่ 1-2 Productivity and the Microeconomic Business Environment 1-5<br />

ภาพที่ 2-1 แสดงแผนที่ประเทศจีน 2-1<br />

ภาพที่ 2-2 แสดงการเปรียบเทียบโครงสรางประชากรของไทยและจีนป ค.ศ. 2008 2-3<br />

ภาพที่ 2-3 แสดงการเปรียบเทียบอัตราการเติบทางเศรษฐกิจของจีนและไทย 2-5<br />

ป ค.ศ. 2004 – 2008<br />

ภาพที่ 2-4 แสดงโครงสรางสินคาสงออก-นําเขาของจีนป ค.ศ. 2008 2-6<br />

ภาพที่ 2-5 แสดงโครงสรางตลาดสินคาสงออก-นําเขาของจีนป ค.ศ. 2008 2-9<br />

ภาพที่ 2-6 แสดงมูลคาสงออก-นําเขาสินคายานยนตของจีนป ค.ศ. 2005 – 2009 2-9<br />

ภาพที่ 3-1 แสดงการผลิตยานยนตในประเทศจีนจําแนกตามสัดสวนและพื้นที่ 3-12<br />

ภาพที่ 3-2 แสดงโครงสรางการรวมทุนของผูผลิตในอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีน 3-15<br />

ภาพที่ 3-3 แสดงสถานที่ตั้งของบริษัทผูผลิตรถยนตตามภูมิภาคสําคัญของประเทศจีน 3-16<br />

ภาพที่ 3-4 แสดงสถานที่ตั้งของบริษัทผูผลิตรถยนตในภูมิภาคตางๆของประเทศจีน 3-17<br />

ภาพที่ 3-5 แสดงมูลคาของอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนตในประเทศจีน 3-22<br />

ในป ค.ศ. 1994-2007<br />

ภาพที่ 3-6 แสดงการผลิตชิ้นสวนยานยนตในประเทศจีนจําแนกตามสัดสวนและพื้นที่ 3-24<br />

ภาพที่ 3-7 แสดงราคารถยนตนั่งในประเทศจีน 3-29<br />

ภาพที่ 4-1 แสดงเขตเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศจีน 4-6<br />

ภาพที่ 4-2 แสดงการละเมิดลิขสิทธิ์โลโกของโตโยตาในตลาดรถยนตจีน 4-31<br />

ภาพที่ 4-3 แสดงการละเมิดลิขสิทธิ์สินคายานยนตของ GM ตลาดรถยนตจีน 4-32<br />

ภาพที่ 5-1 แสดงจํานวนนักศึกษาใหมของประเทศจีนในระดับการศึกษาตางๆ 5-4<br />

ภาพที่ 5-2 แสดงศักยภาพในการแขงขันของอุตสาหกรรมการผลิตยานยนตประเทศจีน 5-10<br />

ภาพที่ 5-3 แสดงตารางสรุปการวิเคราะห SWOT ของอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีน 5-13


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

บทที่ 1<br />

หลักการและเหตุผล<br />

1.1 บทนํา<br />

ในป ค.ศ. 2009 วิกฤติของภาคการเงินในประเทศสหรัฐอเมริกา สงผลกระทบทําใหเกิด<br />

ภาวะเศรษฐกิจตกต่ําไปทั่วโลก อุตสาหกรรมยานยนตเปนภาคการผลิตหนึ่งที่ไดรับผลกระทบจาก<br />

วิกฤติการเงินครั้งนี้เชนกัน ประเทศผูนําดานการผลิตยานยนตเชนสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป หรือ<br />

ญี่ปุน ตางไดรับผลกระทบทางลบอยางมาก ขอมูลการผลิตในป ค.ศ. 2009 พบวา ประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกาและญี่ปุน มีอัตราการเติบโตของการผลิตลดลงประมาณรอยละ 30 ในขณะที่อัตราการ<br />

เติบโตของปริมาณการจําหนายของสหรัฐอเมริกาและญี่ปุนลดลงรอยละ 24 และ รอยละ 9<br />

ตามลําดับ แตอยางไรก็ตาม สําหรับประเทศจีนแลว วิกฤติเศรษฐกิจครั้งนี้ไมสงผลกระทบตอ<br />

อุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีนเลย ในป ค.ศ. 2009 ประเทศจีนมีอัตราการผลิตและจําหนาย<br />

รถยนตเพิ่มขึ้น รอยละ 48 และ รอยละ 45 ตามลําดับ ดวยปริมาณการผลิตและจําหนาย 13.8 และ<br />

13.6 ลานคัน ตามลําดับ (แสดงดังรูปที่ 1-1) ความสําเร็จดังกลาวของประเทศจีน สวนหนึ่งมาจาก<br />

การกําหนดนโยบายจากภาครัฐ ที่กําหนดยุทธศาสตรการสรางพันธมิตรกับผูผลิตรถยนตขามชาติ<br />

และสนับสนุนการลงทุนจากตางประเทศ<br />

การดําเนินตามยุทธศาสตรการสรางพันธมิตรกับผูผลิตรถยนตขามชาติในชวงแรก (ค.ศ.<br />

1985-1996) ทางการจีนอนุญาตใหมีการรวมทุนระหวางรัฐวิสาหกิจของจีนกับผูผลิตรถยนตขาม<br />

ชาติ เพื่อผลิตรถยนตนั่งสําหรับประชาชนทั่วไป โดยจํากัดผูผลิตรถยนตขามชาติเพียง 8 ราย โดยมี<br />

ผูผลิตรถยนตจากสหรัฐอเมริกาและยุโรปรวมทั้งญี่ปุนบางรายเขามาลงทุนในประเทศจีนตลาดจีน<br />

อาทิ Daimler-Chrysler, Volkswagen (VW), Peugeot, Daihatsu, Suzuki, Fuji Heavy Industries และ<br />

Citroen ผลคือ VW สามารถเติบโตจนกลายเปนเจาตลาดรถยนตอันดับหนึ่งในจีน และจีนก็ได<br />

พัฒนาขึ้นมาเปนตลาดอันดับหนึ่งของ VW นอกถิ่นกําเนิดเดิมในเยอรมนี<br />

ในชวงเวลาตอมา (ค.ศ. 1998 เปนตนไป) ทางการจีนยกเลิกขอจํากัดจํานวนผูผลิตรถยนต<br />

ขามชาติจํานวน 8 ราย รวมทั้งตลาดรถยนตของจีนเติบโตอยางมาก ทําใหการลงทุนจากตางประเทศ<br />

ในอุตสาหกรรมยานยนตของจีนเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ผูผลิตรถยนตรายใหญของญี่ปุน ไมวาจะเปน<br />

Honda, Mazda, Toyota, Nissan และ Mitsubishi ตางเขามาลงทุนในจีน จนกระทั่งป ค.ศ. 2003<br />

ภายหลังจากจีนเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก จีนกลายเปนฐานการลงทุนของผูผลิตรถยนตขาม<br />

1-1


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ชาติเกือบทุกคาย สงผลใหเกิดการผลิตรถยนตรุนตางๆ มากถึง 45 รุนเทียบกับจํานวนเพียง 11 รุน<br />

เมื่อป ค.ศ. 1998<br />

ภาพที่ 1-1 แสดงปริมาณการผลิตและจําหนายรถยนตของประเทศตางๆทั่วโลก (20 ลําดับแรก) ในป<br />

ค.ศ. 2009<br />

ปริมาณการผลิตและจําหนายรถยนตของประเทศตางๆทั่วโลก<br />

(20 ลําดับแรก) ป ค.ศ. 2009<br />

ปริมาณการผลิตและจําหนาย<br />

(พันคัน)<br />

16,000<br />

14,000<br />

12,000<br />

10,000<br />

8,000<br />

6,000<br />

4,000<br />

2,000<br />

0<br />

1. 1. China China<br />

2. Japan<br />

3. U.S.A.<br />

4. Germany<br />

5. Korea<br />

6. Brasil<br />

7. India<br />

8. Spain<br />

9. France<br />

10. Mexico<br />

11.Canada<br />

12.U.K.<br />

13. Thai<br />

14. Turkey<br />

15. Czech<br />

16. Italy<br />

17. Russia<br />

18. Argentina<br />

19. Indonesia<br />

20. Malaysia<br />

ประเทศ<br />

60%<br />

40%<br />

20%<br />

0%<br />

-20%<br />

-40%<br />

-60%<br />

-80%<br />

อัตราการเติบโต (%)<br />

ที่มา: Fourin<br />

ปริมาณการผลิต ปริมาณการจําหนาย อัตราการเติบโตของการผลิต อัตราการเติบโตของการจําหนาย<br />

ปจจุบัน อุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีนมีความสําคัญตออุตสาหกรรมยานยนตโลก ดวย<br />

มูลคาตลาดที่มีขนาดใหญ จากประชากรที่มีจํานวนมาก มีวัตถุดิบที่สําคัญตอการผลิต ตลอดจน<br />

ความกาวหนาดานเทคโนโลยีภายในประเทศ ทําใหประเทศผูนําตลาดยานยนตโลกตางจับตามอง<br />

รวมถึงแสวงหาผลประโยชนจากการเขาไปลงทุนในประเทศจีน เพื่อเปนฐานการผลิตยานยนตใน<br />

ภูมิภาคเอเชีย<br />

ดังนั้น การศึกษาถึงอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีนจึงมีความสําคัญตออุตสาหกรรม<br />

ยานยนตของประเทศไทย ทั้งในดานผูผลิต เพื่อใหทราบถึงโอกาสและอุปสรรคในการเปนคูคาและ<br />

คูแขงกับประเทศจีน และในดานภาครัฐ ในฐานะผูกําหนดนโยบายสําหรับการพัฒนาอุตสาหกรรม<br />

ยานยนตของไทย โดยจะศึกษาถึงศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตของจีน ทั้งในดานโครงสราง<br />

1-2


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ของอุตสาหกรรมและปจจัยแวดลอมตางๆ อาทิ กฎระเบียบ นโยบายภาครัฐในประเทศและ<br />

ตางประเทศ ซึ่งสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน รวมทั้งอาจเปนอุปสรรค<br />

ตอการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนตไทยดวย<br />

1.2 ขอบเขตของการศึกษา<br />

รายงานฉบับนี้มีขอบเขตของการศึกษา 2 ดาน ดังนี้<br />

1. ขอบเขตดานเนื้อหา แบงการศึกษาออกเปนเจ็ดสวนหลัก ไดแก สวนแรกเปนหลักการและ<br />

เหตุผล รวมถึงวัตถุประสงคของการศึกษา สวนที่สองเปนขอมูลพื้นฐานของประเทศจีน สวนที่<br />

สามเปนขอมูลอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน สวนที่สี่เปนขอมูลปจจัยแวดลอมตางๆ<br />

อาทิ กฎระเบียบ นโยบายภาครัฐที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยานยนต สวนที่หาการสํารวจ<br />

ขอมูล ณ เมืองเซี่ยงไฮ สวนที่หกเปนการวิเคราะหถึงศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนต<br />

ประเทศจีน โดยใชการวิเคราะหแบบ SWOT Analysis และ Porter’s Model และสวนสุดทาย<br />

เปนขอเสนอแนะตอภาครัฐเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตไทยตอไป<br />

2. ขอบเขตดานพื้นที ่ของการศึกษา โดยการศึกษาอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีน จะศึกษา<br />

อุตสาหกรรมยานยนต ไดแก อุตสาหกรรมรถยนต และอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต<br />

1-3


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

1.3 ทฤษฎีที่ใชในการศึกษาวิเคราะห<br />

1.3.1 การวิเคราะห SWOT<br />

เทคนิคการวิเคราะห SWOT เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับวิเคราะหและประเมินวา<br />

ธุรกิจมีจุดแข็ง (Strengths) จุดออน (Weakness) โอกาส (Opportunities) และอุปสรรค<br />

(Threats) อยางไร เพื่อที่จะนําไปใชในการวางแผนและกําหนด กลยุทธทางการบริหาร<br />

ตอไป ซึ่งประกอบไปดวย<br />

S = จุดแข็ง (Strengths) หมายถึง สิ่งที่ดีของบริษัทและตัวสินคา เชน มีทักษะใน<br />

การทําธุรกิจ ทรัพยากรที่มีคุณคาของบริษัท คุณสมบัติที่ทําใหบริษัทไดเปรียบคูแขงใน<br />

ทองตลาดเชนมีสินคาใหเลือกมากกวา ราคาถูกกวา มีหลายขนาดมากกวา มีประสิทธิภาพ<br />

ดีกวา ซึ่งมีผลตอประสิทธิภาพในการประกอบการ<br />

W = จุดออน (Weakness) หมายถึง สวนไมดีของบริษัทและของตัวสินคาเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับคูแขงขัน เชนแพงกวา ขนาดหรือจํานวนนอยกวา มีสีใหเลือก ชื่อเสียงดอย<br />

กวา<br />

O = โอกาส (Opportunities) หมายถึง ปจจัยภายนอกที่อยูรอบๆธุรกิจและไม<br />

สามารถควบคุมไดที่เปนโอกาสธุรกิจและผูประกอบการ เกิดจากความแข็งแกรงของบริษัท<br />

ที่เหนือกวาคูแขง จุดออนของคูแขงขัน และพฤติกรรมของผูบริโภคที่สอดคลองกันกับ<br />

ธุรกิจ<br />

T = อุปสรรค (Threats) หมายถึง ปจจัยภายนอกที่รายลอมธุรกิจที่เปนอุปสรรคตอ<br />

การประกอบการและไมสามารถควบคุมได ตัวอยางเชน การที่มีคูแขงที่มีศักยภาพสูงมีสวน<br />

แบงทางการตลาดสูง หรือพฤติกรรมของผูบริโภคที่ไมสอดคลอง หรือตรงขามกับการ<br />

ทํางานของบริษัทเรา คูแขงทุมงบประมาณในการตลาด มีการออกกฎหมายควบคุมสินคาที่<br />

จําหนายอยู ผูบริโภคมีความจงรักภักดีตอสินคาของคูแขงขัน หรือสภาพเศรษฐกิจไมดี<br />

สภาวะเงินตึงตัว สภาวะทางการเมือง ไมมีเสถียรภาพ คนจึงไมแนใจเกี่ยวกับการลงทุน<br />

อัตราเงินเฟอสูงขึ้น อัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจถดถอย<br />

1-4


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

1.3.2 การวิเคราะห Diamond Model<br />

Micheal E. Porter ไดพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการศึกษาระดับความสามารถทางการ<br />

แขงขันของอุตสาหกรรม โดยไดอธิบายวา ภาวการณแขงขันในการคาโลก ประเทศทุก<br />

ประเทศยอมพยายามเลือกยุทธวิธีที่ดีที่สุด ที่จะกอใหเกิดความไดเปรียบทางการแขงขัน<br />

ทางการแขงขันในอุตสาหกรรมของประเทศของตน จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองประเมินจุด<br />

แข็ง และจุดออนทั้งอุตสาหกรรมในประเทศตนและคูแขงขัน เพื่อใหสามารถหาแนวทาง<br />

ปรับตัวใหแขงขันไดอยางมีประสิทธิภาพในตลาดโลกที่มีการแขงขันรุนแรงขึ้นทุกขณะ<br />

เครื่องมือที่พอตเตอรนํามาใชอธิบายความไดเปรียบเชิงแขงขันไดเหมาะสมกับ<br />

สถานการณปจจุบันเรียกวา Diamond Model โดยอิงจากทฤษฎีความไดเปรียบเชิงแขงขัน<br />

โดยการวิเคราะหในกรอบ Diamond Model มีปจจัยแหงความไดเปรียบทางการแขงขันของ<br />

ประเทศ 4 ปจจัย คือ (1) เงื่อนไขปจจัยการผลิตในประเทศ (Factor Conditions) (2) เงื่อนไข<br />

ดานอุปสงคในประเทศ (Domestic Demand) (3) อุตสาหกรรมเกี่ยวโยงและสนับสนุนใน<br />

ประเทศ (Related and Supporting Industries) (4) บริบทการแขงขันและกลยุทธทางธุรกิจ<br />

(Context for Firm Strategy and Rivalry) แสดงดังภาพที่ 1-2<br />

ภาพที่ 1-2 Productivity and the Microeconomic Business Environment<br />

ที่มา: Porter Michael E. (2003). <strong>Thailand</strong>’s Competitiveness Creating the Foundations for Higher Productivity.<br />

Bangkok, <strong>Thailand</strong><br />

1-5


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

แนวคิดที่เปนสาระสําคัญเกี่ยวกับตัวกําหนดขอไดเปรียบทางการแขงขันแตละกลุมมีดังนี้<br />

(1) เงื่อนไขปจจัยการผลิต (Factor Conditions)<br />

ปจจัยการผลิตสามารถแบงลําดับขั้นไดเปน ปจจัยการผลิตทั่วไป และปจจัยเฉพาะทาง<br />

โดยปจจัยทั่วไป หมายถึง สิ่งอํานวยความสะดวก (Infrastructure) แหลงเงินทุน ประเภทหนี้<br />

กําลังคนระดับปริญญาตรีหรือต่ํากวาที่ไมจํากัดวาตองใชกับอุตสาหกรรมใดโดยเฉพาะ<br />

สวนปจจัยเฉพาะทาง หมายถึง บุคลากรที่ไดรับการศึกษาหรือการฝกอบรมเฉพาะทาง<br />

(ซึ่งมักเปนผูที่มีการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี) โครงสรางพื้นฐานสําหรับจุดมุงหมายพิเศษเฉพาะ<br />

ทาง และวิทยาการความรูขั้นสูงที่ใชไดเฉพาะทาง เปนตน ปจจัยเฉพาะทางเหลานี้ใชไดกับบาง<br />

อุตสาหกรรมเปนการเฉพาะทางเทานั้น<br />

(2) เงื่อนไขดานอุปสงค (Demand Conditions)<br />

อุตสาหกรรมในประเทศหนึ่งๆ จะไดเปรียบดานการแขงขันกวาประเทศอื่นๆ ก็ตอเมื่อ<br />

อุปสงคในประเทศมีความชัดเจนกวาหรือเกิดขึ้นกอนประเทศอื่น รวมทั้งเกิดจากผูซื้อใน<br />

ประเทศที่กดดันใหบริษัทตางๆ ในประเทศคิดคนนวัตกรรมใหเกิดขึ้นเร็วกวา ดังนั้น หากผูผลิต<br />

สามารถอยูใกลกับผูซื้อ ก็สามารถรักษาขอไดเปรียบดานการแขงขันของบริษัทและของ<br />

ประเทศได<br />

นอกจากนี้ ขนาดของอุปสงคในประเทศมีความสําคัญมาก คือตลาดใหญมีโอกาสสูง<br />

กวาตลาดเล็กที่จะลดตนทุนตอหนวยที่เกิดจากการผลิตครั้งละมากๆ (Economies of Scale) หรือ<br />

ลดตนทุนตอหนวยที่เกิดขึ้นจากการสะสมความชํานาญที่ไดจากการผลิตหลายๆ ครั้ง (Learning<br />

Curve) แตขนาดของอุปสงคในประเทศอาจไมสําคัญในบางกรณี ถาประเทศเล็กที่อุปสงคใน<br />

ประเทศมีขนาดเล็กเกินไป โดยสามารถเพิ่มขนาดอุปสงคในประเทศดวยการสงออก อยางไรก็<br />

ตามตลาดใหญมีความสําคัญและชวยสงเสริมใหเกิดขอไดเปรียบดานการแขงขันของประเทศก็<br />

ตอเมื่อเสริมดวยลักษณะที่ดีของอุปสงคในประเทศ ตลาดใหญจะไมสําคัญและจะไมชวย<br />

สงเสริมใหเกิดขอไดเปรียบดานการแขงขันของประเทศ ถาขาดซึ่งลักษณะที่ดีของอุปสงคใน<br />

ประเทศ<br />

1-6


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

(3) อุตสาหกรรมเกี่ยวโยงและสนับสนุน (Related and Supporting Industries)<br />

การที่ประเทศมีอุตสาหกรรมเกี่ยวโยงและสนับสนุนที่มีขอไดเปรียบดานการแขงขัน<br />

ระหวางประเทศ มีประโยชนในการกอใหเกิดขอไดเปรียบทางการแขงขันระหวางประเทศของ<br />

อุตสาหกรรมที่มีอุตสาหกรรมสนับสนุนฯ นั้น มีความเกี่ยวเนื่องดานการผลิตอยู ทั้งนี้มาจาก<br />

เหตุปจจัย 3 ประการ ไดแก<br />

3.1 ชองทางที่รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และบางครั้งมีสิทธิพิเศษมากกวาผูอื่นในตางประเทศใน<br />

การมีวัตถุดิบหรือชิ้นสวนที่ดีที่สุด<br />

3.2 ความรวมมือกันอยูตลอดเวลาระหวางบริษัทผูใชกับบริษัทผูผลิตวัตถุดิบ ชิ้นสวนหรือ<br />

เครื่องจักร<br />

3.3 ความรวมมือกันอยูตลอดเวลาในกระบวนการนวัตกรรมและกระบวนการการยกระดับ<br />

และเพิ่มจํานวนบอเกิดแหงขอไดเปรียบดานการแขงขันในระบบคุณคาโลกของทั้งสองฝาย<br />

และจะเกิดประโยชน ถาทั้งสองฝายตั้งอยูใกลกันมากจนเปนการกระจุกตัว ซึ่งทําใหการ<br />

ติดตอสื่อสารเปนไปอยางสะดวก<br />

(4) บริบทการแขงขันและกลยุทธทางธุรกิจ (Context for Firm Strategy and Rivalry)<br />

สภาพการแขงขันในประเทศเปนปจจัยในระบบ Porter’s Model ที่มีน้ําหนักมากที่สุด<br />

ตอการกําหนดขอไดเปรียบดานการแขงขันของประเทศ เนื่องจากอุตสาหกรรมในประเทศที่มี<br />

การแขงขันอยางรุนแรง มีแนวโนมวาจะประสบความสําเร็จสูงมากในการแขงขันระหวาง<br />

ประเทศ ทั้งนี้การแขงขันที่รุนแรงไมไดหมายถึงจํานวนผูแขงขันเพียงเทานั้น แตตองพิจารณา<br />

ถึงคุณภาพของการแขงขันดวย<br />

สาเหตุที่ทําใหการแขงขันอยางรุนแรงของอุตสาหกรรมในประเทศมีผลตอ<br />

ความสามารถในการแขงขันระหวางประเทศ เนื่องจาก การแขงขันในประเทศจะกอใหเกิดแรง<br />

กดดันระหวางกัน ทําใหเกิดการพัฒนาและคิดคนนวัตกรรม รวมทั้งการแขงขันในประเทศยัง<br />

กอใหเกิดการแสวงหาตลาดเพิ่มเติมโดยการสงออก ซึ่งจะสงผลใหเกิดความไดเปรียบดาน<br />

ตนทุนที่ลดลงเมื่อมีการผลิตครั้งละมากๆ (Economies of Scale) นอกจากนี้ กระบวนการ<br />

แขงขันจะทวีคุณประโยชนขึ้นอีกมาก ถาผูแขงขันในอุตสาหกรรมเดียวกันกระจุกตัวอยูบริเวณ<br />

หรือเมืองเดียวกัน<br />

1-7


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

นอกจาก ตัวกําหนดทั้งสี่ใน Porter’s Model แลวยังมีปจจัยภายนอกที่มีบทบาทตอการเกิดความ<br />

ไดเปรียบทางการแขงขันของประเทศอีก 2 ประการ ดังนี้<br />

(1) เหตุที่ควบคุมไมได<br />

เหตุที่ควบคุมไมได หมายถึง การเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญที่อยูนอกเหนือการควบคุม<br />

ของบริษัทตางๆ ในอุตสาหกรรม อาทิ การเปลี่ยนแปลงทางตลาดการเงินโลกหรืออัตรา<br />

แลกเปลี่ยนครั้งสําคัญ การเพิ่มขึ้นของอุปสงคโลกหรืออุปสงคในแถบหนึ่งของโลกอยาง<br />

กะทันหัน การตัดสินใจทางการเมืองโดยรัฐบาลประเทศอื่น หรือสงคราม เปนตน<br />

เหตุที่ควบคุมไมไดมีความสําคัญตอความไดเปรียบทางการแขงขันของประเทศ เพราะ<br />

กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางอุตสาหกรรม โดยอาจลบลางขอไดเปรียบดานการ<br />

แขงขันของผูแขงขันรายเดิม จึงเกิดชองวางใหผูแขงขันรายใหมสามารถชนะผูแขงขันรายเดิม<br />

ได ดังนั้นประเทศที่จะประสบความสําเร็จในการใชประโยชนจากการเปลี่ยนแปลงตางๆ คือ<br />

ประเทศที่มี Porter’s Model ที่สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงนั้น<br />

(2) รัฐบาล<br />

รัฐบาลมีผลตอปจจัยที่เปนตัวกําหนดทั้ง 4 โดยอาจมีผลทั้งดานบวกและดานลบ โดย<br />

ในดานปจจัยการผลิตในประเทศอาจไดรับผลกระทบจากนโยบายรัฐบาลดานตลาดหลักทรัพย<br />

ดานการศึกษา ดานเงินชวยเหลือจากรัฐบาล เปนตน<br />

ดานอุปสงคในประเทศไดรับผลกระทบจากนโยบายรัฐบาลดานมาตรฐานสินคาและ<br />

ดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับความตองการของผูบริโภค รวมทั้งรัฐบาลยังเปนผูซื้อรายใหญของ<br />

สินคาและบริการหลายชนิด สวนอุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวเนื่องในประเทศไดรับ<br />

ผลกระทบจากนโยบายรัฐบาลดานการโฆษณา และดานอื่นๆ เชน โครงสรางและสภาพการ<br />

แขงขันในประเทศของบริษัทไดรับผลกระทบจากนโยบายรัฐบาลดานภาษี ดานการปองกัน<br />

และผูกขาด เปนตน<br />

1-8


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

บทที่ 2<br />

ขอมูลพื้นฐานสาธารณรัฐประชาชนจีน<br />

2.1 ขอมูลทั่วไป<br />

ชื่อทางการ สาธารณรัฐประชาชนจีน (People’s Republic of China)<br />

ที่ตั้ง ตั้งอยูดานตะวันออกของทวีปเอเชีย มีพื้นที่ 9.6 ลานตารางกิโลเมตร ใหญที่สุดของ<br />

ทวีปเอเชีย มีพรมแดนติดตอประเทศตาง ๆ โดยรอบ 15 ประเทศ ไดแก เกาหลี<br />

เหนือ รัสเซีย มองโกเลีย คาซัคสถาน เคอรกิซสถาน ทาจิกิสถาน อัฟกานิสถาน<br />

ปากีสถาน อินเดีย เนปาล สิกขิม ภูฐาน พมา ลาว และเวียดนาม โดยมีเสน<br />

พรมแดนทางบกยาวกวา 2 หมื่นกิโลเมตร ขณะที่ทิศตะวันออกและทิศใตจดทะเล<br />

เหลือง ทะเลจีนตะวันออก และทะเลจีนใต<br />

ภาพที่ 2-1 แสดงแผนที่ประเทศจีน<br />

ที่มา: http://www.greece-map.net/asia/china-map.htm<br />

2 - 1


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ประชากร 1 ประมาณ 1,325,640 พันคน (ป 2008)<br />

จีนเปนประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยคิดเปนสัดสวน 1 ใน 5<br />

ของประชากรทั้งหมดของโลก แตอยางไรก็ตามอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรจีน<br />

ลดลงมาอยางตอเนื่อง โดยปจจุบันมีอัตราการเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 0.6 ต่ํากวาอัตรา<br />

คาเฉลี่ยตามมาตรฐานของโลก<br />

• เพศชายสัดสวนรอยละ 51 เพศหญิงสัดสวนรอยละ 49<br />

• อายุ 0–14 ป สัดสวนรอยละ 20 อายุ 15 – 59 ปสัดสวนรอยละ 68 อายุมากกวา<br />

60 ปสัดสวนรอยละ 12<br />

ตั้งแตชวงปลายทศวรรษ 1979 รัฐบาลจีนกําหนดนโยบาย "ลูกโทน" หรือ<br />

“One child policy” เชิงบังคับคูสามีภรรยาในสังคมเมืองใหมีบุตรแค 1 คน สวน<br />

สังคมชนบทผอนผันใหมีบุตรได 2 คน หวังควบคุมจํานวนประชากรไมใหมาก<br />

เกินทรัพยากรโลกที่มีอยูอยางจํากัด<br />

จากนโยบาย “ลูกโทน” ผนวกความกาวหนาดานเทคโนโลยีการแพทย ทํา<br />

ใหพอแมสามารถรูเพศบุตรไดกอนคลอด สังคมชาวจีนจํานวนไมนอย จึงเลือกเพศ<br />

ลูกชายมากกวาลูกสาว ทําใหประเทศจีนในอดีตมีอัตราการเกิดระหวางเด็ก ชาย<br />

และเด็กหญิงไมสมดุลกัน โดยในชวงป ค.ศ. 1980 ถึงป ค.ศ. 1991 อัตราการเกิด<br />

ระหวางเด็กชายและเด็กหญิงคือ 108 ตอ 100 คน และป ค.ศ. 2005 อัตราการเกิด<br />

คือเด็กชาย 118 คนตอเด็กหญิง100 คน แตอยางไรก็ตาม ในปจจุบันโรงพยาบาล<br />

ตางๆ หามตรวจเพศบุตรกอนคลอด เพื่อชวยลดปญหาความไมสมดุลของ<br />

ประชากรดังกลาวลง ปจจุบันจีนมีประชากรทั้งสิ้นจํานวน 1,300 ลานคนหรือ 20<br />

เปอรเซ็นตของประชากรโลก และคาดวาประชากรจะเพิ่มเปน 1,360 ลานคน<br />

ภายในป ค.ศ. 2010 และเพิ่มถึง 1,450 ลานคน ภายในป ค.ศ. 2020<br />

1<br />

ที่มา: World Trade Organization (WTO)<br />

2 - 2


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

120%<br />

ภาพที่ 2-2 แสดงการเปรียบเทียบโครงสรางประชากรของไทยและจีนป ค.ศ. 2008<br />

100%<br />

80%<br />

60%<br />

40%<br />

20%<br />

0%<br />

11% 12%<br />

67% 69%<br />

22% 19%<br />

ไทย<br />

จีน<br />

60 ปขึ้นไป<br />

15-60 ป<br />

นอยกวา 15ป<br />

ที่มา : National Bureau of Statistics of China, สํานักสถิติแหงชาติ และการคํานวณ<br />

เมืองหลวง ปกกิ่ง หรือเปยจิง (Beijing) ตามภาษาราชการจีน ตั้งอยูภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ของประเทศ เปนศูนยกลางการปกครองของประเทศ ศูนยกลางดานเศรษฐกิจ<br />

การคา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และวัฒนธรรม เปนที่ตั้งของสถานเอกอัครราชทูต<br />

ตางๆ หนวยงานของสหประชาชาติ และองคการระหวางประเทศ สํานักขาวจาก<br />

ตางประเทศ รวมทั้งบริษัทตางชาติจํานวนมาก<br />

รูปแบบการปกครอง สถาปนาประเทศเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1949 มีพรรคคอมมิวนิสตจีน<br />

ดําเนินการปกครองประเทศตามแนวทางพื้นฐานของลัทธิมารกซ-เลนิน<br />

และความคิดเหมา เจอตง โดยประยุกตเขากับแนวทฤษฎีการสรางสรรค<br />

ความทันสมัยใหแกระบอบสังคมนิยมของนายเติ้ง เสี่ยวผิง พรรค<br />

คอมมิวนิสตจีนเปนแกนนําในการปกครอง โดยมีพรรคการเมืองอื่นอีก 8<br />

พรรค เปนแนวรวม ภายใตการปกครองในลักษณะสังคมนิยมที่มี<br />

เอกลักษณเฉพาะแบบจีน<br />

เขตการปกครอง การปกครองสวนกลางแบงออกเปน<br />

• 23 มณฑล คือ เหอเปย ชานสี เหลียวหนิง จี๋หลิน เฮยหลงเจียง เจียงซู<br />

เจอเจียง อานหุย ฝูเจี้ยน เจียงซี ชานตง เหอหนาน หูเปย หูหนาน<br />

2 - 3


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

กวางตุง ไหหนาน เสฉวน กุยโจว ยูนนาน สานซี กานซู ชิงไห และ<br />

รวมไตหวันอยูดวย<br />

• 5 เขตปกครองตนเอง คือเขตที่พลเมืองสวนมากเปนชนกลุมนอย<br />

ไดแก มองโกเลียใน (ชนชาติมองโกล) หนิงเซี่ย (เขตที่นับถือศาสนา<br />

อิสลาม) ซินเจียง (ชนชาติอุยกูร) กวางสี (ชนชาติจวง) และทิเบต (ชน<br />

ชาติทิเบต)<br />

• 4 มหานคร ซึ่งมีสถานะเทียบเทามณฑล แตขึ้นตรงตอรัฐบาลกลาง<br />

คือ กรุงปกกิ่ง นครเซี่ยงไฮ นครเทียนจิน และนครฉงชิ่ง<br />

• 2 เขตบริหารพิเศษ คือฮองกงและมาเกา ซึ่งอยูภายใตอธิปไตยของจีน<br />

แตคงวิถีการปกครองและเศรษฐกิจของตนเอง ตามหลักการ “หนึ่ง<br />

ประเทศ สองระบบ”<br />

สําหรับการปกครองในสวนภูมิภาคยังแบงยอยออกเปนจังหวัด<br />

(Prefecture) มี 159 จังหวัด อําเภอ (County) มี 2,017 อําเภอ เมือง (City) มี<br />

350 เมือง และเขตในเมืองตางๆ ประมาณ 630 เขต<br />

ชนชาติ มีชนชาติตาง ๆ อยูรวมกัน 56 ชนชาติ โดยเปนชาวฮั่น รอยละ 93.3 ที่เหลือเปนชน<br />

กลุมนอยอื่นๆ ที่สําคัญ ไดแก ชนเผาจวง ซึ่งสวนใหญอยูในเขตปกครองตนเอง<br />

กวางสีและมณฑลยูนนาน ชนเผาหุยในมณฑลหนิงเซี่ยและกานซู ชนเผาอุยกูรใน<br />

มณฑลซินเกียง ชนเผาหยีในมณฑลเสฉวน ชนเผาทิเบตในเขตปกครองตนเอง<br />

ทิเบตและมณฑลชิงไห ชนเผาแมวในมณฑลยูนนานและกุยโจว ชนเผาแมนจู ใน<br />

มณฑลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชนเผามองโกลในเขตปกครองตนเอง<br />

มองโกเลียในและซินเจียง ชนเผาไตหรือไทในมณฑลยูนนาน และชนเผาเกาซัน<br />

ในไตหวัน<br />

ภาษา ภาษาจีนกลาง (ผูทงฮวา 普 通 话 ) เปนภาษาราชการ ชาวจีนในมณฑลตางๆ มี<br />

ภาษาพูดทองถิ ่นที่แตกตางกันเชน เสฉวน หูหนาน แตจิ๋ว ไหหลํา กวางตุง ฮกเกี้ยน<br />

ฮักกา และเซี่ยงไฮ เปนตน และการออกเสียงภาษาจีนกลางก็มีสําเนียงเพี้ยนไปตาม<br />

ทองถิ่น<br />

ศาสนา ลัทธิขงจื้อ เตา พุทธ อิสลาม และคริสต<br />

เงินตรา สกุลเงินเรียกวา “เหรินหมินป” ( 人 民 币 )โดยมีหนวยเรียกเปน “หยวน”<br />

( 元 )มีอัตราแลกเปลี่ยน 1 หยวน เทากับ 4.78 บาท 1 ดอลลารสหรัฐ เทากับ 7.9<br />

หยวน 1 ยูโร เทากับ 10.14 หยวน<br />

2 - 4


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

2.2 ขอมูลทางเศรษฐกิจพื้นฐาน<br />

ป 2009 ป 2010<br />

การเติบโตของ GDP (การเปลี่ยนแปลง) 8.7 8.0 รอยละ<br />

การบริโภคสวนบุคคล (การเปลี่ยนแปลง) 15.3 16.0 รอยละ<br />

อัตราการวางงาน 4.3 4.6 รอยละ<br />

อัตราเงินเฟอ (การเปลี่ยนแปลง) -0.7 4.0 รอยละ<br />

อัตราดอกเบี้ยระยะสั้น 5.3 5.6 รอยละ<br />

การสงออก -16.0 10 รอยละ<br />

จํานวนประชากร 14.0 14.0 ลานคน<br />

ที่มา: JD Power, China <strong>Automotive</strong> Monthly Market Trends: March 2010<br />

ภาพที่ 2-3 แสดงการเปรียบเทียบอัตราการเติบทางเศรษฐกิจของจีนและไทยป ค.ศ. 2004 – 2008<br />

ที่มา : National Bureau of Statistics of China, สํานักสถิติแหงชาติ และการคํานวณ<br />

2 - 5


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

การสงออกและนําเขาสินคาของประเทศจีน (ป 2008)<br />

สัดสวนการสงออกรวมของจีนเทียบกับทั้งโลก 8.89 % สัดสวนการนําเขารวมของจีนเทียบกับทั้งโลก 6.90 %<br />

แบงตามประเภทสินคาสงออก (%) แบงตามประเภทสินคานําเขา (%)<br />

1. สินคาอุตสาหกรรม 93.1 (1) สินคาอุตสาหกรรม 64.8<br />

2. สินคาพลังงานและแรธาตุ 3.8 (2) สินคาพลังงานและแรธาตุ 27.1<br />

3. สินคาเกษตรกรรม 3.0 (3) สินคาเกษตรกรรม 7.7<br />

แบงตามประเทศปลายทาง (%) แบงตามประเทศตนทาง (%)<br />

(1) สหภาพยุโรป (EU 27) 20.5 (1) ญี่ปุน 13.3<br />

(2) สหรัฐอเมริกา 17.7 (2) สหภาพยุโรป (EU 27) 11.7<br />

(3) ฮองกง 13.4 (3) สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต) 9.9<br />

(4) ญี่ปุน 8.1 (4) ไตหวัน 9.1<br />

(5) สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต) 5.2 (5) จีน 8.2<br />

ที่มา: WTO<br />

ภาพที่ 2-4 แสดงโครงสรางสินคาสงออก-นําเขาของจีนป ค.ศ. 2008<br />

สัดสวน 8.9%<br />

ของโลก<br />

ที่มา: WTO<br />

2 - 6


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ตารางที่ 2-1 แสดงมูลคาการนําเขาสินคาของประเทศจีนไปยังประเทศคูคา 10 ลําดับแรกใน ป ค.ศ.<br />

2005 – 2009 (หนวย: ลานเหรียญสหรัฐ)<br />

ลําดับ ประเทศคูคา ป 2005 ป 2006 ป 2007 ป 2008 ป 2009<br />

รวมทุกประเทศ 660,221 791,793 956,261 1,131,468 1,003,892<br />

1 ญี่ปุน 100,467 115,810 133,903 150,634 130,748<br />

2 เกาหลีใต 76,873 89,818 104,044 112,153 102,125<br />

3 จีน 55,178 73,365 85,695 92,315 86,379<br />

4 ไตหวัน 74,655 87,140 100,985 103,325 85,706<br />

5 สหรัฐอเมริกา 48,734 59,222 69,860 81,486 77,432<br />

6 เยอรมนี 30,668 37,887 45,421 55,909 55,904<br />

7 ออสเตรเลีย 16,146 19,195 25,758 36,283 39,174<br />

8 มาเลเซีย 20,107 23,576 28,737 32,111 32,206<br />

9 บราซิล 9,981 12,907 18,342 29,632 28,311<br />

10 ไทย 13,993 17,961 22,652 25,627 24,845<br />

ที่มา : Global Trade Atlas<br />

ตารางที่ 2-2 แสดงมูลคาการสงออกสินคาของประเทศจีนไปยังประเทศคูคา 10 ลําดับแรกใน ป ค.ศ.<br />

2005 – 2009 (หนวย: ลานเหรียญสหรัฐ)<br />

ลําดับ ประเทศคูคา ป 2005 ป 2006 ป 2007 ป 2008 ป 2009<br />

รวมทุกประเทศ 762,326 969,323 1,218,155 1,428,869 1,202,047<br />

1 สหรัฐอเมริกา 162,938 203,516 232,761 252,326 220,705<br />

2 ฮองกง 124,504 155,434 184,289 190,772 166,109<br />

3 ญี่ปุน 84,097 91,771 102,116 116,176 97,209<br />

4 เกาหลีใต 35,116 44,557 56,128 73,905 53,629<br />

5 เยอรมนี 32,537 40,302 48,728 59,191 49,932<br />

6 เนเธอรแลนด 25,876 30,843 41,410 45,921 36,688<br />

7 สหราชอาณาจักร 18,983 24,158 31,653 36,078 31,266<br />

8 สิงคโปร 16,716 23,188 29,679 32,325 30,049<br />

9 อินเดีย 8,936 14,588 24,036 31,516 29,570<br />

10 ฝรั่งเศส 11,647 13,897 20,321 23,307 21,445<br />

... ... ... ... ... ... ...<br />

22 ไทย 7,818 9,763 11,978 15,520 13,324<br />

ที่มา : Global Trade Atlas<br />

2 - 7


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ตารางที่ 2-3 แสดงมูลคาสินคานําเขาของประเทศจีน เรียงลําดับตามประเภทสินคาสงออก 10 ลําดับ<br />

แรก ในป ค.ศ. 2005 – 2009 (หนวย: ลานเหรียญสหรัฐ)<br />

ลําดับ HS Code ป 2005 ป 2006 ป 2007 ป 2008 ป 2009<br />

1 85 – อุปกรณไฟฟา 174,912 219,085 257,606 266,639 243,779<br />

2 84 – เครื่องจักรกล 96,418 109,466 124,440 138,707 123,814<br />

3 27 - เชื้อเพลิง 64,239 89,077 104,675 168,643 123,147<br />

4 26 – สินแร ตะกรันและเถา 25,923 31,950 53,910 85,235 68,822<br />

5 90 - อุปกรณทางทัศนศาสตร 49,957 58,852 69,404 77,696 66,954<br />

6 39 – พลาสติก 33,338 37,837 45,319 48,841 48,509<br />

7 29 - เคมีภัณฑอินทรีย 28,022 29,855 38,385 39,301 36,175<br />

8 74 - ทองแดง 12,890 17,172 27,172 26,084 29,416<br />

9 87 - ยานยนต 12,271 17,040 22,111 26,940 28,344<br />

10 72 - เหล็กและเหล็กกลา 26,230 20,042 23,012 24,519 27,787<br />

ที่มา : Global Trade Atlas<br />

ตารางที่ 2-4 แสดงมูลคาสินคาสงออกของประเทศจีน เรียงลําดับตามประเภทสินคาสงออก 10<br />

ลําดับแรก ในป ค.ศ. 2005 – 2009 (หนวย: ลานเหรียญสหรัฐ)<br />

ลําดับ HS Code ป 2005 ป 2006 ป 2007 ป 2008 ป 2009<br />

1 85 – อุปกรณไฟฟา 172,406 227,545 300,334 342,081 301,214<br />

2 84 – เครื่องจักรกล 149,834 186,656 228,663 268,740 235,952<br />

3 61 – เครื่องแตงกายที่ถักแบบ 30,875 44,902 61,342 60,590 53,771<br />

นิตหรือโครเชต<br />

4 62 – เครื่องแตงกายที่ไมไดถัก 35,038 43,709 47,338 52,430 46,731<br />

แบบนิตหรือโครเชต<br />

5 94 - เฟอรนิเจอร 22,367 27,956 35,956 42,785 38,957<br />

6 90 - อุปกรณทางทัศนศาสตร 25,435 32,628 37,006 43,385 38,941<br />

7 73 - ของที่ทําดวยเหล็กหรือ<br />

เหล็กกลา<br />

19,031 26,792 36,718 48,343 33,809<br />

8 89 – เรือ สิ่งกอสรางลอยน้ํา 4,718 8,102 12,273 19,578 28,306<br />

9 64 – รองเทา 19,048 21,813 25,305 29,650 28,015<br />

10 87 - ยานยนต 16,600 22,382 31,861 39,316 27,958<br />

ที่มา : Global Trade Atlas<br />

2 - 8


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาพที่ 2-5 แสดงโครงสรางตลาดสินคาสงออก-นําเขาของจีนป ค.ศ. 2008<br />

ที่มา: จากการคํานวณขอมูล ตารางที่ 2-1 และ 2-2<br />

ภาพที่ 2-6 แสดงมูลคาสงออก-นําเขาสินคายานยนตของจีนป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

ที่มา: จากการคํานวณขอมูล ตารางที่ 2-3 และ 2-4<br />

2 - 9


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

2.3 ขอมูลสําคัญทางเศรษฐกิจและการคาของจีน 18 มณฑล<br />

มณฑล/<br />

เขตปกครองตนเอง/<br />

มหานคร<br />

1. กวางตง ขนาดเศรษฐกิจใหญอันดับ 1 ของจีน อยูติดกับฮองกงจึงเปน<br />

ประตูเขา-ออกสินคาจากจีนกับตลาดโลกมานาน นอกจาก<br />

เมืองเอกคือ กวางโจวแลว ยังมีเมืองเศรษฐกิจสําคัญ เชน เซิน<br />

เจิ้น จูไห และซานโถว ซึ่งเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) มา<br />

ตั้งแตป 1979 เศรษฐกิจการคาขยายตัวอยางรวดเร็ว และมี<br />

มูลคาการสงออกและคาปลีกมากที่สุดในจีน<br />

2. เจียงซู มีขนาดเศรษฐกิจใหญเปนอันดับ 2 รองจากกวางตง เมืองเอก<br />

คือ หนานจิง มีการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (FDI) มาก<br />

เปนอันดับ 1 ของจีน และเปนตลาดผูบริโภคขนาดใหญเปน<br />

อันดับที่ 3 ของจีน<br />

3. ซางไห เปนศูนยกลางเศรษฐกิจและการคามานาน โดยตั้งอยูบน<br />

สามเหลี่ยมที่ราบลุมแมน้ําฉางเจียง (แยงซีเกียง) มีทาเรือน้ํา<br />

ลึกที่ใหญที่สุดในจีน และติดอันดับ 3 ของโลก<br />

ลักษณะเดน การผลิตและทรัพยากรสําคัญ สินคาสงออกสําคัญ สินคานําเขาสําคัญ<br />

แหลงสํารองแรดินขาว ถานหินรวน<br />

พลวงและเจอรมาเนียม มากที่สุดในจีน<br />

เปนฐานทางอุตสาหกรรมที่ใหญที่สุดใน<br />

จีน โดยเฉพาะอุตสาหกรรม<br />

อิเล็กทรอนิกส และเครื่องใชไฟฟาใน<br />

ครัวเรือน<br />

มีแรเหล็กหายาก ดินสําหรับทําเครื่อง<br />

เคลือบหินปูน และหินออนและแรโลหะ<br />

ที่ไมมีเหล็กผสม โดดเดนใน<br />

อุตสาหกรรมเคมี และวัสดุกอสราง<br />

เปนศูนยกลางทางการเงิน และตลาด<br />

หลักทรัพยของจีน เปนผูนําดานการผลิต<br />

รถยนต และผูผลิตแผงวงจรรวม และ<br />

เอทิลีน รายใหญเปนอันดับ 2 ของจีน<br />

เครื่องจักรและอุปกรณไฟฟา<br />

เครื่องใชไฟฟาในบาน อุปกรณ<br />

อิเล็กทรอนิกสและการสื่อสาร สิ่งทอ<br />

เครื่องแตงกาย ของเด็กเลนและรองเทา<br />

เครื่องใชในสํานักงานและ<br />

เครื่องประมวลผลขอมูล อุปกรณ<br />

โทรคมนาคม เครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสและ<br />

ชิ้นสวน และสิ่งทอและและเครื่องแตงกาย<br />

สินคาไฮเทค เชน อุปกรณโทรคมนาคม<br />

และชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เครื่องจักรและ<br />

อุปกรณขนสง อุปกรณไฟฟาเครื่องมือและ<br />

ชิ้นสวน และเครื่องแตงกาย<br />

สินคาทุนและสินคาจําพวกวัตถุดิบ<br />

ชิ้นสวนและสวนประกอบ อุปกรณ<br />

อิเล็กทรอนิกส เครื่องจักร แผงวงจร<br />

ไฟฟา เหล็กมวน น้ํามันดิบ และ<br />

พลาสติกในรูปสารตั้งตน<br />

เครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสและชิ้นสวน<br />

เครื่องมือและอุปกรณทางวิชาชีพ<br />

เครื่องมือทางวิทยาศาสตร และเคมี<br />

อินทรีย<br />

ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสและ<br />

สวนประกอบ วัตถุดิบพลาสติก และ<br />

ชิ้นสวนรถยนตและสวนประกอบ<br />

2 - 10


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

มณฑล/<br />

เขตปกครองตนเอง/<br />

มหานคร<br />

4. ซานตง มีขนาดเศรษฐกิจใหญเปนอันดับ 3 ของจีน และเปนตลาด<br />

ผูบริโภคอันดับ 2 ในจีน ดานเกษตร ผลิตแอปเปลไดมาก<br />

ที่สุดในจีน มีทาเรือชิงเตาและเอียนไถเปน 2 ในเมืองทาทาง<br />

ทะเลที่ใหญที่สุดในจีน<br />

5. เจอเจียง มีขนาดเศรษฐกิจใหญเปนอันดับ 4 ของจีน เมืองเอก คือ<br />

หางโจว มีชายฝงทะเลยาวที่สุดในจีน และมีทาเรือสําคัญ คือ<br />

หนิงโป<br />

6. เปยจิง เปนเมืองหลวง และเปนศูนยกลางทางการเมือง และการ<br />

ตางประเทศของจีน รวมทั้งเปนแหลงทองเที่ยวเชิง<br />

ประวัติศาสตร และวัฒนธรรมจีนโบราณ<br />

ลักษณะเดน การผลิตและทรัพยากรสําคัญ สินคาสงออกสําคัญ สินคานําเขาสําคัญ<br />

เปนฐานการผลิตทางอุตสาหกรรมอันดับ<br />

3 ของจีน รองจากกวางตงและเจียงซู<br />

สินคามีชื่อ เชน เบียรชิงเตา และ<br />

เครื่องใชไฟฟาไหเออร น้ํามันดิบ (มาก<br />

เปนอันดับ 2 ในจีน รองจากเฮยหลงเจียง)<br />

ถานหิน<br />

ดินสาหรายเปลือกแข็ง ถานหิน สารสม<br />

หินปูน ฟลูโอไรท เปนฐานทาง<br />

อุตสาหกรรมที่ใหญเปนอันดับ 4 ของจีน<br />

ที่สําคัญอุตสาหกรรมเครื่องแตงกายและ<br />

สิ่งทอ ผลิตผาไหมได 1 ใน 3 ของจีน<br />

เครื่องหนัง ของเด็กเลน และกระดาษ<br />

เปนฐานการผลิตของอุตสาหกรรม<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศในระดับสูง<br />

เครื่องจักรกล สินคาอิเล็กทรอนิกส<br />

เคมีภัณฑ สิ่งทอ เครื่องแตงกาย ปลาและ<br />

ผลิตภัณฑสัตวน้ํา และเครื่องหนัง<br />

เครื่องจักรกลและไฟฟา เครื่องแตงกายและ<br />

ผลิตภัณฑ สิ่งทอและผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑ<br />

สัตวน้ํา รองเทา และเม็ดพลาสติก<br />

กลุมเครื่องจักรและอุปกรณขนสง (รอยละ<br />

61.5) กลุมสินคาเบ็ดเตล็ด (รอยละ 16.9)<br />

และกลุมสินคาสําเร็จรูป (รอยละ 8.9)<br />

เหล็กกลา เครื่องจักรกลและเครื่อง<br />

ไฟฟา พลาสติกและผลิตภัณฑ หนัง<br />

ดิบ เคมีภัณฑ วัตถุดิบอื่นๆ เครื่อง<br />

คอมพิวเตอร<br />

เครื่องจักรกลและไฟฟา สินคาไฮเทค<br />

สินคาเกษตร ผลิตภัณฑเหล็กกลา และ<br />

พลาสติกในรูปสารตั้งตน<br />

กลุมเครื่องจักรและอุปกรณขนสง<br />

(รอยละ 60.3) กลุมสินคาเบ็ดเตล็ด<br />

(รอยละ 11.1) และกลุมสินคาสําเร็จรูป<br />

(รอยละ 9.6)<br />

2 - 11


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

มณฑล/<br />

เขตปกครองตนเอง/<br />

มหานคร<br />

7. ฝูเจี้ยน ตั้งตรงขามกับไตหวัน มีเมืองเซี่ยเหมิน เปนเขตเศรษฐกิจ<br />

พิเศษ (SEZ)<br />

8. เทียนจิน เปนเมืองทาเชิงพาณิชยแบบครบวงจรที่ใหญที่สุดในจีนตอน<br />

เหนือ และทาเรือตูขนสินคาที่ใหญที่สุดในจีน และเปน<br />

ศูนยกลางการขนสงทางอากาศที่ใหญที่สุดในจีน<br />

9. เหลียวหนิง เปนศูนยกลางของจีนอีสาน เปนฐานการผลิตอุตสาหกรรม<br />

หนัก เมืองสําคัญ คือ ตาเหลียน เปนทาเรือใหญและ<br />

ศูนยกลางแฟชั่น<br />

10. หยุนหนาน เปนประตูสู “GMS” เชื่อมจีนกับอีก 5 ประเทศในลุมแมน้ํา<br />

โขง ศูนยกลางการคมนาคมและการขนสงที่สําคัญของจีน<br />

ตอนใน โดยเฉพาะเสนทาง North-South Corridor เชื่อม<br />

คุนหมิง-กรุงเทพฯ<br />

ลักษณะเดน การผลิตและทรัพยากรสําคัญ สินคาสงออกสําคัญ สินคานําเขาสําคัญ<br />

มีพื้นที่ปาไมมากที่สุดในจีน ผลิตสินคา<br />

จากไมมากเปนอันดับ 2 ของจีน สินคามี<br />

ชื่อ เชน สมฝูโจว และลําไยผูเถียน และมี<br />

อุตสาหกรรมประมงใหญเปนอันดับ 3<br />

ในจีน<br />

เปนศูนยกลางอุตสาหกรรมการนําเขา-<br />

สงออก การบรรจุภัณฑ อิเล็กทรอนิกส<br />

อุปกรณเทคโนโลยีสมัยใหม<br />

แหลงผลิตหยก น้ํามัน เหล็ก เหล็กกลา<br />

ถานหิน แมกนีเซียม และเพชรรายใหญ<br />

ศูนยกลางของอุตสาหกรรม ปโตรเคมี<br />

และการแปรรูปวัตถุดิบ<br />

ผลิตสังกะสีไดมากที่สุดในจีน และยังมี<br />

ดีบุก ทองแดง อลูมิเนียม ตะกั่ว แหลง<br />

ผลิตใบยาสูบ (มากที่สุดในจีน) ยางพารา<br />

ใบชา กาแฟ ไม ดอก ออย (อันดับ 2)<br />

ไฟฟาพลังน้ํา และการทองเที่ยว<br />

อุปกรณในสํานักงานและเครื่องประมวลผล<br />

ขอมูล เครื่องแตงกายและอุปกรณตกแตง<br />

เสื้อผา รองเทา ถุงเทา เครื่องทําไฟฟาและ<br />

ชิ้นสวน ผลิตภัณฑแรอโลหะ<br />

เครื่องจักรและอุปกรณขนสง (คิดเปน<br />

สัดสวนรอยละ 65.1) สินคาวัตถุดิบ (รอย<br />

ละ 10.0) และน้ํามันเชื้อเพลิงและ<br />

น้ํามันหลอลื่น (รอยละ 6.2)<br />

ยางรถยนต น้ํามันสําเร็จรูป ผลิตภัณฑเหล็ก<br />

น้ํามันดิบ และสิ่งทอไหม<br />

เคมีภัณฑ โลหะสามัญและผลิตภัณฑ<br />

ใบยาสูบ ผัก ผลไม และธัญพืช<br />

เครื่องทําไฟฟาและชิ้นสวน อุปกรณ<br />

เฉพาะทางและเครื่องมือทาง<br />

วิทยาศาสตร อุปกรณในสํานกั งาน<br />

และเครื่องประมวลผลขอมูล และ<br />

พลาสติกในรูปสารตั้งตน เคมีอินทรีย<br />

เครื่องจักรและอุปกรณขนสง (คิดเปน<br />

สัดสวนรอยละ 65.0) สินคาวัตถุดิบ<br />

(รอยละ 9.0) และเคมีภัณฑ (รอยละ<br />

8.6)<br />

หลอดภาพโทรทัศน ผลิตภัณฑเหล็ก<br />

ยางพารา รถยนต และอะลูมิเนียม<br />

สินแร เครื่องจักรกลและไฟฟา<br />

อุปกรณอิเล็กทรอนิกสและอุปกรณ<br />

ติดตอสื่อสาร<br />

2 - 12


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

มณฑล/<br />

เขตปกครองตนเอง/<br />

มหานคร<br />

11. เจียงซี มีการทําปศุสัตว เปดและไก สัตวน้ําจืด และเปนแหลงผลิต<br />

สินคาจากไมไผและไมแปรรูปที่สําคัญของจีน แหลงกําเนิด<br />

เครื่องเคลือบกังไส ทะเลสาบน้ําจืดที่ใหญที่สุดในจีน<br />

12. หูหนาน มีปริมาณน้ําจืดมากเปนอันดับที่ 2 ของจีน เปนแหลงผลิตขาว<br />

และปลาน้ําจืดรายใหญ เปนบานเกิดของเหมา เจอตง ผู<br />

สถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน<br />

13. กวางซี เปนมณฑลทางตะวันตกเพียงแหงเดียวที่มีทางออกทะเล และ<br />

อยูติดกับเวียดนาม รัฐบาลประกาศใหเปน “ประตูสูอาเซียน”<br />

ของจีน เปนแหลงผลิตออยมากที่สุดในจีน และเปนแหลงทํา<br />

ประมงและผลิตไขมุกสําคัญของจีน<br />

ลักษณะเดน การผลิตและทรัพยากรสําคัญ สินคาสงออกสําคัญ สินคานําเขาสําคัญ<br />

ผูผลิตขาวรายใหญอันดับ 3 ของจีน ผลิต<br />

ทองแดง เงิน ยูเรเนียม มากที่สุดในจีน<br />

และผลิตทังสเตนและทองคําไดเปน<br />

อันดับ 2<br />

มีพลวงดํามากเปนอันดับ 1 ของโลก<br />

แหลงแรอโลหะของจีน แหลงผลิตขาว<br />

สําคัญของจีน ผลิตชาและสมไดเปน<br />

อันดับ 4 และเปนแหลงปศุสัตวพันธุ<br />

พื้นเมืองมีชื่อ<br />

ฐานการผลิตน้ําตาลที่ใหญที่สุดในจีน<br />

และอุตสาหกรรมโลหะที่ไมมีเหล็กผสม<br />

รถยนตและเครื่องจักร<br />

เสื้อผาและชิ้นสวนประดับเสื้อผา<br />

เครื่องจักรกลและเครื่องไฟฟา เคมีภัณฑ<br />

อาหารกึ่งสําเร็จรูป โลหะสามัญ เครื่อง<br />

เคลือบ ธัญพืช ฝาย และรองเทา<br />

เหล็กกลามวน แมงกานีสที่ยังไมไดถลุง<br />

ดายทอ สิ่งทอ และผลิตภัณฑ เครื่องแตง<br />

กายและเครื่องประดับตกแตงเสื้อผา และ<br />

ดอกไมไฟและประทัด<br />

กลุมผลิตภัณฑเครื่องจักรและไฟฟา กลุม<br />

เครื่องแตงกายและเครื่องประดับเสื้อผา สิ่ง<br />

ทอ อาหาร ปูนซีเมนต สังกะสีผสม ดีบุก<br />

ผสมและวัสดุกอสราง<br />

เครื่องจักรกลและเครื่องไฟฟา เม็ด<br />

พลาสติก สินแร ผลิตภัณฑไฮเทค<br />

แรเหล็ก ชิ้นสวนยานยนต เหล็กกลา<br />

มวน เยื่อกระดาษ และเครื่องมือ<br />

เครื่องจักรสําหรับผลิตโลหะ<br />

ถั่วเหลือง สินแร (แรเหล็ก และแร<br />

แมงกานีส) กลุมผลิตภัณฑเครื่องจักร<br />

และไฟฟา น้ํามัน พืชประกอบอาหาร<br />

และหนังดิบ<br />

2 - 13


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

มณฑล/<br />

เขตปกครองตนเอง/<br />

มหานคร<br />

14. ซื่อชวน มีขนาดเศรษฐกิจใหญและเปนฐานอุตสาหกรรมที่ใหญที่สุด<br />

ในจีนตะวันตก เปนแหลงแรธาตุและแหลงผลิตสินคาเกษตร<br />

รายใหญ ผลิตเนื้อหมูไดมากที่สุดในจีน<br />

15. กุยโจว มีรายไดต่ําที่สุดในประเทศจีน ผลิตใบยาสูบไดเปนอันดับ 2<br />

ในจีนและเปนแหลงผลิตชา สมุนไพรรายใหญ สินคามีชื่อ<br />

ไดแก เหลาเหมาไถ<br />

16. ฉงชิ่ง ยกระดับขึ้นเปนมหานคร เมื่อเดือนมีนาคม 1997 เพื่อใหเปน<br />

ศูนยกลางของการพัฒนาจีนตะวันตก เปนฐานการผลิต<br />

อุตสาหกรรมหนัก เชน รถยนตและมอเตอรไซค<br />

ลักษณะเดน การผลิตและทรัพยากรสําคัญ สินคาสงออกสําคัญ สินคานําเขาสําคัญ<br />

ฐานการผลิตทางเกษตรกรรมและปศุสัตว<br />

มากเปนอันดับ 4 ของจีน และแหลง<br />

ทรัพยากรน้ําสําคัญ จึงเปนศูนยกลางการ<br />

ผลิตไฟฟาพลังน้ําของจีน<br />

ฟอสฟอรัส (มากที่สุดในจีน) บอกไซต<br />

(อันดับ 2) และถานหิน (อันดับ 5) แหลง<br />

ผลิตและจัดหาไฟฟา การแปรรูปใบ<br />

ยาสูบ การถลุงแร เครื่องดื่มผสม<br />

แอลกอฮอล อาหารแปรรูป และวัสดุ<br />

กอสราง<br />

กาซธรรมชาติ พลังงานน้ํา และมีแร<br />

สตรอนเทียม (มากที่สุดในจีนและอันดับ<br />

2 ของโลก) เปน 1 ใน 3 ผูผลิต<br />

อะลูมิเนียมรายใหญของจีน<br />

เตาปฏิกรปรมาณู เครื่องจักร อุปกรณไฟฟา<br />

และเครื่องเลนวีดิโอและออดิโอ วัสดุสิ่งทอ<br />

และผลิตภัณฑ โลหะสามัญและผลิตภัณฑ<br />

เคมีภัณฑและผลิตภัณฑ สัตวมีชีวิตและ<br />

ผลิตภัณฑจากสัตว อาหาร เครื่องดื่ม ใบ<br />

ยาสูบ<br />

เคมีภัณฑ เครื่องจักร อุปกรณไฟฟา และ<br />

เครื่องเลนและบันทึกภาพ โลหะสามัญและ<br />

ผลิตภัณฑ สินแร และอาหาร เครื่องดื่ม สุรา<br />

ใบยาสูบ<br />

กลุมรถยนต เครื่องบิน เรือ และอุปกรณ<br />

ขนสง โดยเฉพาะมอเตอรไซค อุปกรณ<br />

เครื่องจักรและไฟฟา เครื่องบันทึกวีดิโอ<br />

และอุปกรณ เคมีภัณฑและผลิตภัณฑ<br />

โลหะสามัญและผลิตภัณฑ วัสดุสิ่งทอและ<br />

ผลิตภัณฑ<br />

เตาปฏิกรปรมาณู เครื่องจักร อุปกรณ<br />

ไฟฟา และเครื่องเลนวีดีโอและออดิโอ<br />

รถยนต เครื่องบิน เรือ และอุปกรณ<br />

ขนสง สินแร อุปกรณและเครื่องมือ<br />

แพทย นาฬิกา และเครื่องดนตรี และ<br />

โลหะสามัญและผลิตภัณฑ<br />

สินแร เครื่องจักร อุปกรณไฟฟา และ<br />

เครื่องเลนและบันทึกภาพ พลาสติก<br />

ยางพารา และผลิตภัณฑ โลหะสามัญ<br />

และผลิตภัณฑ และอุปกรณถายภาพ<br />

เครื่องตวงวัด เครื ่องมือแพทย นาฬิกา<br />

และเครื่องดนตรี<br />

อุปกรณเครื่องจักรและไฟฟา เครื่อง<br />

บันทึกวีดิโอและอุปกรณกลุมรถยนต<br />

เครื่องบิน เรือ และอุปกรณขนสง<br />

สินแร เครื่องมือ และ อุปกรณทาง<br />

การแพทย นาฬิกา และเครื่องดนตรี<br />

2 - 14


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

มณฑล/<br />

เขตปกครองตนเอง/<br />

มหานคร<br />

17. สานซี ศูนย R&D ที่ใหญเปนอันดับ 3 รองจากเปยจิงและซางไห<br />

และเปนฐานการผลิตพลังงานที่สําคัญ<br />

18. ไหหนาน จัดตั้งเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษในป 1988 และเปนแหลงผลิต<br />

พืชเศรษฐกิจและผลไมเมืองรอน กลวย มะพราว พืช<br />

สมุนไพร ยางพารา และอาหารทะเลที่สําคัญ<br />

ลักษณะเดน การผลิตและทรัพยากรสําคัญ สินคาสงออกสําคัญ สินคานําเขาสําคัญ<br />

ที่มา: อักษรศรี พาณิชสาสน และคณะ (2549): จีนหนึ่งประเทศ หลายมณฑล หลากกฎเกณฑ<br />

มีแหลงแรสํารองมากที่สุดในจีน ที่สําคัญ<br />

เชน น้ํามัน กาซ ถานหิน เกลือ และแร<br />

อโลหะ แหลงผลิตผลไมรายใหญ เชน<br />

แอปเปล และเปนฐานการแปรรูปผลไมที่<br />

ใหญที่สุดในจีน<br />

แหลงผลิตผลไมเขตรอนที่ใหญที่สุดและ<br />

แหลงผลิตยางพาราอันดับ 1 ของจีน<br />

แหลงน้ํามันและกาซธรรมชาติรายใหญ<br />

แหงหนึ่งและยังมีไททาเนียม (70% ของ<br />

จีน) และเปนฐานการผลิตเกลือทะเล<br />

เครื่องจักรกลและเครื่องไฟฟา สินคาเกษตร<br />

แปรรูป สินแร สิ่งทอและเครื่องแตงกาย<br />

โลหะและผลิตภัณฑ และอุปกรณขนสง<br />

กาซธรรมชาติ เสื้อผาและอุปกรณตกแตง<br />

เสื้อผา ผลิตภัณฑเครื่องจักรกลและไฟฟา<br />

ผลิตภัณฑสัตวน้ํา และเฟอรนิเจอร<br />

เครื่องจักรกลและเครื่องไฟฟา<br />

เครื่องวัดปริมาณ ตรวจสอบ และ<br />

วิเคราะหอัตโนมัติ และอุปกรณ และ<br />

โลหะและผลิตภัณฑ<br />

ยานอวกาศ (spacecraft) และชิ้นสวน<br />

ผลิตภัณฑเครื่องจักรกลและไฟฟา<br />

เครื่องใชไฟฟา เวชภัณฑ และ<br />

ผลิตภัณฑพลาสติก<br />

2 - 15


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

บทที่ 3<br />

ขอมูลอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน<br />

การศึกษาถึงอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีนในครั้งนี้ แบงอุตสาหกรรมยานยนตเปนสอง<br />

สวนใหญ ไดแก สวนที่หนึ่งคือ พัฒนาการอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน และสวนที่สองคือ<br />

โครงสรางของอุตสาหกรรมยานยนต<br />

3.1 พัฒนาการอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน 1<br />

3.1.1 พัฒนาการของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต<br />

พัฒนาการของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนตของประเทศจีนแบงเปน 3 ชวงใหญๆ คือ<br />

ชวงแรกเปนชวงการกอตั้งอุตสาหกรรมในประเทศ ป ค.ศ. 1958 – 1977 ชวงที่สองเปนชวงการ<br />

เติบโตของอุตสาหกรรม ป ค.ศ.1978 – 2000 และชวงที่สาม คือชวงเติบโตอยางกาวกระโดดของ<br />

อุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีน ป ค.ศ. 2001 ถึงปจจุบัน<br />

ชวงที่ 1 : การกอตั้งอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน (ค.ศ. 1958 – 1977)<br />

กอนป ค.ศ. 1949 ประเทศจีนไมมีการเก็บขอมูลเกี่ยวกับอุตสาหกรรมยานยนตไว แมวา<br />

ประชาชนหรือบริษัทรายยอยๆ ผูอยูในเมืองหลักของประเทศจีน จะนําเขารถยนตจากตางประเทศ<br />

ในชวงนั้นแลวก็ตาม เพราะในขณะนั้นจีนยังไมมีอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต สาเหตุหนึ่งเปน<br />

เพราะการเกิดสงครามในประเทศจีน ความตอเนื่องของสงครามสงผลตอการกอตั้งและการเติบโต<br />

ของกิจการผลิตรถยนต เพราะสงครามไดทําลายสาธารณูปโภคของประเทศ อาทิ ถนน ทางรถไฟ<br />

ทาเรือ รวมทั้งจีนยังไมมีอุตสาหกรรมที่สามารถผลิตวัตถุดิบที่มีคุณสมบัติเหมาะสําหรับการผลิต<br />

รถยนตได<br />

ในป ค.ศ. 1949 ประเทศจีนมีผูประกอบการรายยอยจํานวน 12 บริษัท ซึ่งประกอบกิจการ<br />

เกี่ยวกับการซอมหรือดัดแปลงยานยนตเพื่อใชในการทหารและสําหรับประชาชนทั่วไป โดยบริษัท<br />

จํานวน 3 แหงเปนบริษัทประกอบรถยนต และอีก 9 บริษัทเปนบริษัทผูผลิตชิ้นสวนยานยนต บริษัท<br />

เหลานี้เปนกิจการขนาดยอมที่นําเขาชิ้นสวนยานยนตตางๆเพื่อประกอบรถยนต<br />

1<br />

ที่มา: Li Gang (2004), “The Chinese Automobile Industry: An Overview” และ Holweg, Luo and Oliver<br />

(2005), “The Past, Present and Future of China’s <strong>Automotive</strong> Industry: A Value Chain Perspective”<br />

3 - 1


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

การกอตั้งอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน เกิดขึ้นในเดือนมีนาคม 1950 โดย<br />

อุตสาหกรรมยานยนตในชวงแรก มีอุปสรรคจากความรูดานเทคนิคและขอจํากัดดานเงินทุน รวมทั้ง<br />

ระบบสาธารณูปโภคที่ไมเอื้ออํานวย ในสถานการณเชนนี้ จึงยากที่ผูประกอบการจะชวยเหลือ<br />

ตัวเองได สหภาพโซเวียตจึงเปนผูที่มีบทบาทสําคัญในการกอตั้งอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศ<br />

จีน ซึ่งชวยเหลือในการกอตั้งกิจการขนาดใหญที่ทันสมัยและฝกอบรมชางฝมือรุนใหม โดยรัฐบาล<br />

จีนลงทุนราว 6,000 ลานหยวนเพื่อกอตั้งอุตสาหกรรมยานยนตขึ้น<br />

วันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1953 จีนเริ่มกอสรางโรงงานประกอบรถยนตแหงแรกขึ้นที่เมือง<br />

เสฉวน (Sichuan) จังหวัด Jilin ชื่อ The First <strong>Automotive</strong> Works (FAW) โดยใชเวลากอสราง 3 ปจึง<br />

แลวเสร็จ โรงงาน FAW มีกําลังการผลิต 300,000 คันตอป โดยเริ่มผลิตรถบรรทุกขนาด 4 ตัน<br />

(Jiefang Truck) เปนประเภทแรก จากนั้นจึงผลิตรถยนตนั่งประเภท Luxury Car (Hongqi CA72)<br />

และรถจี๊ปตามมา รวมทั้งเพิ่มกําลังการผลิตจาก 300,000 เปน 600,000 คันตอป นอกจากนี้ยังได<br />

กอตั้งศูนยฝกแรงงานดวย<br />

ในป ค.ศ. 1958 หลังจากนโยบาย “หนึ่งมณฑล หนึ่งโรงงาน” ถูกนํามาใช โรงงานประกอบ<br />

รถยนตจึงไดเกิดขึ้นในอีกหลายแหง ไดแก เซี่ยงไฮ (Shanghai) ปกกิ่ง (Beijing) นานจิง (Nanjing)<br />

และ จี่หนาน (Jinan)<br />

ตอมาในป ค.ศ. 1965 ผลจากที่จีนเขารวมสงครามเวียดนาม ทําใหรัฐบาลจีนกอตั้ง<br />

โรงงานผลิตรถบรรทุกขนาดกลางและขนาดใหญขึ้น เพื่อใชในการสงคราม โรงงานแหงใหมนี้<br />

ตั้งอยูในพื้นที่ภูเขาซึ่งไมมีทางออกทะเล และรวมโรงงาน 3 แหง ไดแก Second <strong>Automotive</strong> Work<br />

(หรือ Dongfeng ในปจจุบัน) Sichuan Auto Works และ Shaanxi Auto Works เขาไวดวยกัน รวมทั้ง<br />

เมื่อความสัมพันธระหวางจีนกับสหภาพโซเวียตตึงเครียดขึ้น รัฐบาลจีนจึงตระหนักถึงการพึ่งพา<br />

ตนเอง<br />

ดานการบริโภค ในขณะนั้นถือวาประเทศจีนไมมีตลาดผูบริโภครถยนตในประเทศ เพราะ<br />

รัฐบาลเปนผูจัดสรรการบริโภคทั้งหมด<br />

3 - 2


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ชวงที่ 2 : การเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน (ค.ศ. 1978 – 2000)<br />

ป ค.ศ. 1978 เปนชวงเริ่มตนของการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตในจีน เนื่องจากเปนชวงที่<br />

รัฐบาลจีนไดประกาศปฏิรูประบบเศรษฐกิจและใชนโยบายเปดประเทศ โดยนายกรัฐมนตรี เติ้ง<br />

เสี่ยว ผิง<br />

ผลจากการปฏิรูปดังกลาวทําให การควบคุมจากสวนกลางลดลง ซึ่งเปนการลดอุปสรรคใน<br />

การเขาสูตลาดของผูผลิตรถยนต ทําใหมีบริษัทผูผลิตรถยนตจํานวนมากเกิดขึ้นอยางรวดเร็วใน<br />

ชวงเวลานี้ รวมทั้งผลจากการปฏิรูป สงผลใหเกิดการกระตุนการซื้อรถยนตของประชาชน<br />

โดยทั่วไปดวย นอกจากนี้ รัฐบาลจีนไดกําหนดใหอุตสาหกรรมยานยนตเปนอุตสาหกรรมสําคัญ<br />

ลําดับที่ 7 ในแผน 5 ปของประเทศดวย ในป ค.ศ. 1982 เกิดบริษัทผูผลิตรถยนตขึ้นจํานวน 7 บริษัท<br />

ไดแก<br />

1. Jingjinji <strong>Automotive</strong> Industry Cooperation Company<br />

2. Jiefang <strong>Automotive</strong> Industry Cooperation Company<br />

3. Shanghai Automobile & Tractor Industry Cooperation Company<br />

4. Nanjing <strong>Automotive</strong> Industry Cooperation Company<br />

5. Heavy <strong>Automotive</strong> Industry Cooperation Company<br />

6. Dongfong <strong>Automotive</strong> Industry Cooperation Company<br />

7. China <strong>Automotive</strong> Part & Component Industry Cooperation Company<br />

และภายใตระบบตลาดเสรี ภาคอุตสาหกรรมยานยนตตองตระหนักวาตนไมใชผูผลิตสินคา<br />

เพื่อสงใหภาครัฐอีกตอไป แตตองผลิตสินคาเพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภค<br />

ในป ค.ศ. 1992 อุตสาหกรรมยานยนตจีนสามารถผลิตรถไดจํานวนหนึ่งลานคัน โดยใช<br />

เวลาเพียง 12 ป (จากป ค.ศ. 1980) ในขณะที่ญี่ปุนใชเวลาถึง 25 ป (จาก ค.ศ. 1955 ถึง 1963) จึงจะ<br />

ผลิตรถไดหนึ่งลานคัน สาเหตุที่ทําใหการผลิตรถยนตในประเทศจีนเพิ่มขึ้นจํานวนมาก เนื่องจาก<br />

อุปสงคในประเทศที่เพิ่มขึ้นสูงมาก และจากการลงทุนขนาดใหญโดยบริษัทรถยนตเพื่อเพิ่มกําลัง<br />

การผลิต<br />

ผลจากการเพิ่มขึ้นของบริษัทผูผลิตรถยนตจํานวนมากไดกอใหเกิดปญหาบางประการ ทํา<br />

ใหรัฐบาลจีนตองกําหนดกฎระเบียบเพื่อควบคุมการพัฒนารถยนตนั่งและรถขนาดเล็ก (Light<br />

Vehicle) แตอยางไรก็ตาม อุตสาหกรรมยานยนตของจีนก็ยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง โดยป ค.ศ.<br />

1995 จีนผลิตรถยนตได 325,461 คัน และอีก 5 ปตอมาผลิตได 612,376 คันตอป เพิ่มขึ้น 286,915<br />

คัน<br />

3 - 3


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สําหรับอุตสาหกรรมอุปกรณและชิ้นสวนยานยนตเอง ก็เติบโตพรอมๆกับอุตสาหกรรม<br />

ยานยนต ในป ค.ศ. 1978 มีบริษัทผูผลิตชิ้นสวนยานยนตเกิดขึ้น 1,870 บริษัท และเพิ่มขึ้นเปน 2,136<br />

บริษัทในป ค.ศ. 1982 และดวยความพยายามที่ตองการสรางความแข็งแกรงใหกับผูผลิตชิ้นสวน<br />

ยานยนต จึงไดปฏิรูปกิจการบริษัทผูผลิตอุปกรณและชิ้นสวนยานยนตในปเดียวกันนี้ นอกจากนี้ยัง<br />

ไดกอตั้ง China <strong>Automotive</strong> Industry Sales Service ในป ค.ศ. 1983 โดยมี Outlet จํานวน 532 แหง<br />

ทั่วประเทศ และมียอดขายรวมกวา 1.89 พันลานหยวน รวมทั้งไดเกิดสถาบันการวิจัยสําหรับ<br />

อุตสาหกรรมยานยนตในชวงเวลานี้ดวยเชนกัน<br />

ในดานการบริโภค จากปริมาณการจําหนายรถยนตและรถบรรทุกในป ค.ศ. 1985 จํานวน<br />

284,181 คัน หาปตอมาปริมาณการจําหนายเพิ่มขึ้นเปน 815,441 คัน และเพิ่มเปน 2,459,778 คันใน<br />

ป ค.ศ. 1995 และเพิ่มเปน 6,333,145 คันในป ค.ศ. 2000 ปจจัยที่มีผลทําใหปริมาณการจําหนาย<br />

รถยนตในประเทศเพิ่มสูงขึ้น คือการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑการขายในประเทศ จากเดิมที่ผูผลิตจะได<br />

สิทธิ์ขายก็ตอเมื่อผลิตตามแผนการผลิตของรัฐบาลเทานั้น<br />

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ ตลาดซื้อขายรถยนตแหงแรกจึงเกิดขึ้นที่กวางโจว<br />

(Guangzhou) ในป ค.ศ. 1985 จนกระทั่งป ค.ศ. 1987 รถยนตที่ผลิตในจีนกวา 70% จะถูกขายที่<br />

ตลาดแหงนี้ แตอยางไรก็ตามรัฐบาลจีนยังควบคุมปริมาณการผลิตและราคารถยนต ซึ่งทําใหมีเพียง<br />

บริษัทจํานวน 56 แหงเทานั้นที่ไดสิทธิ์ขายรถยนต โดยขายผาน 5 ชองทาง ดังนี้ (1) สหกรณ (2)<br />

รัฐวิสาหกิจ (3) บริษัทแฟรนไชส (4) Automobile dealing company อื่นๆ และ (5) ฝายขายของ<br />

โรงงานผลิตรถยนต<br />

ป ค.ศ. 1994 รัฐบาลจีนกําหนดใหอุตสาหกรรมยานยนตเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักของ<br />

ประเทศ เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนตเกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอื่นจํานวนมาก อาทิ ปโตรเลียม<br />

อิเล็กทรอนิกส สิ่งทอ เปนตน โดยการกําหนด “นโยบายของอุตสาหกรรมยานยนต” 2<br />

ขึ้น ซึ่งมี<br />

วัตถุประสงคหลักสี่ประการคือ (1) เพื่อทําใหการผลิตรถยนตและรถบรรทุกมีการผลิตที่ใช<br />

ประโยชนจากการประหยัดตอขนาด (Economy of Scale) (2) เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมชิ้นสวน<br />

ยานยนตในประเทศ (3) เพื่อสรางความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑยานยนต และ (4) เพื่อ<br />

สนับสนุนการเปนเจาของรถยนตสวนบุคคล<br />

นโยบายฉบับนี้ทําใหผูผลิตสามารถกําหนดปริมาณการขายและระบบการบริการหลังการ<br />

ขายของตนเองได โดยบริษัท ฮอนดา กวางโจว เปนผูริเริ่มนําระบบการขายแบบแฟรนไชส “4 in 1”<br />

2<br />

ดูรายละเอียดในภาคผนวก (1)<br />

3 - 4


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

มาใช ซึ่งเปนที่นิยมในกลุมผูผลิตรถยนตมาก ซึ่งระบบการขายแบบแฟรนไชส “4 in 1”<br />

ประกอบดวย การขาย การบริการหลังการขาย การสงชิ้นสวนยานยนต และลูกคาสัมพันธ<br />

ในชวงเวลานี้ เปนชวงที่มีการตอสูอยางรุนแรงในตลาดรถยนตของจีน เพราะมี<br />

ผูประกอบการจากตางประเทศจํานวนมากเขามาทําธุรกิจในประเทศจีน อุตสาหกรรมยานยนต<br />

ประเทศจีนดึงดูดเทคโนโลยีและเงินทุนจากตางชาติ ผานทางการรวมทุนกับกิจการในประเทศ<br />

(Joint Venture) สําหรับบริษัทผูผลิตรถยนตจากประเทศยุโรป Volkswagen เปนรายแรกที่เขามา<br />

ลงทุนในประเทศจีน ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1984 โดยรวมลงทุนกับ FAW (First Automobile Work)<br />

และ SAIC (Shanghai <strong>Automotive</strong> Industry Corporation) ภายใตชื่อ Shanghai Volkswagen<br />

(Shanghai Volkswagen Automobile Limited Company) ซึ่ง Volkswagen ถือหุน 50% และมีระยะ<br />

สัญญา 25 ป Shanghai Volkswagen มีกําลังการผลิตรถยนต 300,000 คันตอป<br />

บริษัทผูผลิตรถยนตจากสหรัฐอเมริกาเขามาลงทุนในประเทศจีนเปนลําดับตอมาจากผูผลิต<br />

ในประเทศยุโรป ในป ค.ศ. 1997 Shanghai GM กอตั้งขึ้น ซึ่งถือเปนโครงการรวมทุนระหวางจีน<br />

และสหรัฐอเมริกาที่ใหญที่สุดในขณะนั้น Shanghai GM ผลิตรถยนตยี่หอ Buick ซึ่งเปนรถยนต<br />

ประเภท Luxury Passenger Car โดยมีกําลังการผลิต 100,000 คันตอป<br />

ในสวนของผูผลิตรถยนตจากประเทศญี่ปุน ไดเขาสูตลาดประเทศจีนตั้งแตทศวรรษที่ 1980<br />

ดวยการรวมการคากับการถายทอดเทคโนโลยี (Technology Transfer) ไวดวยกัน โดยมี Daihatsu<br />

เปนผูเขาสูตลาดเปนรายแรก แตอยางไรก็ตาม สําหรับผูผลิตจากประเทศญี่ปุนนั้น ตองการสงออก<br />

รถยนตไปยังประเทศจีนมากกวาตั้งโรงงานในประเทศจีน สาเหตุเนื่องจาก ประการแรกการสงออก<br />

ไปยังประเทศจีน ทําไดงายกวาการผลิตในประเทศจีน ประการที่สอง ผูผลิตจากญี่ปุนมีความสนใจ<br />

ที่จะตั้งโรงงานเพื่อสรางกําไรในประเทศจีนนอย เพราะตลาดถูกจํากัดมากและผูผลิตจากญี่ปุนก็ได<br />

ลงทุนที่ประเทศอื่นๆในอาเซียนมากอยูแลว และประการที่สาม ในประเทศจีนไมมีการคุมครองการ<br />

ลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI)<br />

บริษัทผูผลิตรถยนตจากประเทศญี่ปุน กลับมาใหความสนใจลงทุนในประเทศจีนอีกครั้ง<br />

ในชวง ทศวรรษที่ 1990 เมื่อการลงทุนในทวีปอเมริกาเหนือประสบความสําเร็จ ตัวอยางเชน Fuji<br />

รวมลงทุนกับ Guizhou Airline Industrial Group หรือ Isuzu และ Jiangxi Automobile Limited<br />

Company รวมลงทุนกอตั้ง Jiangling Automobile Limited Company เปนตน<br />

นอกจากนี้ ผูผลิตรถยนตสัญชาติฝรั่งเศสเอง ก็เขาลงทุนในประเทศจีนเชนกัน โดย Sino-<br />

French รวมทุนกับ Wuhan กอตั้ง Dongfong Peugeot Citroen Automobile Company Ltd. ขึ้น<br />

3 - 5


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ชวงที่ 3: การเติบโตอยางกาวกระโดดของอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีน (ค.ศ. 2001 ถึงปจจุบัน)<br />

ชวงสําคัญของพัฒนาการอุตสาหกรรมยานยนตของจีนอีกชวง เริ่มตนในป ค.ศ. 2001 เมื่อ<br />

ประเทศจีนเขารวมเปนสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) อุตสาหกรรมยานยนตจีนเริ่มเขาสูการ<br />

ผลิตแบบจํานวนมาก (Mass production) จึงทําใหในชวงนี้อุตสาหกรรมยานยนตจีนเติบโตแบบกาว<br />

กระโดด<br />

ป ค.ศ. 2001 การผลิตยานยนตของจีนมากถึง 2,340,209 คัน และเพิ่มเปน 3,262,947 คันใน<br />

ป ค.ศ. 2002 เนื่องจากอุปสงคตอรถยนตในประเทศเพิ่มขึ้น จากราคารถยนตและตนทุนการ<br />

บํารุงรักษารถยนตต่ําลง รวมทั้งการผลิตรถยนตมีการพัฒนาขึ้น และนั่นจึงเปนสาเหตุที่ทําใหเกิด<br />

รถยนตรุนใหมๆในตลาดรถยนตประเทศจีน อาทิ Guangzhou Honda’s Accord หรือ Shanghai<br />

GM’s Buick เปนตน<br />

ป ค.ศ. 2002 ผูผลิตรถยนต 3 รายใหญ (Big Three) ในจีน อันไดแก FAW, Dongfong และ<br />

SAIC มีสวนแบงการตลาดมากกวา 50% สงผลใหผูผลิตรถยนตจากตางชาติตองปรับกลยุทธการทํา<br />

ธุรกิจในประเทศจีน การเปลี่ยนแปลงหนึ่งของผูผลิตรถยนตจากตางชาติคือ การปรับสัดสวนการถือ<br />

หุนในบริษัทที่กําลังกอตั้ง ตัวอยางเชน Honda ถือหุน 60% สําหรับการลงทุนที่เมือง Guangdong<br />

มณฑลกวางโจว หรือการเขารวมเปนพันธมิตรกับผูผลิตรถยนต 3 รายใหญ (Big Three) ในจีน เพื่อ<br />

ความไดเปรียบเรื่องทรัพยากร โดยตารางดานลางแสดงการรวมทุนระหวางบริษัทผูผลิตรถยนตจาก<br />

ตางชาติกับผูผลิต Big 3 ของจีน<br />

ตารางที่ 3-1 แสดงรายชื่อรถยนตจากตางชาติกับผูผลิต Big 3 ของจีน<br />

บริษัท สถานที่ ผูถือหุน สินคาหลัก<br />

FAW-Volkswagen Automobile Co., Ltd. Changchun FAW, Volkswagen Audi, Jetta<br />

Tianjin Toyota Motor Co., Ltd. Tianjin FAW-Shali, Toyota Vios<br />

Dongfong Peugeot Citroen Automobile Co., Ltd. Wuhan DFM, PSA France Fukang, Picasso<br />

Shanghai Volkswagen <strong>Automotive</strong> Co., Ltd. Shanghai SAIC, Volkswagen Polo, Passat<br />

Shanghai General Motors Corp., Ltd. Shanghai SAIC, GM Buick, Sail SRV.<br />

ที่มา: Li Gang (2004), “The Chinese Automobile Industry: An Overview” และ Holweg, Luo and Oliver (2005),<br />

3 - 6


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

และทําใหในชวงนี้ผูผลิตรถยนตจากประเทศอุตสาหกรรมเกิดใหมเขาสูอุตสาหกรรม<br />

ยานยนตของจีนดวย อาทิ Hyundai ที่รวมทุนกับ Beijing <strong>Automotive</strong> Group ในป ค.ศ. 2002 เพื่อ<br />

ผลิตรถรุน Sonata<br />

นอกจากนี้ อุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตในประเทศจีนไดเพิ่มมากขึ้นดวย การสงออก<br />

ชิ้นสวนยานยนตในป ค.ศ. 2002 มีมูลคา 1.661 พันลานเหรียญสหรัฐ โดยมีมูลคามากกวาการ<br />

สงออกรถยนต<br />

ตลาดรถยนตของจีนในชวงเวลานี้ไดพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ในป ค.ศ. 2002 ตลาดได<br />

เพิ่มขึ้น 37% ซึ่งเปนระดับที่สูงที่สุดตั้งแตทศวรรษ 1990 เปนตนมา รวมทั้งในชวงเวลานี้ เปนชวงที่<br />

รถยนตรุนใหมๆเขาสูตลาดจํานวนมาก โดยมีจํานวนมากกวา 200 Model โดยปจจัยที่สงเสริมให<br />

ตลาดรถยนตเติบโตคือ ความสามารถในการขายและการบริการหลังการขายที่ดีของบริษัทรถยนต<br />

เพื่อปรับใหเขากับการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมยานยนตจีน ที่เติบโตอยางตอเนื่อง<br />

ตั้งแตปลายป 1990 และเผชิญกับความทาทายใหมในอุตสาหกรรมยานยนตหลังจากที่จีนเขารวม<br />

WTO รัฐบาลจีนไดประกาศ “นโยบายอุตสาหกรรมยานยนต ฉบับใหม ป ค.ศ. 2004” ขึ้น 3 โดยมี<br />

วัตถุประสงค 5 ประการ ดังนี้ (1) เพื่อสงเสริมการพัฒนารวมกันระหวางอุตสาหกรรมยานยนตและ<br />

อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ (2) เพื่อผลักดันการปรับโครงสรางอุตสาหกรรมยานยนต (3) เพื่อสงเสริม<br />

การพัฒนาผลิตภัณฑโดยพึ่งตนเองและการสรางตราสินคาของตนเอง (4) เพื่อสนับสนุนการวิจัย<br />

และพัฒนา และการผลิตขนาดใหญสําหรับชิ้นสวนยานยนตหลัก โดยสนับสนุนทั้งผูผลิตทองถิ่น<br />

และผูผลิตจากตางชาติ และ (5) เพื่อสงเสริมยานยนตขนาดเล็กและยานยนตที่ใชพลังงานทางเลือก<br />

ความแตกตางของนโยบายยานยนตป 2004 กับนโยบายฉบับเกาป 1994 คือ นโยบายป<br />

2004 เนนการสงเสริมและกําหนดทิศทางของยุทธศาสตรมากกวาการกําหนดเปนกฎระเบียบเชน<br />

นโยบายป 1994 ซึ่งถือเปนการเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐจีนอยางชัดเจน ที่มุงมั่นใหระบบ<br />

ตลาดเปนสิ่งขับเคลื่อนอุตสาหกรรม<br />

ป ค.ศ. 2008 เกิดวิกฤติเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก สงผลกระทบอยางยิ่งตออุตสาหกรรมยาน<br />

ยนตของจีน ปริมาณการจําหนายมีอัตราการเติบโตลงมากที่สุด นับตั้งแตป 1990 เปนตนมา ทําให<br />

ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2009 รัฐบาลจีนไดออกรางนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต ฉบับ<br />

ใหม ป 2009-2011 โดยในดานการจําหนาย เนนการกระตุนการบริโภคภายในประเทศ สวนดาน<br />

ผูผลิตเนนการพัฒนาและยกระดับความสามารถของผูประกอบการ เชน การสงเสริมดานเทคโนโลยี<br />

3<br />

ดูรายละเอียดในภาคผนวก (2)<br />

3 - 7


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

การผลิตสําหรับพลังงานทางเลือกหรือพลังงานสะอาด การแกไขปญหาการผลิตที่ไมไดใช<br />

ประโยชนจากการประหยัดตอขนาด เปนตน<br />

จากพัฒนาการของอุตสาหกรรมยานยนตจีนที่ไดกลาวไปขางตน สามารถสรุปไดวา<br />

อุตสาหกรรมยานยนตของจีนเริ่มตนขึ้นเมื่อป ค.ศ. 1950 ภายใตการควบคุมจากรัฐบาลจีน<br />

จนกระทั ่งป ค.ศ. 1980 รัฐบาลจีนผอนคลายการควบคุมลง เริ่มมีผูผลิตรถยนตชั้นนําจากตางชาติเขา<br />

รวมลงทุน (Joint Venture) กับผูผลิตทองถิ่น และเพิ่มจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ จนอาจกลาวไดวาการ<br />

รวมทุนกับตางชาติ (Joint Venture) เปนปจจัยที่สําคัญที่ทําใหอุตสาหกรรมยานยนตของจีนเติบโต<br />

จนกลายเปนผูผลิตรายสําคัญรายหนึ่งของโลก<br />

3.1.2 พัฒนาการของอุตสาหกรรมการผลิตรถจักรยานยนต4<br />

อุตสาหกรรมรถจักรยานยนตของจีนเริ่มตนเมื่อป ค.ศ. 1958 เมื่อมีการตั้งฐานประกอบ<br />

รถจักรยานยนตที่กรุงปกกิ่ง โดยผลิตรถจักรยานยนตที่ออกแบบโดยสหภาพโซเวียต ซึ่งโซเวียตก็ได<br />

ลอกเลียนแบบรถจักรยานยนตยี่หอ BMW ของเยอรมนีอีกตอหนึ่ง ดังนั้น รถจักรยานยนตของจีนใน<br />

ขณะนั้นจึงมีลักษณะคลายคลึงกับรถจักรยานยนตยี่หอ BMW เปนอยางมาก อยางไรก็ตาม<br />

อุตสาหกรรมรถจักรยานยนตของจีนในชวงนั้นยังมีขนาดเล็กมาก แตละปผลิตไมกี่หมื่นคันเทานั้น<br />

อุตสาหกรรมรถจักรยานยนตสมัยใหมของจีนไดเริ่มตนอยางจริงจังในป ค.ศ. 1982 เมื่อ<br />

บริษัท เจียหลิน (China Jialing Group) ซึ่งเดิมเปนบริษัทผลิตอาวุธ ไดเริ่มผลิตรถจักรยานยนตรุน<br />

CD70 โดยไดรับการถายทอดเทคโนโลยีและดําเนินการภายใตสิทธิบัตรของบริษัทฮอนดา ทั้งนี้<br />

รถจักรยานยนตที่ประกอบขึ้นมีรูปลักษณและสวนประกอบเหมือนกับรถจักรยานยนตฮอนดารุน<br />

C100 เกือบทั้งหมด บริษัทเจียหลินประสบผลสําเร็จทางธุรกิจเปนอยางมาก กลายเปนบริษัทผลิต<br />

รถจักรยานยนตใหญที่สุดในประเทศจีน ตอมาในป ค.ศ. 1993 บริษัทเจียหลินและฮอนดาไดรวม<br />

ลงทุนฝายละครึ่งในบริษัท About Jialing-Honda Motors ซึ่งเดิมผลิตเฉพาะเครื่องยนต<br />

รถจักรยานยนตเทานั้น และตอมาในป ค.ศ. 1996 ไดเริ่มผลิตรถจักรยานยนตดวย<br />

จากการที่ตลาดรถจักรยานยนตในประเทศจีนเติบโตรวดเร็วมาก จึงมีนักธุรกิจที่หวังรวย<br />

ทางลัดไดกอตั้งโรงงานผลิตชิ้นสวนรถจักรยานยนตหลายแหงขึ้นที่นครฉงชิ่ง โดยผูผลิตเหลานี้ตาง<br />

ลอกเลียนแบบชิ้นสวนตางๆ ของรถจักรยานยนตของฮอนดาในรูปแบบวิศวกรรมยอนรอย<br />

(Reverse Engineering) สําหรับเคล็ดลับการกอปปชิ้นสวนและเทคโนโลยีการผลิตก็ไมไดเปนเรื่อง<br />

4<br />

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) วารสารสงเสริมการลงทุน เรื่อง ฉงชิ่งเมืองหลวงแหง<br />

อุตสาหกรรมรถจักรยานยนตของโลก และเรื่อง ฐานการผลิตจักรยานยนตของซีพีในจีน<br />

3 - 8


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ลึกลับซับซอนแตอยางใด มีเหตุผลหลักมาจากบุคลิกของคนจีนที่ตองการเปนเถาแก ไมตองการเปน<br />

ลูกจาง โดยคนจีนจํานวนมากไดสมัครเปนพนักงานในบริษัทผลิตชิ้นสวน โดยตั้งใจทํางานเพียงแค<br />

3 ปเทานั้นเพื่อดูดความรู จากนั้นก็ลาออกมากอตั้งโรงงานเอง<br />

ผลจากการที่คนจีนกอตั้งบริษัทผลิตชิ้นสวนในลักษณะวิศวกรรมยอนรอยจํานวนมาก<br />

สงผลใหเกิดเครือขายการผลิตชิ้นสวนรถจักรยานยนตขนาดใหญที่นครฉงชิ่ง ประกอบดวยบริษัท<br />

ผลิตเครื่องยนตรถจักรยานยนต 10 บริษัท และบริษัทผลิตชิ้นสวนตางๆ ของรถจักรยานยนตอีก<br />

มากกวา 400 บริษัท สามารถซื้อชิ้นสวนหลากหลายเหลานี้มาประกอบรถจักรยานยนตแทบทั้งคัน<br />

โดยบริษัทเหลานี้สวนใหญเปนบริษัทอิสระ สามารถขายชิ้นสวนใหแกบริษัทใดๆ ก็ได<br />

เมื่อนครฉงชิ่งเปนคลัสเตอรในการผลิตชิ้นสวนรถจักรยานยนต ประกอบกับตลาดมีการ<br />

แขงขันกันสูง สงผลใหสามารถซื้อชิ้นสวนในราคาถูก จึงนับเปนเรื่องงายที่จะกอตั้งบริษัทผลิต<br />

รถจักรยานยนตขึ้นที่นครฉงชิ่ง โดยรวบรวมชิ้นสวนเหลานี้มาประกอบขึ้นเปนรถจักรยานยนต<br />

สําเร็จรูป สงผลใหมีการกอตั้งบริษัทซึ่งทําธุรกิจประกอบรถจักรยานยนตในนครฉงชิ่งเปนจํานวน<br />

มากถึง 19 บริษัท<br />

สําหรับบริษัทผลิตรถจักรยานยนตรายใหญอันดับรองลงมาของนครฉงชิ่ง คือ บริษัท ลี่ฝาน<br />

(Lifan) ซึ่งนับเปนผูผลิตรถจักรยานยนตใหญเปนอันดับ 4 ของประเทศจีน กอตั้งขึ้นเมื่อป ค.ศ.<br />

1992 ปจจุบันมีกําลังผลิตเครื่องยนต 2 ลานเครื่อง/ป และรถจักรยานยนต 1 ลานคัน/ป โดยนับเปน<br />

บริษัทจีนแหงแรกที่สงรถจักรยานยนตภายใตแบรนดเนมของตนเองไปจําหนายในญี่ปุน<br />

เนื่องจากบริษัทลี่ฝานไมไดรับการถายทอดเทคโนโลยีจากตางประเทศ จึงพยายามพึ่งตัวเอง<br />

ทางดานเทคโนโลยี จากเดิมที่ผลิตลอกเลียนแบบฮอนดา ก็ไดพยายามวิจัยและพัฒนาดวยตนเอง<br />

โดยปจจุบันมีบุคลากรในแผนกวิจัยและพัฒนามากกวา 100 คน ทั้งนี้ นับถึงสิ้นป ค.ศ. 2003 ไดจด<br />

สิทธิบัตรทั้งในประเทศจีนและตางประเทศจํานวนมากถึง 848 รายการ นอกจากมีโรงงานใน<br />

ประเทศจีนแลว บริษัทลี่ฝานยังไปลงทุนกอตั้งโรงงานประกอบรถจักรยานยนตที่เวียดนาม และ<br />

ลาสุดเมื่อปลายป ค.ศ. 2004 ไดรับอนุมัติจากรัฐบาลอินเดียใหกอสรางโรงงานประกอบ<br />

รถจักรยานยนตในอินเดีย<br />

สําหรับบริษัท หยินกัง ก็มีฐานการผลิตรถจักรยานยนตที่มหานครฉงชิ่งเชนเดียวกัน โดย<br />

ปจจุบันไดรวมมือกับนักธุรกิจชาวไทยในการจัดตั้งโรงงานประกอบรถจักรยานยนตยี่หอ Harde ใน<br />

ประเทศไทยขึ้นที่เขตลาดกระบัง เริ่มผลิตเมื่อปลายป ค.ศ. 2004<br />

บริษัท ยามาฮา ของญี่ปุนก็ไดกอตั้งฐานประกอบรถจักรยานยนตขึ้นที่นครฉงชิ่ง โดยผลิต<br />

ไมเฉพาะเพื่อจําหนายในประเทศจีนเทานั้น ยังผลิตเพื่อสงออกดวย โดยปจจุบันไดสงออก<br />

รถจักรยานยนตขนาด 125 ซีซี ที่ผลิตในโรงงานในนครฉงชิ่งไปยังประเทศตุรกี<br />

3 - 9


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สําหรับบริษัทรถจักรยานยนตของคายยุโรปก็สนใจในนครฉงชิ่งเชนเดียวกัน โดยบริษัท<br />

Piaggio Group ของอิตาลี และบริษัท Chongqing Zongshen Motorcycle Group ของนครฉงชิ่ง ได<br />

ลงนามในสัญญาเมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2004 ในโครงการรวมลงทุนเพื่อกอสรางโรงงานประกอบ<br />

เครื่องยนตสําหรับรถจักรยานยนตที่มหานครฉงชิ่ง กําลังผลิต 500,000 เครื่องตอป<br />

ปจจุบันจีนนับเปนทั้งฐานการผลิตและจําหนายรถจักรยานยนตที่ใหญที่สุดในโลก ซึ่งมี<br />

ผูผลิตรถจักรยานยนตมากกวา 200 โรงงาน โดยในจํานวนนี้เปนโรงงานขนาดใหญ 20 โรงงาน และ<br />

ทั้งหมดสามารถผลิตรถจักรยานยนตรวมปละ 17 ลานคัน แบงเปนการผลิตเพื่อจําหนายในประเทศ<br />

14 ลานคัน และผลิตเพื่อการสงออก 3 ลานคัน<br />

ผูผลิตรถจักรยานยนตของประเทศจีนไดพัฒนาความสามารถในการแขงขันอยางรวดเร็ว<br />

มาก โดยเฉพาะรถจักรยานยนตขนาด 200 ซีซีลงมา สามารถแขงขันเรื่องคุณภาพกับประเทศญี่ปุน<br />

ได นอกจากนี้ผูผลิตในประเทศจีนยังมีตนทุนการผลิตที่ต่ํากวามาก แมแตยักษใหญดาน<br />

จักรยานยนตของโลก คือ ฮอนดา ซึ่งตั้งฐานการผลิตในประเทศจีน แตครองตลาดประเทศจีนไดไม<br />

ถึงรอยละ 10<br />

นอกจากประเทศจีนจะเปนฐานการผลิตรถจักรยานยนตแบบที่ใชเครื่องยนตที่ใหญที่สุดใน<br />

โลกแลว จีนยังเปนฐานการผลิตรถจักรยานยนตที่ใชไฟฟาแหงสําคัญของโลกอีกดวย<br />

อุตสาหกรรมการผลิตรถจักรยานยนตไฟฟาเริ่มตนจากบริษัท Shanghai Cranes Electric<br />

Vehicle ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจของเทศบาลนครเซี่ยงไฮ โดยตั้งกิจการอยูที่เขตเศรษฐกิจพิเศษผูตงของ<br />

นครเซี่ยงไฮ เพื่อวิจัยและพัฒนาการผลิตรถยนตไฟฟา แตในป ค.ศ. 1994 เมื่อรัฐบาลกลางตัดสินใจ<br />

ใหนครกวางโจวเปนฐานการผลิตวิจัยและพัฒนารถยนตไฟฟา บริษัทแหงนี้จึงเปลี่ยนมาเปนการ<br />

วิจัยและพัฒนารถจักรยานยนตไฟฟาแทน<br />

ขณะที่บริษัทแหงนี้กําลังดําเนินการวิจัยและพัฒนา ในป ค.ศ. 1996 เทศบาลนครเซี่ยงไฮได<br />

ออกประกาศหามใชรถจักรยานยนตแบบเครื่องยนตในเขตเมือง บริษัทแหงนี้จึงกอตั้งโรงงานเพื่อ<br />

จําหนายรถจักรยานยนตไฟฟาขึ้น โดยเริ่มจําหนายครั้งแรกในป ค.ศ. 1997 ตอมาในป ค.ศ. 2003<br />

เกิดโรคซารสระบาด ประชาชนจํานวนมากหลีกเลี่ยงการใชบริการระบบขนสงมวลชน ทําให<br />

ปริมาณการจําหนายรถจักรยานยนตไฟฟาเพิ่มสูงขึ้นดวย ตอมามีบริษัทเขามาดําเนินธุรกิจนี้จํานวน<br />

มาก โดยประมาณการวา ในปจจุบันมีจํานวนผูผลิตรถจักรยานยนตไฟฟามากกวา 800 บริษัท<br />

อยางไรก็ตาม ขอมูลที่เกี่ยวกับรถจักรยานยนตประเภทนี้มีคอนขางนอย เนื่องจากกฎหมาย<br />

จีนจําแนกวา รถจักรยานยนตประเภทนี้เปนรถจักรยาน ผูขับไมตองมีใบขับขี่และไมจําเปนตองนํา<br />

รถไปจดทะเบียน มีการประมาณการวา ตลาดรถจักรยานยนตไฟฟาในประเทศจีนมีขนาดใหญถึง<br />

3 - 10


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

12 ลานคันตอป โดยจีนนับเปนผูผลิตรถจักรยานยนตไฟฟาใหญที่สุดในโลก คิดเปนสัดสวนสูงถึง<br />

ประมาณ 3 ใน 4 สวนของรถจักรยานยนตไฟฟาที่จําหนายทั่วโลก<br />

ปจจุบันมีเมืองขนาดใหญมากกวา 100 เมืองในประเทศจีนที่หามใชรถจักรยานยนตแบบ<br />

เครื่องยนตเพื่อแกไขปญหาสิ่งแวดลอม ผลจากนโยบายดังกลาว ทําใหตลาดรถจักรยานยนตไฟฟา<br />

สามารถครองตลาดผูบริโภคในเมืองไดเกือบทั้งหมด แตอยางไรก็ตาม การใชจักรยานยนตไฟฟาก็มี<br />

ขอจํากัดวา หามแลนบนถนนทั่วไป ตองแลนในเลนจักรยานเทานั้น เนื่องจากมีความเร็วคอนขางต่ํา<br />

คือมีความเร็วสูงสุดเพียง 20-30 กิโลเมตรตอชั่วโมงเทานั้น<br />

อยางไรก็ตาม แมมีการหามใชรถจักรยานยนตแบบมีเครื่องยนตในเมืองขนาดใหญแทบ<br />

ทั้งหมด แตตลาดรถจักรยานยนตแบบมีเครื่องยนตก็ยังคงมีขนาดใหญมากในประเทศจีน เนื่องจาก<br />

ลูกคาเปาหมายคือประชาชนในเขตชนบท ซึ่งมีจํานวนมากถึง 90 ลานคน โดยรุนที่ขายดีที่สุดเปน<br />

แบบ 125 ซีซี ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 55 ของตลาดรถจักรยานยนตแบบใชเครื่องยนตทั้งหมด<br />

3 - 11


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3.2 โครงสรางของอุตสาหกรรมยานยนต<br />

ขอมูลการผลิตรถยนตจาก KPMG 5 ในป ค.ศ. 2004 พบวา เมื่อพิจารณาตามประเภทการ<br />

ผลิตแลว มหานครเซี่ยงไฮ มณฑลจี๋หลิน และมณฑลกวางตุงเปนฐานการผลิตรถยนตนั่งสวนบุคคล<br />

หลักของจีน โดยเมื่อคํานวณจากรายรับแลวมีสัดสวนการผลิตรถยนตนั่งสวนบุคคลทั้งหมดคิดเปน<br />

รอยละ 78 ของการผลิตรถยนตนั่งสวนบุคคลทั้งหมดของประเทศ สวนการผลิตรถโดยสาร (Bus)<br />

นั้น มณฑลฝูเจี้ยนเปนแหลงผลิตหลัก โดยคิดเปนรอยละ 24 ของการผลิตทั้งหมด (คํานวณจาก<br />

รายรับ) ตามดวยมณฑลเหลียวหนิงและมณฑลอันฮุยคิดเปนรอยละ 12.4 และ12.3 ตามลําดับ แสดง<br />

ดังภาพที่ 3-1<br />

นอกจากนี้ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2009 สํานักขาวจีน (www.chinanews.com.cn) รายงานวา<br />

รัฐบาลมณฑลจี๋หลินมีความประสงคที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนตในนครฉางชุน เมืองจี๋หลิน<br />

และเมืองกงจูหลิ่ง ใหเปนกลุมคลัสเตอร (Cluster) อุตสาหกรรมรถยนต โดยจะพัฒนาใหมณฑลจี๋<br />

หลินเปนฐานอุตสาหกรรมรถยนตที่ใหญที่สุดในโลก โดยคาดวาในป ค.ศ. 2011 มณฑลจี๋หลินจะมี<br />

กําลังการผลิตรถยนตถึง 2 ลานคัน<br />

สําหรับขอมูลการผลิตรถยนตทั้งหมดของประเทศจีนตั้งแตป ค.ศ. 2005-2009 พบวา การ<br />

ผลิตรถยนตในประเทศจีนประมาณรอยละ 70 เปนการผลิตรถยนตนั่ง และประมาณรอยละ 20 ผลิต<br />

รถบรรทุก นอกเหนือจากนั้นเปนการผลิตรถโดยสาร แสดงดังตารางที่ 3-2<br />

ภาพที่ 3-1 แสดงการผลิตยานยนตในประเทศจีนจําแนกตามสัดสวนและพื้นที่<br />

ที่มา: KPMG (2004)<br />

5<br />

ที่มา: KPMG (2004), China’s <strong>Automotive</strong> and Components Market<br />

3 - 12


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ตารางที่ 3-2 แสดงปริมาณการผลิตรถยนตของประเทศจีนแยกตามประเภท ป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

(หนวย: คัน)<br />

ประเภท ป 2005 ป 2006 ป 2007 ป 2008 ป 2009<br />

รถยนตนั่ง N.A. N.A. 4,797,512 5,029,131 7,455,291<br />

อื่นๆ (SUV, MPV และ UV) N.A. N.A. 1,582,492 1,699,551 2,907,951<br />

รถยนตนั่งรวม 3,931,807 2,285,984 6,380,004 6,728,682 10,363,242<br />

รถบรรทุกขนาดน้ําหนักรถ 224,197 161,392 317,055 357,502 526,393<br />

(GVW) นอยกวา 1.8 ตัน<br />

รถบรรทุกขนาดน้ําหนักรถ 759,734 799,013 1,114,256 1,161,999 1,611,953<br />

(GVW) 1.8-6.0 ตัน<br />

รถบรรทุกขนาดน้ําหนักรถ 123,117 171,503 231,348 211,348 264,654<br />

(GVW) 6.0-14.0 ตัน<br />

รถบรรทุกขนาดน้ําหนักรถ<br />

62,639 368,932 308,759 341,515 430,193<br />

(GVW) มากกวา 14 ตัน<br />

รถกึ่งพวง (Semi-Trailer) 53,187 178,050 195,316 208,218<br />

รถบรรทุกรวม 1,222,874 1,500,840 2,149,468 2,267,680 3,041,411<br />

รถโดยสารขนาดความยาวรถ<br />

- 757,753 - - -<br />

นอยกวา 3.5 เมตร<br />

รถโดยสารขนาดความยาวรถ 133,862 433,405 226,069 211,453 228,316<br />

3.5 - 7.0 เมตร<br />

รถโดยสารขนาดความยาวรถ 21,191 52,507 76,313 74,331 83,081<br />

7.0 – 10.0 เมตร<br />

รถโดยสารขนาดความยาวรถ 20,337 26,226 41,102 41,441 46,658<br />

มากกวา 10.0 เมตร<br />

รถโดยสารรวม 175,390 1,269,891 343,484 327,225 358,055<br />

รวมการผลิตรถทั้งหมด 5,708,421 5,056,715 8,872,956 9,323,587 13,762,708<br />

ที่มา: Fourin<br />

3 - 13


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3.2.1 อุตสาหกรรมการผลิตรถยนตนั่งของประเทศจีน<br />

3.2.1.1 การรวมทุน (Joint Venture) กับตางชาติ<br />

ขอมูลในป ค.ศ. 2009 จาก <strong>Automotive</strong> News 6 ระบุวาผูผลิตรถยนตในประเทศจีนมีจํานวน<br />

ทั้งสิ้น 47 ราย แบงเปนกลุมรวมทุนระหวางผูผลิตขามชาติกับผูผลิตทองถิ่น (Joint Ventures: JVs)<br />

จํานวน 26 ราย และกลุมผูผลิตทองถิ่นจํานวน 21 ราย โดยกลุมรวมทุนระหวางผูผลิตขามชาติกับ<br />

ผูผลิตทองถิ่น (Joint Ventures: JVs) เปนกลุมหลักในโครงสรางอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีน<br />

และเปนแกนนําในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศทั้งในดานรูปแบบของการผลิตและ<br />

เทคโนโลยีการผลิต สวนกลุมผูผลิตทองถิ่นจะมุงเนนการผลิตรถยนตแบบประหยัด อาศัย<br />

โครงสรางทางดานราคาที่ต่ํากวาคูแขง รวมทั้งการพัฒนาเทคนิคและเทคโนโลยีการผลิตของตนเอง<br />

ในการพัฒนาตราสินคาของตนเอง เชน Geely และ Chery เปนตน<br />

จากพัฒนาการของอุตสาหกรรมยานยนตจีนที่ไดกลาวไปในตอนตน พบวา การรวมทุน<br />

(Joint Venture) ระหวางผูผลิตรถยนตชั้นนําขามชาติกับผูผลิตทองถิ่นในจีน เปนปจจัยสําคัญที่<br />

ขับเคลื่อนใหอุตสาหกรรมจีนเติบโตได สาเหตุเปนเพราะ รัฐบาลจีนไดกําหนดใหผูประกอบการ<br />

ตางชาติที่มาลงทุนในจีนตองเปนบริษัทรวมทุนกับรัฐวิสาหกิจ นอกจากนี้โรงงานที่สรางขึ้น หาม<br />

เปนโรงงานที่ผลิตไดโดยเครื่องจักรอัตโนมัติ ทั้งนี้เพื่อกอใหเกิดการถายทอดเทคโนโลยีสูผูผลิต<br />

ทองถิ่น รวมทั้งรัฐบาลยังกําหนดใหเนนการผลิตรถยนตนั่งสวนบุคคล เนื่องจากการผลิตรถยนตนั่ง<br />

เปนยุทธศาสตรสําคัญ ประกอบกับผูประกอบการทองถิ่นของจีนมีความรูสําหรับผลิตรถบรรทุก<br />

คอนขางสูงโดยเปรียบเทียบอยูแลว<br />

ภายหลังที่จีนเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) ในป ค.ศ. 2002 แลว กฎเกณฑการ<br />

บังคับใหผูผลิตตางชาติตองรวมทุนกับรัฐวิสาหกิจจีนก็ถูกยกเลิกไป ผูผลิตตางชาติสามารถเลือก<br />

ผูประกอบการทองถิ่นไดเอง โดยผูผลิตตางชาติสามารถเลือกผูผลิตทองถิ่นที่ยังไมมีการรวมทุนกับ<br />

ผูผลิตตางชาติรายอื่นได ซึ่งเปนการปองกันการความลับทางเทคโนโลยีการผลิตระหวางคูแขงไมให<br />

รั่วไหลได เปนผลใหโครงสรางการรวมกิจการระหวางตางชาติกับผูผลิตทองถิ่นมีความซับซอนมาก<br />

ขึ้น แสดงไดดังภาพที่ 3-2<br />

6<br />

ที่มา: Supplement of <strong>Automotive</strong> News (April 27, 2009), Guide to China’s Auto Market 2007<br />

3 - 14


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาพที่ 3-2 แสดงโครงสรางการรวมทุนของผูผลิตในอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีน<br />

Chinese JVs<br />

FAW<br />

SAIC<br />

Dongfeng<br />

Changan<br />

Guangzhou AIC<br />

Beijing AIC<br />

Nanjing AIC<br />

Brilliance<br />

Chery<br />

Geely<br />

Independent<br />

Great Wall<br />

Local<br />

Zhongxing<br />

Vehicle<br />

Jianghuai<br />

Manufacturers<br />

Hafei<br />

ที่มา: Holweg, Luo and Oliver (2005)<br />

Other International JVs<br />

General Motor<br />

Toyota<br />

Ford<br />

DaimlerChrysler<br />

Volkswagen<br />

PSA (Peugeot-Citroen)<br />

Hyundai<br />

Honda<br />

Renault-Nissan<br />

Fiat<br />

Mazda<br />

BMW<br />

Suzuki<br />

Kia<br />

อยางไรก็ตาม แมวาการรวมทุนกับตางชาติ จะกอใหเกิดการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตสู<br />

ผูผลิตทองถิ่นก็ตาม แตก็ไมปรากฏวา ผูผลิตตางชาติไดถายทอดความรูสําหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ<br />

ใหกับผูผลิตทองถิ่น<br />

นอกจากนี้ จากความซับซอนของความรวมมือระหวางผูผลิตกลุมตางๆ นั้น กอใหเกิดความ<br />

ยากลําบากในการบริหารงาน ตัวอยางเชน Honda รวมทุนกับบริษัททองถิ่นสองแหง คือ<br />

Ghuanzhou Automobile Industry Group และ Dongfeng โดยผูผลิตทองถิ่นสองรายนี้เปนคูแขงกัน<br />

แตตองขายสินคาเดียวกันคือ Honda ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวา การรวมทุนกอใหเกิดการแขงขัน<br />

ระหวางผูผลิตทองถิ่นกันเอง<br />

3 - 15


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3.2.1.2 กลุมอุตสาหกรรม (Cluster)<br />

ผูผลิตรถยนตในประเทศจีนเกือบทั้งหมดตั้งอยูทางฝงตะวันออกของประเทศ 7 (แสดงดัง<br />

ภาพที่ 3-3) สาเหตุเนื่องจาก บริเวณดังกลาวมีระบบขนสง (Logistic) ที่ดี ทั้งการขนสงชิ้นสวนเพื่อ<br />

ประกอบรถยนตและการขนสงรถยนตที่ผลิตสําเร็จแลว รวมทั้งบริเวณดังกลาว ยังเปนพื้นที่ที่มี<br />

อุปสงคตอการบริโภคอยูในระดับสูงดวย<br />

นอกจากนี้ หากจัดกลุมผูผลิตตามบริเวณศูนยอุตสาหกรรมสําคัญในภูมิภาค สามารถแบง<br />

ไดเปน 5 กลุม คือ เซี่ยงไฮ (Shanghai) ปกกิ่ง (Beijing) ฉางชุน (Changhun) หูเปย (Hubei) ฉงชิ่ง<br />

(Chongqing) และ กวางโจว (Guangzhou) แสดงดังภาพที่ 3-3<br />

ภาพที่ 3-3 แสดงสถานที่ตั้งของบริษัทผูผลิตรถยนตตามภูมิภาคสําคัญของประเทศจีน<br />

ที่มา: Holweg, Luo and Oliver (2005)<br />

7<br />

ผลจากแผนการพัฒนาทางเศรษฐกิจโดยเติ้ง เสี่ยว ผิง มีการแบงมณฑลหรือเมืองตางๆของประเทศจีนตามความ<br />

มั่งคั่งทางเศรษฐกิจออกเปน 4 ลําดับชั้น (Tier) โดยมณฑลหรือเมืองที่อยูใน Tier 1 จะเปนมณฑลที่มีความมั่งคั่ง<br />

ทางเศรษฐกิจมากที่สุด ซึ่งอยูบริเวณตะวันออกของประเทศ ประกอบดวยเซี่ยงไฮ (Shanghai) ปกกิ่ง (Beijing)<br />

กวางโจว (Guangzhou) และ เซินเจิ้น (Shenzhen) (ที่มา: Bill Russo (2009), The Eight overarching China<br />

<strong>Automotive</strong> Trends That Are Revolutionizing The Auto Industry)<br />

3 - 16


ภาพที่ 3-4 แสดงสถานที่ตั้งของบริษัทผูผลิตรถยนตในภูมิภาคตางๆของประเทศจีน<br />

3-17


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3.2.1.3 การใชกําลังการผลิต (Capacity Utilization)<br />

อุตสาหกรรมการผลิตรถยนตเปนอุตสาหกรรมที่ใชทุนเขมขน (Capital Intensive) ดังนั้น<br />

การใชกําลังการผลิตจึงเปนตัวชี้วัดประสิทธิภาพสําคัญ (Holweg และ Pil, 2004)<br />

ขอมูลในป ค.ศ. 2004 พบวา อัตราการใชกําลังการผลิตของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต<br />

ของประเทศตะวันตกมีคาเฉลี่ยประมาณรอยละ 80 ในขณะที่อัตราการใชกําลังการผลิตของประเทศ<br />

จีนอยูในระดับต่ํากวามาก คือประมาณรอยละ 60 เทานั้น แสดงดังตารางที่ 3-3<br />

ตารางที่ 3-3 แสดงอัตราการใชกําลังการผลิตของผูผลิตรถยนตในประเทศจีน ป ค.ศ. 2004<br />

ผูผลิต<br />

Brilliance China <strong>Automotive</strong> Holdings Ltd.<br />

การผลิต<br />

(คัน)<br />

กําลังการผลิต<br />

(คัน)<br />

อัตราการใช<br />

กําลังการผลิต (%)<br />

D Shengyang Brilliance Jinbei <strong>Automotive</strong> Co. 11,806 120,000 9.8<br />

G BMW Brilliance <strong>Automotive</strong> Co. 15,138 30,000 50.5<br />

Beijing <strong>Automotive</strong> Industry Holdings Co.<br />

G Beijing Hyundai Motor Co. 150,158 150,000 100.1<br />

G Beijing Benz-DaimlerChrysler <strong>Automotive</strong> Ltd. 33,679 100,000 33.7<br />

Changan <strong>Automotive</strong> Co.<br />

G Chongqing Changan Suzuki Automobile Co. 107,337 100,000 107.3<br />

G Changan Ford Automobile Co. 50,000 150,000 33.3<br />

Dongfeng Motor Corp.<br />

G Dongfeng Peugeot Citroen Automobile Co. 88,034 150,000 58.7<br />

G Dongfeng Yueda Kia Automobile Co. 63,267 100,000 63.3<br />

G Dongfeng Motor Co. (Nissan) 64,197 150,000 42.8<br />

D Dongfeng Liuzhou Motor Co. 16,486 50,000 33.0<br />

First Auto Works Group<br />

G FAW-Volkswagen <strong>Automotive</strong> Co. 287,117 400,000 71.8<br />

D Tianjin FAW Xiali Automobile Co. 130,509 180,000 72.5<br />

G Tianjin FAW Toyota Motor Co. 83,437 120,000 69.5<br />

D FAW Haima <strong>Automotive</strong> Co. 66,954 150,000 44.6<br />

D FAW Car Co. 50,066 100,000 50.1<br />

3 - 18


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

การผลิต กําลังการผลิต อัตราการใช<br />

ผูผลิต<br />

(คัน)<br />

(คัน) กําลังการผลิต (%)<br />

D FAW Huali (Tianjin) Motor Co. 9,127 60,000 15.2<br />

D Changchun FAW Fengyue Auto Co. 4,207 10,000 42.1<br />

G Sichuan Toyota Motor Co. 3,110 10,000 31.1<br />

Guangzhou <strong>Automotive</strong> Group<br />

G Guangzhou Honda Automobile Co. 202,312 240,000 84.3<br />

Shanghai <strong>Automotive</strong> Industry Corp. (SAIC)<br />

G Shanghai Volkswagen <strong>Automotive</strong> Co. 346,338 450,000 77.0<br />

G Shanghai General Motors Corp. 253,000 200,000 126.5<br />

G SAIC GM Wuling Automobile Co. 228,839 200,000 114.4<br />

G Shanghai GM Norsom Motors Co. 737 50,000 1.5<br />

D Anhui Jianghuai Automobile Co. 17,245 40,000 43.1<br />

D BYD Auto Co. 17,245 60,000 28.7<br />

D Chery Automobile Co. 79,656 350,000 22.7<br />

D Geely Automobile Holding Co. 91,744 360,000 25.5<br />

D Great Wall Automobile Holding Co. 27,540 170,000 16.2<br />

D Guizhou Skylark Automobile Co. 165 50,000 0.3<br />

D Hafei Motor Co. 28,599 300,000 9.5<br />

D Hebei Zhongxing Automobile Co. 16,192 100,000 16.2<br />

G Hunan Changfeng Motor Co. 24,986 80,000 58.5<br />

G Jiangling Motor Corp. 74,715 100,000 60.3<br />

G Jiangxi Changhe Suzuki Co. 19,354 100,000 37.3<br />

D Jiangxi Changhe Automobile Co. 7,402 60,000 4.5<br />

G Nanjing Fiat Co. 26,598 100,000 37.4<br />

D Rongcheng Huatai Automobile Co. 11,000 30,000 16.0<br />

D Soueast (Fujian) Motor Corp. 41,468 150,000 69.6<br />

G Zhengzhou Nissan Automobile Co. 9,383 60,000 16.8<br />

Global JV Plants 2,131,736 3,040,000 77.4<br />

Domestic Plants 627,317 2,340,000 40.0<br />

TOTAL 2,759,053 5,380,000 62.4<br />

3 - 19


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ที่มา: Holweg, Luo and Oliver (2005)<br />

หมายเหตุ: D =ผูผลิตทองถิ่น (Domestic Maker)<br />

G= ผูผลิตรวมทุนกับตางชาติ (Global joint Venture)<br />

สาเหตุที่ทําใหอัตราการใชกําลังการผลิตของการผลิตรถยนตในประเทศจีนอยูในระดับต่ํา<br />

เนื่องจากวา จีนเปนประเทศเกิดใหมและตลาดกําลังขยายตัว มีการคาดการณในแงดีวาในป ค.ศ.<br />

2002-2003 ปริมาณการจําหนายรถยนตนั่งจะเพิ่มสูงขึ้นถึงรอยละ 87 จึงทําใหผูผลิตเตรียมรับมือกับ<br />

อุปสงคที่คาดวาจะเพิ่มขึ้นอยางมาก โดยการตั้งโรงงานที่มีกําลังการผลิตจํานวนมาก แตในขณะนั้น<br />

ผูบริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคที่หลากหลาย รวมทั้งเศรษฐกิจในป ค.ศ. 2004 อยูในชวงซบเซา ทํา<br />

ใหอัตราการใชกําลังการผลิตรถยนตอยูในระดับต่ํา<br />

อยางไรก็ตาม มีนักวิเคราะหคาดการณวา 8 ภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจการเงินโลกในป ค.ศ.<br />

2009 บริษัทขามชาติตางๆ ซึ่งรวมถึงผูผลิตรถยนตและชิ้นสวนยานยนต จะยายฐานการผลิตไปยัง<br />

แหลงผลิตที่มีตนทุนต่ํา ซึ่งคือภูมิภาคตะวันออกของโลก จึงมีความเปนไปไดวา ในอนาคตอัตรา<br />

การใชกําลังการผลิตของการผลิตรถยนตในประเทศจีนจะเพิ่มขึ้น<br />

8<br />

ที่มา: Bill Russo (2009), The Eight overarching China <strong>Automotive</strong> Trends That Are Revolutionizing The Auto<br />

Industry<br />

3 - 20


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3.2.2 อุตสาหกรรมการผลิตรถบรรทุกและรถโดยสารของประเทศจีน<br />

ขอมูลจาก OICA ระบุวาในป ค.ศ. 2009 ประเทศจีนสามารถรถโดยสารและรถบรรทุกใน<br />

ปริมาณมากที่สุดในโลก คือผลิตรถบรรทุก 1.7 ลานคันและผลิตรถโดยสาร 1.3 แสนคัน หรือคิด<br />

เปนสัดสวนรอยละ 56 และ 42 ของการผลิตรถบรรทุกและรถโดยสารทั่วโลกตามลําดับ นอกจากนี้<br />

แมวาในป ค.ศ. 2009 จะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจทั่วโลก แตอุตสาหกรรมการผลิตรถบรรทุกและรถ<br />

โดยสารของประเทศจีนยังคงมีอัตราการเติบโตเปนบวก คือเติบโตรอยละ 39.2 และ 7.8 ตามลําดับ<br />

จากการรวบรวมขอมูลในป ค.ศ. 2010 พบวาผูผลิตรถบรรทุกและรถโดยสารในประเทศจีน<br />

มีจํานวนทั้งสิ้น 38 ราย 9 แบงเปนผูผลิตรถบรรทุกจํานวน 10 ราย และผูผลิตรถโดยสารจํานวน 28<br />

ราย โดยเกือบทั้งหมดเปนผูผลิตทองถิ่น ตางจากกลุมผูผลิตรถยนตนั่งที่สวนมากเปนบริษัทรวมทุน<br />

กับตางชาติ ทั้งนี้เนื่องจากประเทศจีนมีความชํานาญการผลิตรถบรรทุกอยูแลว<br />

ขอมูลจากสมาคมผูผลิตยานยนตประเทศจีน (China Association of Automobile<br />

Manufacturers: CAAM) 10 ระบุวาในป ค.ศ. 2009 บริษัทผูผลิตรถบรรทุกที่มีปริมาณการจําหนาย<br />

สูงสุด 10 ลําดับแรก อันไดแก Foton, Dongfeng, FAW, JAC, Chongqing Changan, Jinbei shares,<br />

heavy truck, JMC, Kama และ SAIC-GM Wuling จําหนายรถบรรทุกรวมกันสูงถึง 2.28 ลานคัน คิด<br />

เปนรอยละ 69 ของปริมาณการจําหนายรถเพื่อการพาณิชยทั้งหมด<br />

9<br />

ขอมูลผูผลิตรถยนตบรรทุกและรถโดยสารในประเทศจีนดูในภาคผนวก 3<br />

10<br />

ที่มา: http://www.auto-stats.org.cn/<br />

3 - 21


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3.2.3 อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนประกอบและอะไหลยานยนตของประเทศจีน<br />

จากกระแสการผลิตของโลก ที่การผลิตยานยนตจะมีการแสวงหา (Global Sourcing)<br />

ชิ้นสวนยานยนตจากแหลงการผลิตที่มีราคาถูก จึงสงผลใหอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนยานยนต<br />

ของประเทศจีนมีการเติบโตอยางรวดเร็ว โดยในป ค.ศ. 2007 อุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนต<br />

ของจีนมีมูลคาถึง 12 พันลานเหรียญสหรัฐ แสดงดังภาพที่ 3-5<br />

ภาพที่ 3-5 แสดงมูลคาของอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนตในประเทศจีน ในป ค.ศ. 1994-2007<br />

ที่มา: Asian Supplier Industry Report (2007)<br />

ในป ค.ศ. 2003 มีผูผลิตชิ้นสวนและอะไหลยานยนตที่ขึ้นทะเบียนกับรัฐบาลจีนทั้งหมด<br />

1,700 ราย โดยผูประกอบการประมาณ 450 ราย เปนผูประกอบการจากตางชาติ อาทิ เยอรมนี ญี่ปุน<br />

สหรัฐอเมริกา และยุโรป แมวาจํานวนผูผลิตชิ้นสวนในประเทศจีนจะมีจํานวนมากเมื่อเปรียบเทียบ<br />

กับจํานวนผูผลิตรถยนต แตก็เปนเพียงผูผลิตรายยอยเทานั้น<br />

3 - 22


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ผูผลิตชิ้นสวนและอะไหลยานยนตในประเทศจีน 11 สามารถจําแนกออกเปน 4 กลุม ดังนี้<br />

กลุมที่ 1: กลุมผูนําอิสระ<br />

ผูผลิตในกลุมนี้จะมีเทคโนโลยีการผลิตและการบริหารจัดการเปนของตนเอง มีการผลิต<br />

ขนาดใหญ และมีความสามารถในการแขงขันระดับนานาชาติ เชน Wanxiang Group และ Torch<br />

Automobile Group ซึ่งทั้งสองบริษัทนี้ มีบริษัทแมอยูในประเทศสหรัฐอเมริกา<br />

กลุมที่ 2: กลุมผูผลิตในเครือ SOEs 12<br />

ผูผลิตกลุมนี้กอตั้งจากการแยกหรือรวมหนวยงานยอยของ SOEs (คลายกับการเกิดขึ้นของ<br />

Visteon และ Delphi ที่เดิมเปนหนวยงานหนึ่งของ Ford และ GM) เชน Fawer <strong>Automotive</strong> Parts<br />

Co., Ltd และ Shanghai Parts Industry Group โดยผูผลิตในกลุมนี้ไมตองเผชิญการแขงขันที่รุนแรง<br />

เพราะผูผลิตรถยนตเห็นวาบริษัทเหลานี้เปนสวนหนึ่งของความลับทางธุรกิจ<br />

กลุมที่ 3: กลุมผูผลิตขนาดเล็ก<br />

รายงานของ KPMG (KPMG’s Component Industry Report 2004) ระบุวามีผูผลิตชิ้นสวน<br />

ยานยนตขนาดเล็กในประเทศจีนประมาณ 3,000 ราย ซึ่งผูผลิตกลุมนี้ ไมสามารถใชประโยชนจาก<br />

การประหยัดตอขนาดได และไมมีความสามารถในการทําวิจัยและพัฒนา (R&D) ไดดวยตัวเอง และ<br />

เนนการผลิตไปที่ตลาดอะไหล (After Market)<br />

กลุมที่ 4: กลุมผูผลิตรวมทุนกับตางชาติ<br />

ผูผลิตกลุมนี้ มีเทคโนโลยีในการผลิตและความสามารถในการทําวิจัยและพัฒนา (R&D)<br />

ของตนเอง (ซึ่งสวนใหญอยูในตางประเทศ) ผูผลิตกลุมนี้มักจะมีสวนรวมในกิจการรวมคากับคูคา<br />

ในทองถิ่น (เชน Delphi และ Visteon) แตบางรายก็เปนผูผลิตอิสระ (เชน Bosch และ Valeo)<br />

11<br />

ขอมูลผูผลิตชิ้นสวนยานยนตตางชาติรายสําคัญในประเทศจีนดูในภาคผนวก 4<br />

12<br />

SOEs คือ State-owned enterprise หรือ รัฐวิสาหกิจของจีนผูรวมทุนกับผูผลิตรถยนต อันประกอบไปดวย<br />

Big 3 – Small 3 – Mini 2 โดยคํานี้ถูกระบุในแผนพัฒนาอุตสาหกรรมฉบับป 1994<br />

- ‘Big 3’ ประกอบดวย First <strong>Automotive</strong> Works, Shanghai <strong>Automotive</strong> Industrial Corporation และ<br />

Dongfeng Motor<br />

- ‘Small 3’ ประกอบดวย Beijing <strong>Automotive</strong> Industrial Corporation, Tianjin <strong>Automotive</strong> Industrial<br />

Corporation และ Guangzhou <strong>Automotive</strong> Industrial Corporation<br />

- ‘Mini 2’ ประกอบดวย Changan และ Ghizou Aviation<br />

3 - 23


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

เมื่อพิจารณาการกระจายทางภูมิศาสตรของผูผลิตชิ้นสวนยานยนตในประเทศจีนจากรายได<br />

จากการผลิตชิ้นสวนยานยนตแลว พบวา พื้นที่รอบสามเหลี่ยมปากแมน้ําแยงซีเกียงมีรายได<br />

ประมาณรอยละ 17 ของการผลิตทั้งประเทศ รองลงมาคือที่เซี่ยงไฮ (Shanghai) ประมาณรอยละ 10<br />

สวนเจอเจียง (Zhejiang) เจียงซู (Jiangsu) รวมทั้งภาคเหนือและภาคใตของเซี่ยงไฮมีสวนแบง<br />

ประมาณรอยละ 8 ในขณะที่กวางตง (Guangdong) เหลียวหนิง (Liaoning) ซางซี (Shanxi) จี๋หลิน<br />

(Jilin) และหูเปย (Hubei) มีรายไดรวมกันประมาณรอยละ 32 แสดงดังภาพที่ 3-6<br />

ภาพที่ 3-6 แสดงการผลิตชิ้นสวนยานยนตในประเทศจีนจําแนกตามสัดสวนและพื้นที่<br />

ที่มา: China Market Yearbook (2004)<br />

3 - 24


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3.2.4 การจําหนายรถยนตและชิ้นสวนยานยนต<br />

3.2.4.1 การจําหนายรถยนต<br />

ขอมูลปริมาณการจําหนายรถยนตจาก Fourin ระบุวา ในป ค.ศ. 2005 ประเทศจีนเปน<br />

ประเทศที่มีปริมาณการจําหนายรถยนตรวมลําดับสามของโลกรองจากประเทศสหรัฐอเมริกาและ<br />

ญี่ปุน ดวยปริมาณการจําหนายในป ค.ศ. 2005 เทากับ 5.7 ลานคัน ในขณะที่ประเทศสหรัฐอเมริกา<br />

และญี่ปุนมีปริมาณการจําหนายเทากับ 17.44 และ 5.85 ลานคัน ตามลําดับ แตหลังจากนั้นเพียงไมกี่<br />

ป ประเทศจีนกลายเปนประเทศผูจําหนายรถยนตมากที่สุดในโลก ในป ค.ศ. 2009 ประเทศจีนมี<br />

ปริมาณการจําหนายรถยนตมากถึง 13.62 ลานคัน ในขณะที่ประเทศสหรัฐอเมริกาและญี่ปุนมี<br />

ปริมาณการจําหนายเทากับ 10.63 และ 4.60 ลานคัน ตามลําดับ แสดงดังตารางที่ 3-4 และสําหรับ<br />

ขอมูลการจําหนายรถยนตทั้งหมดของประเทศจีนตั้งแตป ค.ศ. 2004-2009 แสดงดังตารางที่ 3-5<br />

ตารางที่ 3-4 แสดงปริมาณการจําหนายรถยนตรวมของประเทศตางๆทั่วโลก (10 ลําดับแรก) ในป<br />

ค.ศ. 2005-2009<br />

(หนวย: คัน)<br />

ลําดับ ประเทศ ป 2005 ป 2006 ป 2007 ป 2008 ป 2009<br />

1 จีน 5,761,921 7,215,525 8,784,791 9,363,306 13,621,543<br />

2 สหรัฐอเมริกา 17,441,567 17,048,273 16,455,774 13,492,341 10,603,276<br />

3 ญี่ปุน 5,852,072 5,739,506 5,353,648 5,082,235 4,609,255<br />

4 เยอรมนี 3,616,910 3,772,394 3,482,279 3,425,115 4,046,768<br />

5 บราซิล 1,714,665 1,927,738 2,462,728 2,820,350 3,141,240<br />

6 ฝรั่งเศส 2,547,911 2,498,845 2,584,035 2,573,714 2,685,052<br />

7 อิตาลี 2,494,463 2,601,197 2,786,077 2,431,356 2,361,556<br />

8 อินเดีย 1,439,613 1,751,263 1,992,451 1,983,681 2,263,798<br />

9 สหราชอาณาจักร 2,829,126 2,732,142 2,799,330 2,483,541 2,224,096<br />

10 รัสเซีย 1,354,923 1,494,693 2,882,614 3,218,830 1,589,328<br />

ที่มา: Fourin<br />

3 - 25


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ตารางที่ 3-5 แสดงปริมาณการจําหนายรถยนตของประเทศจีนแยกตามประเภทป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

(หนวย: คัน)<br />

ประเภท ป 2005 ป 2006 ป 2007 ป 2008 ป 2009<br />

รถยนตนั่ง N.A. N.A. 4,727,036 5,040,397 7,460,638<br />

อื่นๆ (SUV, MPV และ UV) N.A. N.A. 1,570,885 1,707,063 2,854,725<br />

รถยนตนั่งรวม 3,973,624 5,175,419 6,297,921 6,747,460 10,315,363<br />

รถบรรทุกขนาดน้ําหนักรถ 222,892 291,096 323,192 360,259 514,489<br />

(GVW) นอยกวา 1.8 ตัน<br />

รถบรรทุกขนาดน้ําหนักรถ 762,025 950,895 1,096,654 1,171,292 1,548,730<br />

(GVW) 1.8-6.0 ตัน<br />

รถบรรทุกขนาดน้ําหนักรถ 119,075 201,913 233,533 212,311 253,174<br />

(GVW) 6.0-14.0 ตัน<br />

รถบรรทุกขนาดน้ําหนักรถ 66,251 214,636 306,627 347,125 424,335<br />

(GVW) มากกวา 14 ตัน<br />

รถกึ่งพวง (Semi-Trailer) 55,222 92,660 177,739 194,385 211,233<br />

รถบรรทุกรวม 1,225,465 1,751,200 2,137,745 2,285,372 2,951,961<br />

รถโดยสารขนาดความยาวรถ<br />

- - - - -<br />

นอยกวา 3.5 เมตร<br />

รถโดยสารขนาดความยาวรถ 136,049 187,976 232,454 211,643 224,456<br />

3.5 - 7.0 เมตร<br />

รถโดยสารขนาดความยาวรถ 20,962 69,214 76,746 75,980 83,559<br />

7.0 – 10.0 เมตร<br />

รถโดยสารขนาดความยาวรถ 19,811 31,716 39,925 42,851 46,204<br />

มากกวา 10.0 เมตร<br />

รถโดยสารรวม 176,822 288,906 349,125 330,474 354,219<br />

รวมการผลิตรถทั้งหมด 5,761,921 7,215,525 8,784,791 9,363,306 13,621,543<br />

ที่มา: Fourin<br />

3 - 26


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ขอมูลจากตารางที่ 3-5 แสดงใหเห็นวา ตั้งแตป ค.ศ. 2005 เปนตนมา ปริมาณการจําหนาย<br />

รถยนตที่มากที่สุดในประเทศจีนคือ การจําหนายรถยนตนั่งสวนบุคคล ซึ่งมีสัดสวนประมาณรอยละ<br />

75 รองลงมาคือรถบรรทุกมีสัดสวนรอยละ 20<br />

แตอยางไรก็ตาม ขอมูลจากศูนยขอมูลธุรกิจไทยในจีน ณ กรุงปกกิ่ง 13 ระบุวาในป ค.ศ.<br />

2010 ผูประกอบการคาดวารถยนตพาณิชย (Commercial Vehicle) จะมีสัดสวนมากขึ้น และอาจ<br />

แทนที่ตลาดรถยนตสวนบุคคล โดยขอมูลการจําหนายรถยนตของวิสาหกิจรถยนตตางๆ ในจีนใน<br />

เดือน มกราคม ค.ศ. 2010 พบวา บริษัท Dongfeng Automobile Co., Ltd. (DFAC) มีปริมาณการ<br />

จําหนายรถบรรทุกขนาดเล็ก (Light Truck) จํานวน 10,222 คัน เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปที่<br />

แลวถึงรอยละ 166 ปริมาณการจําหนายรถโดยสาร (Bus) สําหรับการทองเที่ยวจํานวน 2,567 คัน<br />

เพิ่มขึ้นรอยละ 32 สวนการจําหนายรถบรรทุกขนาดใหญ (Heavy Truck) นั้น ตามขอมูลสถิติของ<br />

China National Heavy Duty Truck Group Co., Ltd. (CNHTC) ระบุวา มีปริมาณการจําหนายรวม<br />

16,653 คัน เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปที่แลวถึงรอยละ 309.50<br />

นักวิเคราะหแสดงความเห็นวา สาเหตุที่คาดวาปริมาณการจําหนายรถยนตสวนบุคคลจะ<br />

ชะลอตัวลง เปนผลเนื่องจากในปนี้มีการปรับปรุงนโยบายการเก็บภาษีรถยนต ทําใหผูบริโภคซื้อรถ<br />

ไปลวงหนาตั้งแตชวงเดือนธันวาคม ค.ศ. 2009แลว จึงทําใหปริมาณการจําหนายรถยนตนั่งสวน<br />

บุคคลลดลง อีกทั้ง หลังจากเศรษฐกิจจีนฟนตัวดีขึ้น โครงการกอสรางพื้นฐานของมณฑลตางๆ เริ่ม<br />

ทยอยกอสราง ทําใหมีความตองการใชงานรถยนตในดานโลจิสติกสมากยิ่งขึ้น ซึ่งเปนปจจัยสําคัญ<br />

ที่สงเสริมการพัฒนาของตลาดรถบรรทุกในจีน นอกจากนี้ การพัฒนาศักยภาพของรถยนตพาณิชยก็<br />

เปนสวนสําคัญในสงเสริมการเติบโตของตลาดรถยนตพาณิชยเชนกัน<br />

13<br />

ที่มา: ศูนยขอมูลธุรกิจไทยในจีน ณ กรุงปกกิ่ง (วันที่ 5 มีนาคม 2553), รถยนตพาณิชยจะเปน “ซูเปอรสตาร”<br />

ของตลาดรถยนตจีนในปนี้<br />

3 - 27


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3.2.4.2 การจําหนายชิ้นสวนและอะไหลยานยนต<br />

แมวาประเทศจีนจะเปนผูผลิตรถยนตรายสําคัญของโลก โดยปริมาณการผลิตมากถึงหนึ่งใน<br />

เจ็ดของการผลิตยานยนตโลกก็ตาม แตอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนและอะไหลยานยนตของจีนมี<br />

ปริมาณการผลิตเพียงหนึ่งในยี่สิบของการผลิตรวมของโลกเทานั้น นอกจากนี้ รายไดจากการผลิต<br />

ชิ้นสวนและอะไหลยานยนตของจีนคิดเปนสองในสามของรายไดจากการขายรถยนตเทานั้น<br />

ในขณะที่อุตสาหกรรมยานยนตของกลุมประเทศยุโรป (EU) สหรัฐอเมริกา หรือญี่ปุนนั้น รายได<br />

จากการผลิตชิ้นสวนยานยนตและอะไหลจะมากกวารายไดผลิตรถยนตประมาณสองเทา<br />

แตอยางไรก็ตาม นั่นหมายถึงอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนและอะไหลยานยนตของจีนยัง<br />

มีโอกาสเติบโตได โดยการใหผูผลิตรถยนตใชชิ้นสวนที่ผลิตในประเทศจีน (Local Content) มาก<br />

ขึ้น นักวิเคราะหคาดการณวา 14 ในชวง 2-3 ปขางหนา การผลิตชิ้นสวนและอะไหลจะยายมาผลิตที่<br />

ประเทศจีนมากขึ้น โดยคาดวาในป ค.ศ. 2015 จะมีมูลคาการผลิตประมาณ 350 พันลานเหรียญ<br />

สหรัฐ หรือเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 25 ตัวอยางเชน ในป ค.ศ. 2008 ฮอนดา กวางโจว (Honda<br />

Guangzhou) เพิ่มปริมาณการใชชิ้นสวนในประเทศเพื่อผลิตรถรุน Jazz จากรอยละ 60 เปนรอยละ<br />

90<br />

นอกจากนี้ คณะกรรมการจัดงานนิทรรศการอะไหลรถยนตนานาชาติแหงประเทศจีน<br />

(China International Auto Parts Expo) ประจํากระทรวงพาณิชยจีนคาดการณวา 15 ในป ค.ศ. 2010<br />

การผลิตอะไหลรถยนตของประเทศจีนจะมีจํานวนเทียบเทากับการประกอบรถยนต 15 ลานคัน คิด<br />

เปนมูลคาการผลิตอะไหลรถยนตมากกวา 1.4 ลานลานหยวน โดยในชวง 5 ปที่ผานมา<br />

อุตสาหกรรมอะไหลรถยนตของจีนมีการเติบโตดวยอัตราไมต่ํากวารอยละ 20 ตอป นอกจากนี้ จีน<br />

ยังเปนประเทศผูผลิตและบริโภครถยนตมากที่สุดในโลกอีกดวย ทําใหอุตสาหกรรมอะไหลรถยนต<br />

ในจีนมีศักยภาพที่จะพัฒนาไดอีกมาก แตขณะเดียวกัน ผูผลิตอะไหลรถยนตจีนก็ตองเรงพัฒนา<br />

ตัวเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานเทคโนโลยี และการบริหารการผลิต เพื่อใหสามารถแขงขันกับ<br />

ผูผลิตจากตางชาติได เนื่องจากปจจุบันมีวิสาหกิจผูผลิตอะไหลรถยนตชั้นนําจากตางประเทศเขามา<br />

ขยายการลงทุนในจีนอยางตอเนื่อง อาทิเชน Bosch, Denso, Delphi, Visteon เปนตน อันจะทําให<br />

สวนแบงตลาดของวิสาหกิจจีนลดนอยลง<br />

14<br />

ที่มา: KPMG (2009), Momentum: China’s automotive components sector emerging from the crisis<br />

15<br />

ที่มา: ศูนยขอมูลธุรกิจไทยในจีน ณ กรุงปกกิ่ง (วันที่ 3 กุมภาพันธ 2553), คาดอุตสาหกรรมอะไหลรถยนตจีน<br />

สรางมูลคาการผลิตมากกวา 1.4 ลานลานหยวน ในป 53<br />

3 - 28


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3.2.4.3 อํานาจซื้อของผูบริโภคประเทศจีน<br />

ปจจัยสําคัญของการเติบโตอยางยั่งยืนของอุตสาหกรรมรถยนตจีนประการหนึ่ง คืออํานาจ<br />

ซื้อของผูบริโภคในประเทศ ซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยสองประการไดแก ราคารถยนตเมื่อเปรียบเทียบกับ<br />

รายไดของครัวเรือนที่จายได (Disposable Income) และความสามารถในการชําระหนี้ผานผู<br />

ใหบริการทางการเงิน การเพิ่มขึ้นของรายไดของครัวเรือที่จายได (Disposable Income) โดยเฉพาะ<br />

ของชนชั้นกลางในเมือง เปนปจจัยสําคัญที่ขับเคลื่อนการเติบโตของตลาดรถยนตนั่ง แตอยางไรก็<br />

ตามปจจัยที่สําคัญตอการเติบโตของตลาดรถยนตไมใชปจจัยทางเศรษฐกิจ ดังที่กลาวไปขางตน<br />

เทานั้น แตยังรวมถึงการเพิ่มขึ้นของประชากรอีกดวย<br />

นอกจากนี้ ในชวงป ค.ศ. 1990 ประเทศจีนจํากัดรุนรถที่ขายในประเทศ (เชน VW Santana<br />

และ Jetta) แตภายหลังที่จีนเขาเปนสมาชิก WTO แลว รถยนตที่ขายในจีนก็มีจํานวนรุนเพิ่มขึ้น และ<br />

ในขณะเดียวกันตลาดรถยนตก็มีการเปลี่ยนแปลง จากเดิมเปนการขายใหกับนิติบุคคลเปลี่ยนแปลง<br />

เปนการขายใหกับประชาชนทั่วไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความนิยมของ<br />

ประเภทรถยนต จากรถยนตนั่งขนาดใหญ เปนรถยนตนั่งขนาดกลางและขนาดเล็ก แสดงดังภาพที่<br />

3-7<br />

ภาพที่ 3-7 แสดงราคารถยนตนั่งในประเทศจีน<br />

ที่มา: Nakamura (2005) อางถึงใน Holweg, Luo and Oliver (2005)<br />

ขอมูลทางสถิติของประเทศญี่ปุนและเกาหลีใตชี้ใหเห็นวา ความตองการรถยนตของ<br />

ประเทศจะเติบโตขึ้น ก็ตอเมื่อสัดสวนของราคารถยนตเฉลี่ยตอ GDP เฉลี่ย มีคาประมาณ 3 ตอ 1ซึ่ง<br />

หากขอมูลดังกลาวเปนจริงแลว เราสามารถพยากรณตลาดรถยนตรวมของประเทศจีนไดวา นาจะมี<br />

ปริมาณการจําหนายจํานวน 16 ลานคัน แตในความเปนจริง ระบบการเงิน ระบบภาษี ราคาน้ํามัน<br />

3 - 29


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

และตนทุนดําเนินการตางๆ ในประเทศจีนยังเปนขอจํากัดในการซื้อรถยนตของผูบริโภค จึงเปน<br />

เรื่องยากที่จะพยากรณตลาดรถยนตรวมของประเทศจีนได<br />

3.2.4.4 ผูแทนจําหนายและศูนยบริการ<br />

ชองทางการขายรถยนตแบบดั้งเดิมมีลักษณะเปนลําดับชั้น กลาวคือ ผูผลิตยานยนต<br />

แหงชาติขายใหกับตัวแทนจําหนายทั่วไปที่เปดจําหนายในภูมิภาค สูตัวแทนขาย แลวจึงจําหนาย<br />

ใหกับผูบริโภคในที่สุด วิธีการเชนนี้ ถือเปนจุดออน เพราะมีตนทุนสูง ไดรับขอคิดเห็น (Feedback)<br />

จากลูกคาชา และไมมีความยืดหยุน ซึ่งวิธีการเชนนี้ยังคงพบในการขายรถหรูบางยี่หอเทานั้น<br />

สําหรับการขายจํานวนมากนั้น มีชองทางการจําหนายหลายชองทาง โดยวิธีการที่นิยมมาก<br />

ที่สุดคือ “Specialist stores” หรือ รานที่จําหนายรถยนตเพียงยี่หอเดียวเทานั้น โดยผูผลิตรถยนต<br />

ติดตอโดยตรงกับผูบริโภคไดเลย นอกจาก Specialist stores จะเปนผูขายแลว ยังมีบริการหลังการ<br />

ขายดวย โดยเรียกวาการใหบริการแบบ “4S” ซึ่งประกอบดวย การขายรถยนต (Sales) การขาย<br />

อะไหล (Spare Parts) การบริการหลังการขาย (Service) และการสํารวจ (Survey) อีกชองทางที่<br />

ไดรับความนิยมคือ คือ ซุปเปอรมารเกตรถยนต (Auto Supermarket) ซึ่งมีหลายประเภท เชน “1S”<br />

(ขายรถยนตเทานั้น) “3S” (ไมมีการสํารวจ) หรือ “4S” โดยทั่วไปซุปเปอรมารเกตรถยนตมีการ<br />

ดําเนินงานขนาดใหญ ตั้งอยูใกลกับเขตปริมณฑลและจําหนายสินคาหลายยี่หอ<br />

3 - 30


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3.2.5 การสงออกรถยนตและชิ้นสวนยานยนต<br />

ผลจากคาแรงต่ําในประเทศจีน ยังคงเปนแรงจูงใจใหผูผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต<br />

ดําเนินการในประเทศจีน ซึ่งสงผลใหรถยนตที่สงออกจากประเทศจีนมีราคาถูก ทําใหปริมาณการ<br />

สงออกรถยนตของจีนเติบโตอยางตอเนื่อง ขอมูลมูลคาการสงออกสินคาประเภทยานยนต (HS 87)<br />

ของประเทศจีนจากตาราง 3-6 แสดงใหเห็นวา สินคากลุมยานยนตที่มีมูลคาสงออกมากที่สุดสาม<br />

ลําดับแรก คือ ชิ้นสวนยานยนต ซึ่งมีมูลคาสงออกเกือบครึ่งของมูลคาการสงออกสินคายานยนต<br />

ทั้งหมด รองลงมาคือรถจักรยานยนต และชิ้นสวนรถจักรยานยนต สําหรับการสงออกรถบรรทุก<br />

(รวมรถพวงและรถกึ่งพวง) มีสัดสวนการสงออกประมาณรอยละ 15 ของมูลคาการสงออกทั้งหมด<br />

ในขณะที่การสงออกรถยนตนั่งมีสัดสวนประมาณรอยละ 5 เทานั้น<br />

ตารางที่ 3-6 แสดงมูลคาการสงออกยานยนต (HS 87) ของประเทศจีน แยกตามประเภทรถยนต<br />

ตั้งแตป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

(หนวย: ลานเหรียญสหรัฐ)<br />

ลํา<br />

ดับ<br />

HS<br />

Code<br />

รายละเอียด ป 2005 ป 2006 ป 2007 ป 2008 ป 2009<br />

87 ยานยนต 16,601 22,382 31,862 39,316 27,959<br />

1 8708 ชิ้นสวนรถยนต 6,570 8,849 12,209 14,615 11,532<br />

2 8711 รถจักรยานยนต 2,416 3,196 3,823 4,810 3,060<br />

3 8714 ชิ้นสวนรถจักรยานยนต รถจักรยาน 1,582 1,931 2,515 3,149 2,664<br />

4 8712 รถจักรยาน 1,756 1,896 2,179 2,570 2,152<br />

5 8704 รถบรรทุก (Truck) 687 1,185 2,739 3,727 2,143<br />

6 8716 รถพวงและรถกึ่งรถพวง 1,294 1,631 1,599 1,861 1,556<br />

7 8703 รถยนตนั่ง (Passenger Car) 851 1,543 2,813 2,993 1,390<br />

8 8705 รถยนตสําหรับใชงานพิเศษ 120 332 961 1,603 793<br />

9 8715 รถเข็นเด็ก 566 663 778 1,027 787<br />

10 8701 รถแทรกเตอร 290 420 817 1,065 678<br />

11 8702 รถโดยสาร (Bus) 197 416 911 1,085 638<br />

12 8713 รถสําหรับคนพิการ 186 218 289 361 350<br />

13 8706 แชสซีสที่มีเครื่องยนตติดตั้ง 52 55 105 171 110<br />

14 8707 ตัวถังรวมถึงแคปสําหรับยานยนต 13 28 92 231 80<br />

15 8709 รถใชงานชนิดขับเคลื่อนไดในตัว 21 19 33 49 27<br />

ที่มา: Global Trade Atlas<br />

3 - 31


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

นอกจากนี้ หากพิจารณามูลคาการสงออกสินคายานยนต (HS 87) ของประเทศจีน ตาม<br />

แหลงสงออกจากตาราง 3-7 แลว พบวา สหรัฐอเมริกาเปนประเทศผูนําเขาสินคายานยนตจากจีน<br />

มากที่สุด ประมาณรอยละ 20 ของมูลคาการสงออกสินคายานยนตของประเทศจีน รองลงมาคือ<br />

ญี่ปุน และเยอรมนี ที่มีสัดสวนรอยละ 8 และ 4 ตามลําดับ ในขณะที่ไทยเปนแหลงสงออกลําดับที่<br />

27 ของประเทศจีนโดยคิดเปนสัดสวนเพียงรอยละ 1 ของมูลคาการสงออกสินคายานยนตของ<br />

ประเทศจีนเทานั้น<br />

ตารางที่ 3-7 แสดงมูลคาการสงออกยานยนต (HS 87) ของประเทศจีน แยกตามแหลงสงออก 10<br />

ลําดับแรก ตั้งแตป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

(หนวย: ลานเหรียญสหรัฐ)<br />

ลําดับ แหลงสงออก ป 2005 ป 2006 ป 2007 ป 2008 ป 2009<br />

รวมทั่วโลก 16,601 22,382 31,862 39,316 27,959<br />

1 สหรัฐอเมริกา 4,712 5,855 6,642 6,807 5,226<br />

2 ญี่ปุน 1,823 2,057 2,378 2,916 2,268<br />

3 เยอรมนี 506 646 988 1,292 1,105<br />

4 อัลจีเรีย 156 202 433 707 833<br />

5 เกาหลีใต 283 484 769 931 767<br />

6 อิหราน 258 447 880 1,038 714<br />

7 เวียดนาม 201 241 638 850 636<br />

8 อิตาลี 318 486 689 897 631<br />

9 ไนจีเรีย 438 509 601 870 614<br />

10 แคนนาดา 338 402 514 624 556<br />

... ... ... ... ... ... ...<br />

27 ไทย 125 179 231 325 284<br />

ที่มา: Global Trade Atlas<br />

3 - 32


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

เมื่อพิจารณาเฉพาะการสงออกชิ้นสวนยานยนต (HS 8708) แลว พบวา ในป ค.ศ. 2009<br />

ประเทศจีนสงออกลอและสวนประกอบ (HS 870870) ถังเชื้อเพลิงที่ยังไมไดประกอบรวมทั้งฐาน<br />

ยึดเครื่องยนต (HS870899) และเบรกและเซอรโวเบรกรวมทั้งสวนประกอบ (HS870830) มีมูลคา<br />

มากที่สุด (และมีมูลคาใกลเคียงกัน) คือ 2,360 2,319 และ 2,132 พันลานเหรียญตามลําดับ<br />

นอกจากนี้ สหรัฐอเมริกายังคงเปนแหลงสงออกชิ้นสวนยานยนตหลักของประเทศจีน คิดเปนรอย<br />

ละ 30 ของมูลคาการสงออกชิ้นสวนยานยนตของจีน รองลงมาคือ ญี่ปุนและเกาหลีใต มีสัดสวนรอย<br />

ละ 10 และ 5 ตามลําดับ แสดงดังตารางที่ 3-8 และ 3-9<br />

ตารางที่ 3-8 แสดงมูลคาการสงออกชิ้นสวนรถยนต (HS 8708) ของประเทศจีน แยกตามประเภท<br />

การสงออก 10 ลําดับแรก ตั้งแตป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

(หนวย: ลานเหรียญสหรัฐ)<br />

ลําดับ HS Code รายละเอียด ป 2005 ป 2006 ป 2007 ป 2008 ป 2009<br />

8708 ชิ้นสวนรถยนต 6,570 8,849 12,209 14,615 11,532<br />

1 870870 ลอและสวนประกอบ 1,570 2,261 3,044 3,274 2,360<br />

2 870899 ถังเชื้อเพลิงที่ยังไมไดประกอบ 2,194 2,857 3,460 3,573 2,319<br />

รวมทั้งฐานยึดเครื่องยนต<br />

3 870830 เบรกและเซอรโวเบรกรวมทั้ง<br />

0 0 1,923 2,366 2,132<br />

สวนประกอบ<br />

4 870829 องคประกอบของชุดประกอบประตู 687 968 1,316 1,534 1,164<br />

ดานใน<br />

5 870880 ระบบกันสะเทือนและ<br />

136 175 366 653 706<br />

สวนประกอบ (รวมถึงโชกอัพ)<br />

6 870894 พวงมาลัย แกนพวงมาลัย และ<br />

103 145 245 432 478<br />

กระปุกเกียรพวงมาลัย รวมทั้ง<br />

สวนประกอบ<br />

7 870891 หมอน้ํา และสวนประกอบ 147 214 337 489 464<br />

8 870850 เพลาขับที่มีหมอเพลา และเพลาที่<br />

ไมใชเพลาขับ รวมทั้งสวนประกอบ<br />

28 45 333 517 400<br />

9 870840 กระปุกเกียรและสวนประกอบ 46 82 263 498 393<br />

10 870893 คลัตชและสวนประกอบ 213 246 336 426 349<br />

ที่มา: Global Trade Atlas<br />

3 - 33


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ตารางที่ 3-9 แสดงมูลคาการสงออกชิ้นสวนรถยนต (HS 8708) ของประเทศจีน แยกตามแหลง<br />

สงออก 10 ลําดับแรก ตั้งแตป ค.ศ. 2005 – 2009<br />

(หนวย: ลานเหรียญสหรัฐ)<br />

ลําดับ แหลงนําเขา ป 2005 ป 2006 ป 2007 ป 2008 ป 2009<br />

รวมทั่วโลก 6,570 8,849 12,209 14,615 11,532<br />

1 สหรัฐอเมริกา 2,608 3,446 4,272 4,322 3,413<br />

2 ญี่ปุน 1,063 1,261 1,463 1,778 1,242<br />

3 เกาหลีใต 158 316 533 695 570<br />

4 เยอรมนี 216 325 458 612 517<br />

5 แคนนาดา 225 260 353 415 380<br />

6 สหราชอาณาจักร 160 200 280 332 270<br />

7 อิตาลี 118 186 309 413 260<br />

8 เม็กซิโก 61 140 208 246 243<br />

9 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส 156 180 272 350 233<br />

10 ออสเตรเลีย 104 158 229 296 223<br />

11 อิหราน 55 88 155 254 218<br />

... ... ... ... ... ... ...<br />

17 ไทย 63 87 120 169 153<br />

ที่มา: Global Trade Atlas<br />

3 - 34


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

บทที่ 4<br />

นโยบายภาครัฐที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยานยนต<br />

4.1 นโยบายในประเทศ<br />

4.1.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (ค.ศ. 2006 - 2010) ของจีน 1<br />

ประเทศจีนเริ่มใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 5 ป ฉบับที่ 11 ในป ค.ศ. 2006<br />

โดยมีการพัฒนารูปแบบของการคาระหวางประเทศ การสรางความตองการของตลาด<br />

ภายในประเทศ และการพัฒนาในดานความรวมมือระหวางประเทศ ฯลฯ ทั้งนี้แผนการพัฒนา<br />

เศรษฐกิจฉบับนี้แบงเปน 4 เรื่องสําคัญ ดังนี้<br />

1. การพัฒนาดานการคาระหวางประเทศ<br />

1.1 จัดระบบและควบคุมการสงออก อาทิ การจัดระเบียบควบคุมการผลิตและสงออก<br />

สําหรับสินคาที่ใชพลังงานคอนขางสูง หรือสินคาที่ใชวัตถุดิบธรรมชาติราคา<br />

คอนขางแพง สนับสนุนผูผลิตมีการใชยี่หอสินคาของตนเอง มากขึ้น อีกทั้งควบคุม<br />

คุณภาพสินคาสงออกใหไดมาตรฐาน<br />

1.2 เพิ่มการนําเขา โดยจะเนนเปนการนําเขาสินคาประเภทเทคโนโลยีชั้นสูงหรือการ<br />

นําเขาวัตถุดิบและอุปกรณชิ้นสวนที่จําเปนตอการผลิตในประเทศ รวมทั้งสนับสนุน<br />

ใหมีการนําเขาจากประเทศที่ขาดดุลการคากับจีน<br />

1.3 สนับสนุนการผลิตสินคา แปรรูปใหมีมูลคาเพื่อเพิ่มมูลคา ผลักดันใหมีการยายฐาน<br />

การผลิตสําหรับอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพจากภาคตะวันออกไปยังภาคกลางและภาค<br />

ตะวันตกของจีน<br />

1.4 สงเสริมการคาภาคบริการ อาทิ ธุรกิจการทองเที่ยว ธุรกิจการขนสง ธุรกิจการเงิน<br />

และการธนาคาร ธุรกิจประกันภัย ธุรกิจตรวจสอบบัญชี และธุรกิจรับเหมากอสราง<br />

เปนตน<br />

1<br />

รายละเอียดของแผนฉบับที่ 11 ดูในภาคผนวก 5<br />

4 - 1


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

2. การใชประโยชนจากเงินลงทุนตางชาติ<br />

2.1 สนับสนุนใหตางชาติเขามาลงทุนในอุตสาหกรรมประเภทเทคโนโลยีชั้นสูง รวมถึง<br />

อุตสาหกรรมที่สามารถประหยัดพลังงานและรักษาสภาพแวดลอม<br />

2.2 สนับสนุนใหธุรกิจตางชาติเขามารวมทุนกับธุรกิจภายในประเทศ เพื่อเปดศูนยวิจัย<br />

และคนควา พยายามยกระดับใหนิคมอุตสาหกรรมภายในประเทศมีการพัฒนาสิ่ง<br />

อํานวยความสะดวกใหมีมาตรฐานยิ่งขึ้น<br />

3. กอใหเกิดความรวมมือทางดานเศรษฐกิจในมิติใหมๆเพิ่มมากขึ้น<br />

3.1 สนับสนุนสินคาผูประกอบการในจีน โดยใหมีการพัฒนาทั้งในดานการวิจัยและ<br />

คนควา การผลิต และการจําหนาย เพื่อใหเขาสูระบบสากลมากยิ่งขึ้น<br />

3.2 สนับสนุนธุรกิจชั้นนําของจีนออกไปหาผูรวมทุนในตางประเทศใหมากขึ้น โดย<br />

จัดการฝกอบรม ใหคําแนะนาขอมูลที่เปนประโยชน รวมทั้งติดตามการดําเนินงาน<br />

ของธุรกิจจีนในตางประเทศใหมีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น<br />

4. เพิ่มความชวยเหลือและรวมมือระหวางประเทศมากขึ้น<br />

4.1 เพิ่มความสัมพันธและความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศกับประเทศที่<br />

พัฒนาแลว ใหความชวยเหลือแกประเทศที่กําลังพัฒนาหรือดอยพัฒนาในดานตางๆ<br />

อาทิ ชวยเหลือดานการเกษตร ดานสาธารณสุข ดานการศึกษาและการฝกอบรม<br />

บุคลากร เปนตน<br />

4.2 ผลักดันใหเกิดความรวมมือดาน พหุภาคีกับประเทศตางๆ มากขึ้น ปฏิบัติตาม<br />

ขั้นตอนที่ไดลงนามในสนธิสัญญาอยางตอเนื่อง เชนขอตกลงในเขตการคาเสรีกับ<br />

ประเทศตางๆ เปนตน<br />

4.3 เพิ่มความรวมมือดานเศรษฐกิจกับไตหวัน ฮองกงและมาเกา<br />

4.4 ปฏิบัติตามกฎระเบียบขององคการการคาโลก เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจากความไม<br />

สมดุลทางการคา อาทิเชน ลดขอกีดกันทางการคา ลดมาตรการที่มิใชทางภาษี ลด<br />

การใหเงินอุดหนุนสินคา และลดการทุมตลาด เปนตน<br />

4 - 2


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

แผนพัฒนาฉบับที่ 11 กับอุตสาหกรรมยานยนต<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 ของจีนที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยาน<br />

ยนต มีเปาหมายสําคัญดังนี้<br />

• การสรางนวัตกรรมของตนเอง ปรับปรุงการวิจัยและพัฒนาของตนใหดีขึ้น และ<br />

ความสามารถในการคิดคนสิ่งใหมๆ การพัฒนาตราสินคาของตนเอง โดยกลุมรถยนต<br />

ขนาดใหญตองมีรูปแบบการวิจัยและพัฒนาเปนของตนเอง สวนบริษัทชิ้นสวนยาน<br />

ยนตตองควบคุมเทคโนโลยีหลักของชิ้นสวนที่สําคัญ<br />

• การรักษาสิ่งแวดลอมและการประหยัดพลังงาน โดยสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม<br />

รถยนตดานการประหยัดพลังงานและการใชพลังงานทดแทนอื่นๆ เชน พลังงาน<br />

ไฮบริด (Hybrid Power) เปนตน<br />

• การปรับเปลี่ยนโครงสราง ในแงของโครงสรางผลิตภัณฑ การวิจัยและสนับสนุนเรื่อง<br />

รถยนตที่ใชพลังงานทางเลือก ใหอยูในขั้นตอนของการทดลองรถยนตที่ใชพลังงานที่<br />

ไมมีวันหมด สวนในแงโครงสรางอุตสาหกรรม เริ่มตนการสรางตราสินคาของตนเอง<br />

และการพัฒนาของกลุมอุตสาหกรรมขนาดใหญ<br />

4 - 3


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.1.2 นโยบายสงเสริมการลงทุน<br />

การประชุมเต็มคณะของคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศสาธารณรัฐ<br />

ประชาชนจีน ครั้งที่ 3 สมัยที่ 11 ในป ค.ศ. 1980 ไดมีมติไววา<br />

“การเปดเสรีเปนหนทางที่จะสรางสังคมนิยม<br />

ของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนใหเขมแข็ง<br />

และเปนตัวกําหนดทางประวัติศาสตร<br />

ถึงชะตากรรมของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนในยุคสมัยนี้”<br />

ดวยเหตุนี้ ประเทศจีนจึงดําเนินนโยบาย “เชิญเขามา” เพื่อสงเสริมการลงทุนจาก<br />

ตางประเทศ แตเนื่องจากประเทศจีนมีพื้นที่ขนาดใหญมาก โดยในแตละทองที่ตางมีความแตกตาง<br />

ทางกายภาพ ทั้งดานเศรษฐกิจ ทรัพยากร และแรงงาน ซึ่งเปนปจจัยที่สําคัญและมีผลตอนโยบายการ<br />

ลงทุนโดยตรงของนักลงทุนตางชาติ<br />

4.1.2.1 นโยบายกําหนดพื้นที่เพื่อสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศ<br />

นับตั้งแตจีนมีนโยบายเปดประเทศและสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศเปนตนมา จีนมี<br />

นโยบายทยอยเปดพื้นที่เพื่อรองรับนักลงทุนจากตางประเทศอยางเปนขั้นตอน โดยเริ่มนโยบาย<br />

จัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ 4 แหง ทางตะวันออกเฉียงใตของจีนกอน พรอมกับนโยบายเมืองเปด 14<br />

เมืองหลักดานชายฝงตะวันออก ตามดวยนโยบายเปดเมืองหลักของมณฑลที่มีพื้นที่ติดกับชายแดน<br />

ประเทศเพื่อนบาน หลังจากนั้นเปดเมืองหลักตามแนวชายฝงแมน้ําแยงซีเกียง นโยบายฟนฟูพื้นที่<br />

มณฑลอุตสาหกรรมเกาทางภาคอีสาน และนโยบายสงเสริมการลงทุนตอเนื่องในพื้นที่มณฑลภาค<br />

กลาง จนในที่สุดในป ค.ศ. 2000 เริ่มนโยบายบุกเบิกพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตก ในการกําหนด<br />

นโยบายพัฒนาพื้นที่เพื่อสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศนั้น มีนโยบายหลัก ดังนี้<br />

(ก) นโยบายภาคอีสาน<br />

(ง) นโยบายชายแดน<br />

(ข) นโยบายชายฝงตะวันออก<br />

(จ) นโยบายภาคกลาง<br />

(ค) นโยบายชายแมน้ํา<br />

(ฉ) นโยบายภาคตะวันตก<br />

โดยนโยบายดังกลาว แสดงออกมาในรูปของเศรษฐกิจตางๆ (แสดงดังภาพที่ 4-1) ดังนี้<br />

4 - 4


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

1. เขตเศรษฐกิจตงเปย (Dongbei Region)<br />

เขตเศรษฐกิจพิเศษตงเปยตั้งอยูภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีน<br />

ครอบคลุมมณฑลเหลียวหนิง (Liaoning) จี๋หลิน (Jilin) และเฮยหลงเจียง (Heilongjiang) ซึ่ง<br />

ในอดีตเปนเขตอุตสาหกรรมหนักที่สําคัญของประเทศ<br />

2. เขตเศรษฐกิจโปไห (Bohai River Delta)<br />

เขคเศรษฐกิจโปไหมีศูนยกลาง ณ กรุงปกกิ่ง (Beijing) และประกอบดวยมหานคร<br />

เทียนจิน (Tianjin) และเมืองในมณฑลเหอเปย (Hebei) และซานตง (Shandong)<br />

3. เขตเศรษฐกิจลุมน้ําแยงซี (Yangtze River Delta: YRD)<br />

เขตเศรษฐกิจลุมแมน้ําแยงซี หรือ YRD มีศูนยกลาง ณ นครเซี่ยงไฮ (Shanghai)<br />

และประกอบดวย 15 เมืองในเขตมณฑลเจียงซู (Jiangsu) และมณฑลเจอเจียง (Zhejiang)<br />

YRD เปนพื้นที่รอยตอมหานครที่ใหญที่สุดในเอเชียตะวันออก มีประชากรรวมกัน<br />

76 ลานคน และเปนเขตอุตสาหกรรมที่สําคัญของจีน เชน สิ่งทอ เสื้อผาสําเร็จรูป เคมีภัณฑ<br />

ปโตรเคมี พลาสติก โทรคมนาคม เครื่องจักรกล วัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรม เหล็ก และ<br />

แผงวงจรไฟฟา ทําให YRD มีขนาดทางเศรษฐกิจถึงหนึ่งในสี่ของประเทศ และมีปริมาณ<br />

การคาระหวางประเทศราวหนึ่งในสามของการคาตางประเทศทั้งหมดของจีน<br />

4. เขตเศรษฐกิจลุมแมน้ําเพิรลและเขตเศรษฐกิจปากแมน้ําเพิรล (Pan Pearl Rivel Delta and<br />

Pearl River Delta: Pan-PRD)<br />

แนวความคิดเรื่องความรวมมือทางเศรษฐกิจในกรอบใหญของพื้นที่ลุมแมน้ําเพิรล<br />

ของจีนตอนใตที่รูจักกันในชื่อ Greater Pearl River Delta (Greater PRD) มีวัตถุประสงค<br />

เพื่อใหเกิดการรวมตัวทางเศรษฐกิจของฮองกง (Hongkokng) และมาเกา (Macua) เขากับอีก<br />

9 มณฑลของจีนไดแก เสฉวน (Sichuan) ยูนนาน (Yunnan) กุยโจว (Guizhou) กวางสี<br />

(Guangxi) หูหนาน (Hunan) เจียงซี (Jiangxi) ฟูเจี้ยน (Fujian) กวางตุง (Guangdong) และ<br />

ไหหลํา (Hainan) จนกลายเปนพื้นที่ศูนยกลางทางเศรษฐกิจที่สําคัญอีกแหงหนึ่งของเอเชีย<br />

โดยกรอบความรวมมือดังกลาวจะทําให Pan-PRD เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ<br />

ของจีนควบคูกับพื้นที่ลุมแมน้ําแยงซี (Yangtze River Delta: YRD)<br />

5. เขตเศรษฐกิจภาคตะวันตก (Western Development)<br />

เขตเศรษฐกิจภาคตะวันตกประกอบดวย เขตปกครองตนเองทิเบต (Tibet) เขต<br />

ปกครองตนเองซินเจียง (Xinjiang) เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ย (Ningxia) เขตปกครอง<br />

ตนเองมองโกเลียใน (Inner Mongolia) มหานครฉงชิ่ง (Chongqing) มณฑลชิงไห<br />

(Qinghai) มณฑลกานซู (Gansu) และมณฑลสานซี (Shaanxi)<br />

4 - 5


้<br />

ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาพที่ 4-1 แสดงเขตเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศจีน<br />

ที่มา: China Information Center, BOI<br />

ผลจากนโยบายทยอยเปดพื้นที่เพื่อรองรับการลงทุนจากนักลงทุนตางชาติที่กลาวไปขางตน<br />

ทําใหเศรษฐกิจภาคตะวันออกของจีนขยายตัวอยางรวดเร็วและนําหนาเศรษฐกิจภาคอื่นๆ สวนฐาน<br />

อุตสาหกรรมดั้งเดิมทางภาคอีสานของจีนก็ฟนคืนและเริ่มขยายตัว โดยในครึ่งปแรกของ ค.ศ. 2006<br />

มีการลงทุนจากตางประเทศเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 26% โดยเฉพาะนครเซี่ยงไฮ (Shanghai) มีบรรษัท<br />

ขามชาติเขาไปจัดตั้งสํานักงานผูแทนระดับภูมิภาคเพื่อดูแลสาขาของตนในเขตภูมิภาคมากที่สุด<br />

ในขณะที่จีนประกาศนโยบายกําหนดพื้นที่เพื่อสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศดังที่<br />

กลาวมาแลว หนวยงานตางๆ ของรัฐบาลก็ทยอยออกกฎระเบียบบริหารกําหนดเขตนิคมสงเสริม<br />

การลงทุนออกมารองรับนโยบายของรัฐบาลดังกลาว โดยมีเขตนิคมตางๆ ดังนี<br />

1. เขตเศรษฐกิจพิเศษ<br />

เปนเขตที่จัดตั้งโดยสํานักนายกรัฐมนตรี โดยสํานักนายกรัฐมนตรีออกกฎระเบียบ<br />

บริหารมอบอํานาจใหรัฐบาลทองถิ่นของเขตเศรษฐกิจพิเศษมีอํานาจการบริหารดาน<br />

เศรษฐกิจแทนรัฐบาลกลาง นอกจากรัฐบาลทองถิ่นสามารถกําหนดนโยบายที่มีลักษณะพิเศษ<br />

4 - 6


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

แลว ยังสามารถกําหนดมาตรการใหสิทธิพิเศษแกนักลงทุนที่ลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษได<br />

ดวย เนื่องจากเขตเศรษฐกิจพิเศษเปนจุดเริ่มตนและทดลองการปฏิรูปโครงสรางเศรษฐกิจของ<br />

จีน ดังนั้น จึงมีมาตรการที่มีลักษณะพิเศษออกมาบังคับใช ระบบการจัดการก็คอนขางจะ<br />

คลองตัว อํานาจการบริหารรัฐกิจของรัฐบาลทองถิ่นคอนขางจะมีระดับที่สูงกวารัฐบาล<br />

ทองถิ่นอื่นๆ นโยบายและมาตรการที่มีลักษณะพิเศษนี้เปนแรงดึงดูดนักลงทุนตางชาติเขามา<br />

ลงทุนในเขตดังกลาวมาก ปจจุบันมีทั้งสิ้น 5 เขต ไดแก เขตเศรษฐกิจพิเศษเซินเจิ้น เขต<br />

เศรษฐกิจพิเศษจูไห เขตเศรษฐกิจพิเศษซานโถว เขตเศรษฐกิจพิเศษเซี่ยเหมิน และเขต<br />

เศรษฐกิจพิเศษไหหนานซึ่งจัดตั้งในภายหลัง<br />

ภายในเขตเศรษฐกิจพิเศษผูลงทุนชาวตางชาติจะไดรับสิทธิพิเศษทางการคาในเรื่อง<br />

ของการนําเขาเครื่องจักรอุปกรณ การนําเขาวัตถุดิบ การนําเขาชิ้นสวนประกอบ การสงออก<br />

สินคาสําเร็จรูป การไดรับสวนลดและยกเวนในเรื่องภาษี ดุลบัญชีเงินตราตางประเทศและ<br />

การโอนกําไรออกนอกประเทศ สิทธิการใชที่ดิน พิธีการการเขาอาณาจักร และการพักอาศัย<br />

ของนักธุรกิจตางชาติ ครอบครัวและผูติดตาม เปนตน<br />

ภายหลังการเปดเขตเศรษฐกิจพิเศษ ทําใหระบบเขตเศรษฐกิจของจีนเติบโตอยาง<br />

รวดเร็ว แตอยางไรก็ตาม เนื่องจากประเทศจีนมีทางออกทางเดียว คือ ชายฝงทะเลตะวันออก<br />

ประกอบกับประเทศมีความกวางใหญมากโดยเฉพาะภาคกลางและภาคตะวันตกของประเทศ<br />

ทําใหการขนสงสินคาออกไปยังตางประเทศใชเวลานานและมีคาใชจายสูง ดังนั้นรัฐบาลจีน<br />

จึงมีแผนขั้นที่สอง ที่จะเชื่อมโยงทางออกสินคาไปยังตางประเทศ<br />

นโยบายเปดเสนทางออกสินคาไปตางประเทศนั้น ในภาคเหนืออาจรวมพันธมิตรกับ<br />

ประเทศมองโกเลียและรัสเซีย เปดเมืองทาทางเหนือผานทะเลดํา สวนในภาคใตมีแผน<br />

รวมมือกับกลุมประเทศอาเซียน โดยใชมณฑลยูนนาน (Yunan) และแมน้ําโขงเปนเสนทาง<br />

หลักในการขนสงสินคา<br />

ประเทศจีนรวมมือกับกลุมประเทศอาเซียนที่มีพื้นที่ติดกับจีนตอนใต ไดแก ประเทศ<br />

พมา ลาว และไทย โดยสรางระบบขนสงทางถนนในพมาและลาว แลวเชื่อมตออําเภอเชียง<br />

ของ และเชียงแสนทางภาคเหนือของไทย เพื่อไปยังเมืองทาในกรุงเทพฯ และเมืองทาน้ําลึกที่<br />

ทวายของพมา นอกจากระบบขนสงทางบกแลว ยังเชื่อมโยงระบบรถไฟระหวางประเทศ จาก<br />

ไทยไปสูจีนตอนใตโดยผานทางอําเภอเดนชัยไปถึงเชียงของ และผานไปทางรถไฟของ<br />

ประเทศลาวอีกดวย<br />

4 - 7


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

2. เขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี<br />

เปนนิคมที่ตั้งอยูในเมืองที่เปดเสรีสําหรับนักลงทุนตางชาติแลว โดยรัฐบาลได<br />

จัดสรางระบบสาธารณูปโภคภายในนิคมใหพรอมเพรียงเพื่อดึงดูดนักลงทุนตางชาติใหนําเขา<br />

เทคโนโลยีและระบบการจัดการที่ทันสมัยมาสรางโรงงานอุตสาหกรรมภายในนิคมเพื่อ<br />

ผลักดันใหพื้นที่โดยรอบของนิคมเกิดการพัฒนาและความรวมมือทางเศรษฐกิจและ<br />

เทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น ปจจุบันไดมีการเปดเขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีแลวทั้งสิ้น<br />

54 เขตนิคม รูปแบบเขตนิคมดังกลาวนี้เปนอีกหนึ่งรูปแบบการสงเสริมการลงทุนที่สามารถ<br />

ดึงดูดเงินทุนและเทคโนโลยีจากตางประเทศไดอยางประสบผลสําเร็จ<br />

เขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีนี้จัดตั้งขึ้นโดยสํานักนายกรัฐมนตรี มี<br />

สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภายใตการกํากับของสํานักนายกรัฐมนตรีเปนผูกํากับดูแล<br />

นักลงทุนที่ลงทุนในเขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีระดับชาตินี้จะไดรับสิทธิพิเศษ<br />

ดานภาษีอากรที่จัดเก็บโดยสวนกลาง เชน ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีศุลกากรสําหรับ<br />

เครื่องจักรอุปกรณที่นําเขามาดําเนินการในเขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี เปนตน<br />

ในเขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีจะจัดตั้งสํานักงานบริหารเบ็ดเสร็จ (one stop<br />

service) ภายในเขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเพื่อใหบริการอํานวยความสะดวกแก<br />

นักลงทุนตางชาติ รวมทั้งตั้งศูนยรับเรื ่องราวรองทุกขไวในเขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและ<br />

เทคโนโลยีดวย ในเมืองที่มีการจัดตั้งเขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีนั้น ประมาณ<br />

การณวา นักลงทุนตางชาติ 30%-40% จะลงทุนในเขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี<br />

เขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีที่ไดรับอนุญาตจัดตั้งโดยสํานักนายกรัฐมนตรีนี้จะมี<br />

คําวา “ระดับชาติ” หรือ “National” ปรากฏอยูในชื่อเขตนิคม<br />

นอกจากเขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีระดับชาติดังกลาวแลว ใน<br />

ทองถิ่นตางๆ ตั้งแตรัฐบาลระดับมณฑล เมือง และอําเภอ ตางก็จัดตั้งเขตนิคมพัฒนาเศรษฐกิจ<br />

และเทคโนโลยีภายในทองที่ของตนเองเพื่อดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศ แตนักลงทุนที่<br />

ลงทุนในเขตนิคมพัฒนาระดับทองถิ่นเหลานี้ จะไดรับสิทธิประโยชนยกเวนหรือลดหยอน<br />

ดานภาษีทองถิ่น คาธรรมเนียม คาตอบแทนสิทธิในการใชที่ดิน ซึ่งจัดเก็บโดยรัฐบาลทองถิ่น<br />

เหลานั้น จะไมไดรับสิทธิพิเศษยกเวนหรือลดหยอนภาษีอากรที่จัดเก็บโดยรัฐบาลกลาง เขต<br />

นิคมพัฒนาเศรษฐกิจระดับทองถิ่นจะมีชื่อของมณฑล หรือเมือง หรืออําเภอ นําหนาชื่อนิคม<br />

และจะไมมีคําวา “ระดับชาติ” หรือ “National” ปรากฏอยูในชื่อเขตนิคมพัฒนาระดับทองถิ่น<br />

4 - 8


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3. เขตนิคมสินคาทัณฑบน<br />

เขตนิคมสินคาทัณฑบนเปนเขตนิคมที่จัดตั้งขึ้นโดยไดรับอนุญาตจากสํานัก<br />

นายกรัฐมนตรีภายใตการกํากับดูแลของสํานักงานใหญศุลกากร เปนเขตนิคมที่สงเสริมการ<br />

ผลิตเพื่อการสงออก ซึ่งมีลักษณะคลายกับเขตการคาเสรีที่มีอยูทั่วไปในตางประเทศ นัก<br />

ลงทุนสามารถดําเนินกิจการดานการคาระหวางประเทศ คลังสินคา การแปรรูป ภายในเขต<br />

นิคมดังกลาวนี้ไดโดยปลอดภาษี นอกจากนี้ การแลกเปลี่ยนเงินตราการนําเขาออกซึ่งสินคา<br />

หรือบุคลากรในเขตนิคมนี้ก็อิสรเสรี ปจจุบันมีการอนุญาตใหจัดตั้งเขตนิคมสินคาทัณฑบน<br />

แลว 15 เขตนิคม<br />

ป ค.ศ. 2009 รัฐบาลจีนประกาศการดําเนิน “ขอคิดเห็นวาดวยการสงเสริมกระตุน<br />

การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเขตฯ กวางซีจวง” พรอมอนุมัติใหเขตทาเรือคลังสินคาทัณฑ<br />

บนเมืองชินโจว 2 เปนทาเรือนําเขารถยนตประกอบสําเร็จรูป ทําใหเขตทาเรือคลังสินคาทัณฑ<br />

บนชินโจว (Qinzhou Bonded Port Area) รับการอนุมัติเปนทาเรือเลียบชายฝงทะเลที่สามารถ<br />

นําเขารถยนตประกอบสําเร็จรูปแหงที่ 5 ของประเทศจีนตอจากทาเรือนครเทียนจิน ทาเรือ<br />

เมืองตาเหลียน ทาเรือนครเซี่ยงไฮ ทาเรือหวางผูนครกวางโจว และถือเปนทาเรือคลังสินคา<br />

ทัณฑบนแหงเดียวของประเทศจีนที่มีฟงกชั่นพรอมดานการนําเขารถยนตสําเร็จรูป<br />

เขตทาเรือฯ ดังกลาวจะเปดดําเนินงานอยางเปนทางการในเดือน ม.ค. 2012 โดย<br />

คาดการณวา จะมีรถยนตนําเขาผานเขตทาเรือคลังสินคาทัณฑบนเมืองชินโจวจํานวน 50,000<br />

คัน และมีรถยนตสงออกจํานวน 250,000 คัน<br />

4. เขตนิคมพัฒนาอุตสาหกรรมนิวไฮเทค<br />

เขตนิคมพัฒนาอุตสาหกรรมนิวไฮเทค จัดตั้งขึ้นโดยไดรับการอนุญาตจากสํานัก<br />

นายกรัฐมนตรีภายใตการกํากับของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีวัตถุประสงคที่<br />

จะดึงดูดใหนักลงทุนตางชาติที่มีทรัพยสินทางปญญาและเทคโนโลยีระดับสูงที่เปน<br />

นวัตกรรมใหมๆเขามาลงทุนในเขตนิคมพัฒนาอุตสาหกรรมนิวไฮเทคดังกลาว เพื่อใช<br />

เทคโนโลยีที่ทันสมัยและแปลกใหมสรางสินคาที่เปนนวัตกรรมใหมๆ ขึ้นเพื่อสงเสริมการ<br />

ถายทอดเทคโนโลยี ยกระดับการผลิตและการบริหารจัดการที่ทันสมัยใหกับผูประกอบการ<br />

2<br />

เขตทาเรือคลังสินคาทัณฑบนเมืองชินโจว ตั้งอยูพื้นที่ใจกลางเขตเศรษฐกิจอาวเปยปูเขตฯกวางซีจวง ซึ่งเปน<br />

จุดเชื่อมระหวางวงแหวนเศรษฐกิจตะวันตกเฉียงใต วงแหวนเศรษฐกิจจีนตอนใต และวงแหวนเศรษฐกิจอาเซียน<br />

นอกจากนี้ถือเปนเขตทาเรือคลังสินคาทัณฑบนเลียบชายฝงทะเลแหงเดียวทางภาคตะวันตกของประเทศจีน และ<br />

เปนเขตทาเรือคลังสินคาทัณฑบนที่ตั้งอยูใกลกับกลุมประเทศอาเซียนมากที่สุด<br />

4 - 9


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

จีน นักลงทุนที่ลงทุนในเขตนิคมพัฒนาอุตสาหกรรมนิวไฮเทคนี้ จะไดรับสิทธิประโยชน<br />

ดานลดหยอนภาษีที่จัดเก็บโดยรัฐบาลกลาง ปจจุบัน สํานักนายกรัฐมนตรีไดอนุญาตใหมีการ<br />

จัดตั้งเขตนิคมพัฒนาอุตสาหกรรมนิวไฮเทคขึ้นทั่วประเทศทั้งสิ้น 53 เขต<br />

5. เขตความรวมมือทางเศรษฐกิจชายแดน<br />

เขตความรวมมือทางเศรษฐกิจชายแดนมีลักษณะเปนเขตสงเสริมการคาชายแดน<br />

และการแปรรูปเพื่อการสงออก จัดตั้งขึ้นในเมืองที่มีพื้นที่ชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบาน<br />

นักลงทุนเริ่มมีการจัดตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1992 สวนใหญจะอยูในพื้นที่ภาคตะวันตกของจีน<br />

ปจจุบัน สํานักนายกรัฐมนตรีไดอนุญาตใหมีการจัดตั้งเขตความรวมมือเศรษฐกิจชายแดนขึ้น<br />

ทั้งสิ้น 14 เขต<br />

6. เขตนิคมการแปรรูปเพื่อการสงออก<br />

เขตนิคมการแปรรูปเพื่อการสงออก สวนใหญจะจัดตั้งอยูภายในเขตนิคมพัฒนา<br />

เศรษฐกิจและเทคโนโลยี โดยมีวัตถุประสงคในการสงเสริมการคาแปรรูปเพื่อการสงออกให<br />

รวมศูนยอยูภายในบริเวณเดียวกัน ผูประกอบการสามารถจัดตั้งวิสาหกิจแปรรูปเพื่อการ<br />

สงออก กิจการคลังสินคาภายในเขตนิคมฯนี้ และเมื่อไดรับการอนุญาตจากสํานักงานใหญ<br />

ศุลกากรก็สามารถนําเขา สงออก หรือขนถายสินคาเขาออกภายในเขตนิคมฯดวย วิธีการจด<br />

แจงไวเปนหลักฐานโดยไมตองขออนุญาตจากศุลกากรอีก เวนแตสินคาที่อยูในรายการที่ตอง<br />

ขอโควตาเทานั้น สิทธิประโยชนที่ไดรับในเขตนิคมแปรรูปเพื่อการสงออกนี้มีลักษณะ<br />

เชนเดียวกับเขตนิคมสินคาทัณฑบน ปจจุบัน สํานักนายกรัฐมนตรีไดอนุญาตใหจัดตั้งเขต<br />

นิคมการแปรรูปเพื่อการสงออกแลวทั้งสิ้น 15 เขต<br />

แมในป ค.ศ. 2007 จีนจะไดตรากฎหมายวาดวยภาษีเงินไดวิสาหกิจทุนจีนและ<br />

วิสาหกิจทุนตางชาติออกมาบังคับใช โดยกําหนดใหวิสาหกิจทุนจีนและวิสาหกิจทุนตางชาติ<br />

ตองเสียภาษีเงินไดนิติบุคคลในอัตราเดียวกัน แตสิทธิประโยชนดานภาษีที่รัฐบาลเคยตรา<br />

กฎระเบียบใหไวกับนักลงทุนตางชาติยังคงไดรับความคุมครองและใชบังคับตอไปตาม<br />

กําหนดเวลาและเงื่อนไขที่กฎหมายไดกําหนดไว สําหรับสิทธิประโยชนดานภาษีที่<br />

ผูประกอบการจะไดรับยกเวนหรือลดหยอนเมื่อดําเนินกิจการในเขตนิคมฯ ตางๆ นั้น มีอัตรา<br />

และหลักเกณฑที่แตกตางกันไป<br />

4 - 10


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.1.2.2 การกําหนดภาคธุรกิจเพื่อสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศ<br />

เพื่อใหการลงทุนของนักลงทุนตางชาติสอดคลองกับนโยบายและทิศทางการพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมของประเทศ และเพื่อใหการคุมครองสิทธิประโยชนของนักลงทุนตางชาติที่ไดมาโดย<br />

ชอบดวยกฎหมาย รัฐบาลจีนจึงไดประกาศกฎระเบียบบริหาร ขอกําหนดวาดวยขอชี้แนะทิศ<br />

ทางการลงทุนสําหรับนักลงทุนตางชาติ (ซึ่งตอไปเรียกวา “ขอกําหนดชี้แนะ”) และ รายการภาค<br />

ธุรกิจอุตสาหกรรม ชี้แนะสําหรับนักลงทุนตางชาติ (ซึ่งตอไปเรียกวา “รายการภาคธุรกิจชี้แนะ”)<br />

ออกบังคับใช ขอกําหนดชี้แนะและรายการภาคธุรกิจชี้แนะไดมีการปรับปรุงใหเหมาะสมกับ<br />

สถานการณการลงทุนจากตางประเทศตลอดเวลา ซึ ่งฉบับลาสุดประกาศใชเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.<br />

2005 ซึ่งขอกําหนดชี้แนะและรายการภาคธุรกิจชี้แนะไดแบงกลุมภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม<br />

ออกเปน 4 ประเภท คือ<br />

ประเภทที่ 1 เปนรายการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมที่สงเสริมการลงทุนจากตางประเทศ<br />

อุตสาหกรรมประเภทสงเสริม เชน อุตสาหกรรมประเภทการเกษตร ปาไม เลี้ยงสัตวและ<br />

ประมงบางประเภท อุตสาหกรรมเหมืองแรบางประเภท อุตสาหกรรมการผลิต เชน อุตสาหกรรม<br />

ผลิตสินคาทางการเกษตร อุตสาหกรรมผลิตอาหาร อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมกระดาษและ<br />

ผลิตภัณฑจากกระดาษ อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณสื่อสารและการขนสง อุตสาหกรรม<br />

อิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมดานการสื่อสารและการขนสง เชน บริษัทผูใหบริการขนสงทางถนน<br />

นักลงทุนตางชาติที่ประสงคจะไดสิทธิพิเศษดานการลงทุนในอุตสาหกรรมที่สงเสริมนี้<br />

จะตองยื่นโครงการเสนอตอหนวยงานความรวมมือทางเศรษฐกิจและการคาตั้งแตระดับอําเภอขึ้น<br />

ไป ซึ่งแลวแตจํานวนทุนทรัพยที่ลงทุนเพื่อขออนุมัติการสงเสริม เมื่อไดรับอนุมัติโครงการแลวจึง<br />

จะสามารถจดทะเบียนจัดตั้งเปนองคกรธุรกิจทุนตางชาติเพื่อดําเนินกิจการและ รับสิทธิพิเศษได<br />

ประเภทที่ 2 เปนรายการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมที่จํากัดการลงทุนจากตางประเทศ<br />

อุตสาหกรรมประเภทจํากัด เชน อุตสาหกรรมประเภทการเกษตร ปาไม เลี้ยงสัตวและ<br />

ประมงบางประเภท อุตสาหกรรมเหมืองแรบางประเภท อุตสาหกรรมการผลิต เชน อุตสาหกรรม<br />

ผลิตปโตรเลียมและถานโคก อุตสาหกรรมการพิมพ อุตสาหกรรมผลิตวัตถุดิบทางเคมี<br />

อุตสาหกรรมผลิตยา อุตสาหกรรมธนาคารและประกันภัยประเภทประกันชีวิต อุตสาหกรรม<br />

อสังหาริมทรัพย อุตสาหกรรมดานสุขภาพและกีฬา<br />

นักลงทุนตางชาติประสงคที่จะประกอบกิจการในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมประเภทจํากัดนั้น<br />

ตองยื่นคารองตอหนวยงานความรวมมือทางเศรษฐกิจและการคาตั้งแตระดับอําเภอขึ้นไปและยื่นขอ<br />

อนุญาตตอหนวยงานภายใตสังกัดของกระทรวงที่กํากับดูแลภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมนั้น ๆ<br />

4 - 11


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สําหรับกรณีการอนุญาตใหนักลงทุนตางชาติประกอบกิจการในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมประเภท<br />

จํากัดนี้ หนวยงานระดับทองถิ่นที่รับคําขออนุญาตไมสามารถอนุมัติไดดวยตนเอง จะตองสงคําขอ<br />

ไปยังกระทรวงตนสังกัดเพื่อพิจารณาอนุมัติ เมื่อนักลงทุนตางชาติไดรับการอนุมัติโครงการและ<br />

อนุญาตใหประกอบกิจการในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมประเภทจํากัดแลว จึงจะจดทะเบียนจัดตั้ง<br />

องคกรธุรกิจทุนตางชาติเพื่อดําเนินกิจการได<br />

ประเภทที่ 3 เปนรายการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมที่ตองหามการลงทุนจากตางประเทศ<br />

อุตสาหกรรมประเภทตองหาม เชน อุตสาหกรรมบริการขนสงทางไปรษณีย การจัดการ<br />

ดานชลประทานและสิ่งแวดลอม การศึกษา อุตสาหกรรมดานศิลปะ กีฬาและบันเทิง ซึ่งนักลงทุน<br />

ตางชาติไมสามารถยื่นโครงการหรือขออนุญาตประกอบกิจการในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมประเภทนี้<br />

ได<br />

ประเภทที่ 4 เปนรายการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมที่อนุญาตใหมีการลงทุนจากตางประเทศ<br />

อุตสาหกรรมที่อนุญาตใหมีการลงทุนจากตางประเทศ หรืออุตสาหกรรมประเภททั่วไป<br />

หมายถึง อุตสาหกรรมที่ไมอยูในรายการอุตสาหกรรมประเภทสงเสริม จํากัด และตองหาม ซึ่งนัก<br />

ลงทุนตางชาติที่ประสงคจะดําเนินกิจการในอุตสาหกรรมประเภททั่วไปนี้ สามารถยื่นจดทะเบียน<br />

จัดตั้งองคกรธุรกิจทุนตางชาติเพื่อดําเนินกิจการดังกลาวไดโดยไมตองขออนุมัติสงเสริมหรือขอ<br />

อนุญาตประกอบกิจการแตอยางใด<br />

ภายหลังจีนไดเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก จีนไดปรับปรุงขอกําหนดชี้แนะและ<br />

รายการภาคธุรกิจชี้แนะหลายครั้ง ครั้งลาสุดคือฉบับป ค.ศ. 2004 ซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 1<br />

มกราคม ค.ศ. 2005 ทั้งนี้เพื่อใหสอดคลองกับพันธกรณีที่จีนไดใหไวกับสมาชิกองคการการคาโลก<br />

ขอกําหนดชี้แนะและรายการภาคธุรกิจชี้แนะดังกลาว มีลักษณะพิเศษ ดังนี้<br />

(1) เนนใหการสงเสริมการลงทุนมากกวาจํากัด หรือหามการลงทุนของนักลงทุนตางชาติ<br />

โดยเฉพาะภาคการสงเสริม ประกอบดวย เกษตรกรรม การทําเหมืองแร อุตสาหกรรมการ<br />

ผลิต อุตสาหกรรมพลังงาน การบริหารงานชลประทาน กิจการโทรคมนาคม ไปรษณีย<br />

ขนสงและคลังสินคา การคาปลีกคาสง การพัฒนาอสังหาริมทรัพย กิจการบริการ<br />

สาธารณูปโภค กิจการบริการดานสวัสดิการสาธารณสุขและการกีฬา กิจการดาน<br />

สื่อสารมวลชนวัฒนธรรมและการศึกษา กิจการวิจัยทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ<br />

โครงการการลงทุนเพื่อการสงออกทั้งหมด ภาคจํากัด ประกอบดวยกิจการบางสวนที่ตอง<br />

4 - 12


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ดําเนินในรูปกิจการรวมทุนหรือกิจการรวมประกอบการระหวางวิสาหกิจทุนตางชาติกับ<br />

วิสาหกิจทุนจีน สําหรับภาคตองหามนั้น สวนใหญจะเปนภาคธุรกิจเกี่ยวกับ ความมั่นคง<br />

ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิม และกิจการที่ขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของ<br />

ประชาชน<br />

(2) สรางระบบการแขงขันที่ยุติธรรม กลาวคือ ภาคธุรกิจที่นอกเหนือจากที่ระบุไวในรายการ<br />

สงเสริม รายการจํากัด และรายการตองหามแลว ใหถือวาอยูในภาคอนุญาตใหนักลงทุน<br />

ตางชาติลงทุนไดทั้งนั้น<br />

(3) สอดคลองกับพันธกรณีที่จีนไดใหไวกับสมาชิกองคการการคาโลก<br />

4 - 13


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.1.3 โครงสรางภาษีของประเทศจีน<br />

ระบบภาษีของประเทศจีน 3 แบงเปน 8 ประเภทใหญ ไดแก<br />

1. ภาษีเงินได (Income Taxes)<br />

2. ภาษีหมุนเวียน (Turnover Taxes)<br />

3. ภาษีทรัพยสิน (Property Taxes)<br />

4. ภาษีทรัพยากร (Resource Taxes)<br />

5. ภาษีพฤติกรรม (Behavioral Taxes)<br />

6. ภาษีสําหรับวัตถุประสงคพิเศษ (Special Purpose Taxes)<br />

7. ภาษีเกษตรกรรม (Agriculture Taxes)<br />

8. ภาษีศุลกากร (Customs Duties)<br />

โดยภาษีที่เกี่ยวของกับการประกอบกิจการหรือการบริโภคสินคายานยนตแสดงดังตารางที่ 4-1<br />

ตารางที่ 4-1 แสดงอัตราภาษีที่เกี่ยวของกับการประกอบกิจการหรือการบริโภคสินคายานยนตของ<br />

ประเทศจีน<br />

ประเภทภาษี ประเภทเงินได อัตราภาษี<br />

ภาษีเงินได 1. ภาษีเงินไดนิติบุคคล<br />

ภาษีเงินไดวิสาหกิจทุนจีนและวิสาหกิจทุน 25 %<br />

ตางชาติกําหนดในอัตราที่เปนมาตรฐานเดียวกัน เวนแต<br />

(1) ภาษีเงินไดวิสาหกิจขนาดเล็ก 20 %<br />

(2) ภาษีเงินไดวิสาหกิจที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับ 15 %<br />

เทคโนโลยีระดับสูงในรายการที่รัฐบาลกําหนด<br />

2. ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา<br />

กําหนดในอัตรากาวหนา 9 ระดับ<br />

(1) กรณีรายไดจากเงินเดือน คาแรง 5-45 %<br />

(2) กรณีรานคาเอกชนที่มีรายไดจากการผลิต การคา<br />

และการประกอบการเชาเหมากิจการ<br />

5-35 %<br />

3<br />

ที่มา: Beijing Local Taxation Bureau http://english.tax861.gov.cn/zgszky/zgszky28.htm<br />

4 - 14


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ประเภทภาษี ประเภทเงินได อัตราภาษี<br />

ภาษีหมุนเวียน 1. ภาษีมูลคาเพิ่มการขายสินคาหรือใหบริการ (VAT)<br />

(1) การสงออกสินคา (เวนแตสินคาที่สํานัก 0 %<br />

นายกรัฐมนตรีประกาศใหตองเสียภาษีในอัตรา<br />

ที่กําหนดเปนการเฉพาะ)<br />

(2) การใหบริการและการจําหนายสินคาทั่วไป 17 %<br />

2. ภาษีบริโภค (ภาษีสรรพสามิต)<br />

(1) น้ํามันเบนซินไรสารตะกั่ว 0.20 หยวน/ลิตร<br />

(2) น้ํามันดีเซล 0.10 หยวน/ลิตร<br />

(3) ยางรถยนต 10<br />

(4) รถจักรยานยนต 10 %<br />

(5) รถยนต 3- 8 %<br />

3. ภาษีธุรกิจ<br />

รายไดจากการใหบริการ การรับจาง การโอน 3 - 5%<br />

ทรัพยสินที่ไมมีรูปราง การขายอสังหาริมทรัพย<br />

ยกเวน กิจการบันเทิงและสถานเริงรมย 5 - 20 %<br />

ภาษีทรัพยสิน 1. ภาษีโรงเรือน 1.2 หรือ 12 %<br />

2. ภาษีการใชที่ดินในเมือง 0.3-10 หยวน / ตร.ม.<br />

ภาษีทรัพยากร ภาษีทรัพยากร<br />

(1) น้ํามันปโตรเลียม 8 - 30 หยวน / ตัน<br />

(2) กาซธรรมชาติ 2-15 หยวน / พันลบ.ซม.<br />

(3) ถานหิน 0.3 - 5 หยวน / ตัน<br />

(4) อโลหะ 0.5 - 20 หยวน / ตัน<br />

(5) โลหะดํา 2 - 30 หยวน / ตัน<br />

(6) โลหะ 0.4 – 30 หยวน / ตัน<br />

ที่มา: วิบูลย ตั้งกิตติภรณ, ศูนยความรูเพื่อการคาและการลงทุนกับจีน http://www.chineselawclinic.moc.go.th/<br />

4 - 15


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ตารางที่ 4-2 แสดงโครงสรางภาษีสรรพสามิตสินคายานยนตของไทยและจีน<br />

รายการสินคา ความจุกระบอกสูบ จีน ไทย<br />

ยางรถยนต 3% -<br />

รถจักรยานยนต 10% 2 จังหวะ = 5%<br />

4 จังหวะ = 3%<br />

รถยนตนั่ง ≤ 1,000 CC 3% 30%<br />

1,000 - 1,500 CC 5% 30%<br />

1,500 - 2,000 CC 5% 30%<br />

2,000 - 2,500 CC 8% 35%<br />

2,500 - 3,000 CC 8% 40%<br />

3,000 - 4,000 CC 8% 50%<br />

> 4,000 CC 8% 50%<br />

รถโดยสาร/รถบรรทุก 5% 30-50%<br />

ที่มา : กรมสรรพสามิต, วิบูลย ตั้งกิตติภรณ, ศูนยความรูเพื่อการคาและการลงทุนกับจีน<br />

ตารางที่ 4-3 แสดงโครงสรางภาษีการใชยานยนตของไทยและจีน<br />

รายการ ประเภท จีน ไทย<br />

ภาษีการใชรถยนต รถยนตนั่ง 60 – 320 หยวน/ป<br />

(288 – 1,536 บาท/ป)<br />

รถบรรทุก<br />

รถจักรยานยนต<br />

16 – 60 หยวน/ตัน/ป<br />

(77 – 288 บาท/ตัน/ป)<br />

20 – 80 หยวน/ตัน/ป<br />

(96 – 384 บาท/ตัน/ป)<br />

ภาษีใบขับขี่ รถยนตนั่ง 60 – 320 หยวน/ป<br />

(77 – 288 บาท/ป)<br />

รถบรรทุก<br />

รถจักรยานยนต<br />

16 – 60 หยวน/ตัน/ป<br />

(77 – 288 บาท/ตัน/ป)<br />

20 – 80 หยวน/ตัน/ป<br />

(96 – 384 บาท/ตัน/ป)<br />

หมายเหตุ : 1 หยวนเทากับ 4.8 บาท<br />

ที่มา : กรมขนสงทางบก, http://english.tax861.gov.cn/zgszky/zgszky19.htm<br />

4 - 16<br />

1,350 – 6,900 บาท/ป<br />

300 – 4,050 บาท/ป<br />

100 บาท/ป<br />

100 บาท/ป<br />

100 – 300 บาท/ป<br />

50 บาท/ป


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ตารางที่ 4-4 แสดงการเปรียบเทียบนโยบายการใหสิทธิพิเศษดานการลงทุนของเขตพัฒนาพิเศษตางๆในจีน<br />

ประเภทภาษี (อัตราภาษี) นิคมพัฒนาทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี<br />

นิคมพัฒนาอุตสาหกรรมที่ใช<br />

เทคโนโลยีขั้นสูง<br />

นิคมสินคาทัณฑบน นิคมแปรรูปเพื่อการสงออก<br />

ภาษีเงินไดนิติ<br />

บุคคล<br />

ลงทุนดานการผลิต บริษัทตางชาติที่ไดประกอบกิจการสิบปขึ้นไป ไดรับการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลในชวงสองปแรก และลดครึ่งหนึ่งในสามปตอมานับตั้งแต<br />

ปที่มีผลกําไร จากนั้นชําระรอยละ 15 (ปกติรอยละ 30) และยังไดรับยกเวนภาษีเงินไดทองถิ่นรอยละ 3<br />

ลงทุนดานเทคโนโลยี เชนเดียวกับกรณีแรก ไดรับการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลในชวงสองปแรก และลดครึ่งหนึ่งในสามปตอมานับตั้งแตปที่มีผลกําไร จากนั้น<br />

ชําระรอยละ 10 (ปกติรอยละ 30) และยังไดรับยกเวนภาษีเงินไดทองถิ่นรอยละ 3<br />

การผลิตเพื่อสงออก สําหรับบริษัทที่มีสัดสวนการสงออกมากกวารอยละ 70 ของการผลิตในแตละป ไดรับการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลในชวงสองปแรก และลด<br />

ครึ่งหนึ่งในสามปตอมานับตั้งแตปที่มีผลกําไรจากนั้น ชําระรอยละ 10 (ปกติรอยละ 30) และยังไดรับยกเวนภาษีเงินไดทองถิ่นรอยละ 3<br />

ภาษีมูลคาเพิ่ม อัตราปกติ - รอยละ 0 สําหรับสินคาสงออก<br />

(VAT)<br />

- รอยละ 13 สําหรับการผลิตสินคาที่ไดรับลดหยอนจํานวน 19 ประเภท (เกษตรกรรม เปนตน)<br />

- รอยละ 17 สําหรับการผลิตสินคาทั่วไป<br />

ภาษีศุลกากร สําหรับอุปกรณและชิ้น สําหรับอุตสาหกรรมที่จัดอยูในขายที่ไดรับการสงเสริม<br />

ไดรับการยกเวนภาษี<br />

และ<br />

ภาษีมูลคาเพิ่ม<br />

สวนอะไหลที่นํามาใชเอง<br />

สําหรับเครื่องใชในสํานักงาน<br />

ไดรับการยกเวนภาษี<br />

ไมไดรับยกเวนภาษี ไดรับการยกเวนภาษี<br />

(VAT) สําหรับวัตถุดิบและชิ้นสวน ไดรับการยกเวนภาษี เฉพาะกรณีนําเขาเพื่อการผลิตสําหรับสงออกเทานั้น ไดรับการยกเวนภาษี<br />

กรณีนําสินคาสําเร็จรูปที่ผลิต<br />

โดยวัตถุดิบปลอดภาษี ไป<br />

จําหนายภายในประเทศ<br />

สินคาสําเร็จรูปที่จําหนายในประเทศ ตองชําระภาษีมูลคาเพิ่ม วัตถุดิบและชิ้นสวนที่<br />

นําเขาเทานั้นที่ตองชําระ<br />

ภาษีมูลคาเพิ่ม<br />

สินคาสําเร็จรูปที่จําหนายใน<br />

ประเทศต องชํ าระภาษี<br />

มูลคาเพิ่ม<br />

4 - 17


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ประเภทภาษี (อัตราภาษี)<br />

การคืนภาษีมูลคาเพิ่มสินคาสําเร็จรูปที่ผลิตจาก<br />

วัตถุดิบภายในประเทศ<br />

การกําหนดอัตราสวนระหวางการสงออกและการ<br />

จําหนายภายในประเทศ<br />

การวางเงินประกัน (สําหรับบริษัทที่นําเขาเพื่อการ<br />

ผลิตและสงออก)<br />

ภาษีอสังหาริมทรัพย<br />

สิทธิประโยชนทางภาษี<br />

สําหรับการลงทุนซ้ําจากกําไรสุทธิ<br />

ที่มา: อักษรศรี พาณิชสาสน (2549)<br />

นิคมพัฒนาทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี<br />

นิคมพัฒนาอุตสาหกรรมที่ใช<br />

เทคโนโลยีขั้นสูง<br />

นิคมสินคาทัณฑบน นิคมแปรรูปเพื่อการสงออก<br />

คืนภาษีเมื่อขนสงสินคาออกจากประเทศจีน คืนภาษีทันทีเมื่อนําวัตถุดิบ<br />

ภายใน ประเทศเขาเขตฯ<br />

กําหนดโดยผูลงทุนตามระยะเวลาที่บริษัทตองดําเนินตามแนวปฏิบัติทาง ไมมีขอบังคับ โดยปกติ แตละเขตฯ จะมี<br />

อุตสาหกรรมของประเทศจีน และไมรวมอยูในกลุมที่ตองขอหนังสืออนุญาตการ<br />

ขอกําหนดแตกตางกันไป<br />

สงออกและการบริหารโควตา<br />

การจัดแบงประเภทของบริษัทออกเปน 4 ประเภท ไดแก ประเภท A, B, C และ ไมไดนํามาใช<br />

D<br />

ไดรับการยกเวนภาษีเปนระยะเวลาสามป สวนบริษัทดานเทคโนโลยี ไดรับการ<br />

ยกเวนภาษีเปนระยะเวลาหาปหลังจากนั้น เรียกเก็บรอยละ 1.2 ตอป<br />

บริษัทที่นํากําไรสุทธิมาลงทุนซ้ําในกิจการเดิมหรือกิจการใหม จะไดรับเงินคืน<br />

ภาษีเงินไดนิติบุคคลรอยละ 40 ของสวนกําไรสุทธิจากการลงทุนในระยะเวลาหา<br />

ป และรอยละ 100 จากการลงทุนมากกวาสิบปขึ้นไป<br />

บริษัทดานเทคโนโลยี<br />

ไดรับการยกเวนภาษีเปน<br />

ระยะเวลาหาปหลังจากนั้น<br />

เรียกเก็บรอยละ 1.2 ตอป<br />

ไดรับการยกเวนภาษีเปน<br />

ระยะเวลา 3 ป สวนบริษัท<br />

ดานเทคโนโลยี ไดรับการ<br />

ยกเวนภาษีเปนเวลา 5 ป<br />

4 - 18


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.1.4 นโยบายดานพลังงานทดแทนในรถยนต<br />

4.1.4.1 แนวโนมการผลิตพลังงานของจีน 4<br />

จากรายงานของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) และจากการประเมินของรัฐบาลจีน<br />

ปริมาณพลังงานของจีนจะมีอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยตอประหวางรอยละ 2.6 และ 3.1 ซึ่งแหลง<br />

พลังงานสําคัญจะยังคงเปนถานหิน แมจะคาดวาสวนแบงโดยรวมจะลดลง สวนแหลงพลังงานจาก<br />

น้ํามัน คาดวาจะเพิ่มสูงขึ้น แตสวนแบงโดยรวมจะลดลง นอกจากนี้ แหลงพลังงานอื่นๆ เชน กาซ<br />

ธรรมชาติ น้ํา นิวเคลียร รวมถึงพลังงานหมุนเวียนก็คาดวาจะเพิ่มสัดสวนขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

ในอีก 20 ป คาดวา ปริมาณพลังงานจากแหลงพลังงานทุกประเภทจะเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง<br />

โดยเฉพาะพลังงานจากถานหินและน้ํามันจะเพิ่มขึ้นกวาสองเทา พลังงานจากกาซธรรมชาติจะ<br />

เพิ่มขึ้นกวาหาเทา พลังงานจากน้ําและนิวเคลียรเพิ่มขึ้นกวาสี่เทา ขณะที่พลังงานหมุนเวียนจะเพิ่มถึง<br />

สองรอยเทา สําหรับแหลงพลังงานไฟฟา ในอีก 20 ปขางหนา แนวโนมของปริมาณพลังงานไฟฟา<br />

ทั่วทั้งประเทศจะเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยรอยละ 5.5 ตอป<br />

4.1.4.2 นโยบายสรางความมั่นคงดานพลังงาน 5<br />

รัฐบาลจีนตระหนักถึงแนวโนมปญหาการขาดแคลนพลังงานของประเทศ โดยเฉพาะ<br />

ปญหาน้ํามัน จึงไดดําเนินนโยบายและมาตรการสําคัญในการปองกันและสรางความมั่นคงดาน<br />

พลังงาน ดังนี้<br />

1. แสวงหาแหลงพลังงานใหมภายในประเทศ และรณรงคสรางจิตสํานึกใหกับคนจีนรวมกัน<br />

ประหยัดพลังงาน<br />

2. แสวงหาแหลงพลังงานทางเลือกอื่นๆ ทดแทนน้ํามัน เชน การสงเสริมการใชกาซธรรมชาติ<br />

เหลว เอทานอลที่ผลิตจากขาวโพด การสรางโรงงานผลิตไฟฟาจากพลังงานลมในมณฑล<br />

เจอเจียง (Zhejiang) และการตั้งโรงงานไฟฟาพลังแสงอาทิตยในมณฑลชิงไห (Qinghai) 39<br />

แหง<br />

เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการใชกาซธรรมชาติเหลว รัฐบาลจีนมีมาตรการยกเวน<br />

ภาษีนําเขาเครื่องจักรและอุปกรณที่ใชกาซเปนเชื้อเพลิง และปลอยเงินกูใหกับโครงการที่<br />

เกี่ยวกับกาซธรรมชาติเหลวโดยไมคิดดอกเบี้ย<br />

4<br />

ที่มา: อุตสาหกรรมพลังงานจีน โดยดร.อักษรศรี พานิชสาสน (2550)<br />

5<br />

ที่มา: อุตสาหกรรมพลังงานจีน โดยดร.อักษรศรี พานิชสาสน (2550)<br />

4 - 19


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ในป ค.ศ. 2007 มีรถยนตในจีนที่ใชเอ็นจีวีเปนเชื้อเพลิงแลวประมาณ 250,000 คัน<br />

หรือคิดเปนรอยละ 50 ของรถยนตที่ใชพลังงานสะอาด และในป 2010 จะมีรถยนตมาใช<br />

เอ็นจีวี 500,000 คัน และมีสถานีบริการเอ็นจีวีเพิ่มกวา 1,000 แหง เฉพาะในมหานครปกกิ่ง<br />

(Beijing) รัฐบาลจีนตั้งเปาจะเพิ่มสถานีเอ็นจีวีอีก 60 แหง จากเดิมที่มีอยู 33 แหง และเพิ่ม<br />

จํานวนรถโดยสาร (Bus) ที่จะใชเอ็นจีวีเปน 5,000 คัน จากปจจุบันมีรถบัสใชเอ็นจีวี<br />

ประมาณ 1,500 คัน คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 70 ของรถโดยสาร (Bus) ในจีน<br />

3. ลดการพึ่งพาการนําเขาน้ํามันจากตะวันออกกลาง เนื่องจากความไมแนนอนของปญหาทาง<br />

การเมืองในตะวันออกกลาง เชน ความขัดแยงระหวางสหรัฐและอิรัก จีนจึงพยายาม<br />

แสวงหาแหลงพลังงานอื่นทดแทนเพื่อสรางหลักประกันดานพลังงาน เชน อินโดนีเซีย<br />

รัสเซีย อิหราน อารเจนตินา แองโกลาและคองโก<br />

4. ใชเครื่องมือทางการทูต การบริหารนโยบายตางประเทศ และการเจรจากับประเทศตางๆ<br />

เพื่อเปาหมายสรางความมั่นคงดานพลังงาน เชน เดือนมิถุนายน 2004 จีนไดเสนอการทํา<br />

ขอตกลงเปดการคาเสรี (Free Trade Agreement: FTA) รวมกับสภาความรวมมือแหงอาว<br />

เปอรเซีย ไดแก ซาอุดีอาระเบีย คูเวต โอมาน บาหเรน กาตาร และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส<br />

นอกจากนี้ จีนและประเทศในเอเชียกลาง ไดรวมกันกอตั้งองคการความรวมมือเซี่ยงไฮ (จีน<br />

รัสเซีย คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน คีรกีซสถาน และอุซเบกิสถาน) เพื่อเปนจุดเชื่อมตอความ<br />

รวมมือ ดานพลังงาน เปนตน เพื่อสรางความสัมพันธกับประเทศที่มีแหลงน้ํามัน ผูนําจีนได<br />

เดินทางไปเยือนประเทศ ตางๆ ในแอฟริกา ละตินอเมริกา ตะวันออกกลาง รวมทั้ง<br />

อารเจนตินา บราซิล และคิวบา และมีการลงนามความรวมมือดานพลังงานหลายฉบับ<br />

จีนกําหนด “แผนพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานใหม” ขึ้น โดยแผนพัฒนาฉบับนี้<br />

กําหนดระยะเวลาตามแผนไวตั้งแตป ค.ศ. 2011 – 2020โดยจะเพิ่มการลงทุนทั้งสิ้น 5 ลาน<br />

ลานหยวน<br />

“แผนพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานใหม” กําหนดแนวทาง ขนาดและนโยบาย<br />

สําคัญของการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานใหมไวอยางเปนรูปธรรม โดยไดกําหนดจะ<br />

พัฒนาพลังงานพลังงานนิวเคลียร พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย ถานหินสะอาด<br />

พลังงานความรอนใตพิภพ แกสธรรมชาติชนิดพิเศษ โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ พลังงาน<br />

รถยนตชนิดใหม พลังงานความรอนใตพิภพ ตลอดชวงระยะเวลาสิบป ตั้งแตป ค.ศ. 2011 –<br />

2020<br />

4 - 20


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

จากการคาดการณเบื้องตนพบวา หลังจากแผนพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานใหม<br />

เริ่มใชแลว เมื่อถึงป ค.ศ. 2020 ประเทศจีนจะสามารถลดการพึ่งพาการใชถานหินได<br />

รวมทั้งลดการปลอยกาซซัลเฟอรไดออกไซดและกาซคารบอนไดออกไซดได 7.8 ลานตัน<br />

และ 1.2 พันลานตันตามลําดับ ทั้งนี้ ภายในระยะเวลาสิบปของแผนพัฒนาจะมีการลงทุน<br />

สะสม 5 ลานลานหยวน มีการเพิ่มมูลคาอุตสาหกรรมปละ 1.5 ลานลานหยวน สามารถ<br />

สรางงาน 15 ลานตําแหนง โดยสรุปแลว แผนพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานใหมจะชวย<br />

ผลักดันการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการพัฒนา ขยายการบริโภคในประเทศ และกระตุน<br />

ใหเกิดการจางงาน”<br />

6<br />

4.1.4.3 นโยบายดานพลังงานทดแทนในรถยนต<br />

กุมภาพันธ 2552 กระทรวงพาณิชยและกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของจีนประกาศ<br />

ทดลองนํารองพัฒนารถยนตประหยัดพลังงานและรถยนตพลังงานใหมที่เมือง<br />

ตาง ๆ ของจีน 13 แหง ไดแก กรุงปกกิ่ง (Beijing) นครเซี่ยงไฮ (Shanghai) นคร<br />

ฉงชิ่ง (Chongqing) เมืองฉางชุน (Changchun) และเมืองตาเหลียน (Dalian) เปน<br />

ตน โดยการสนับสนุนใหหนวยงานบริการสาธารณะ ซึ่งรวมถึง การขนสง<br />

มวลชน รถแท็กซี่ รถในหนวยงานราชการ รถที่ใชในกิจการอนุรักษสิ่งแวดลอม<br />

และสุขอนามัย ตลอดจนการขนสงทางไปรษณีย เปนหนวยงานนํารองที่ใช<br />

รถยนตประหยัดพลังงานและรถยนตพลังงานใหม ดวยการอาศัยนโยบาย<br />

ทางการคลังที่ใหการชดเชยแกหนวยงานที่เกี่ยวของในการสั่งซื้อและใชรถยนต<br />

พลังงานใหมนี้<br />

มีนาคม 2552 ในแผนการปรับปรุงและพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนตฉบับใหมกําหนดวา<br />

พยายามพัฒนาใหการผลิตและการจําหนายรถยนตพลังงานไฟฟามีขนาด<br />

พอสมควร โดยปรับปรุงและพัฒนาขีดความสามารถดานการผลิตใหสูงขึ้น เพื่อ<br />

บรรลุเปาหมายการผลิตรถยนตไฟฟา รถยนตพลังงานผสมที่ชารตแบตเตอรี่ได<br />

และรถยนตพลังงานใหมแบบธรรมดาใหได 5 แสนคันตอป<br />

สิงหาคม 2552 กระทรวงอุตสาหกรรมสารสนเทศแหงชาติจีนประกาศระเบียบการอนุมัติและ<br />

การบริหารผลิตภัณฑของวิสาหกิจพลังงานใหม และกําหนดหลักเกณฑรถยนต<br />

พลังงานใหมอยางชัดเจน โดยครอบคลุมถึง รถยนตพลังงานผสม รถยนต<br />

6<br />

ที่มา: ศูนยขอมูลธุรกิจไทยในจีน ณ นครเซี่ยงไฮ<br />

4 - 21


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ธันวาคม 2552<br />

มิถุนายน 2553<br />

สิงหาคม 2553<br />

พลังงานไฟฟา ซึ่งรวมทั้งรถยนตพลังงานแสงอาทิตย รถยนตเซลลเชื้อเพลิง<br />

รถยนตพลังงานไฮโดรเจน และรถยนตที่ใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพสูงอื่นๆ<br />

จีนไดขยายขอบเขตการทดลองนํารองการใชรถยนตประหยัดพลังงานและ<br />

รถยนตพลังงานใหมใหกวางขวางขึ้น จากเดิม 13 เมืองเพิ่มขึ้นเปน 20 เมือง และ<br />

สนับสนุนใหเอกชนซื้อรถยนตพลังงานใหมโดยใหการชดเชยทางภาษี ซึ่งไดเริ่ม<br />

ดําเนินการแลวใน 5 เมือง คือ ที่นครเซี่ยงไฮ (Shanghai) เมืองหางโจว<br />

(Hangzhou) เมืองฉางชุน (Changchun) เมืองเซินเจิ้น (Shenzhen) และเหอเฝย<br />

(Hefei) กลาวคือ รัฐบาลจีนออกมาตรการใหเงินสนับสนุนแกประชาชนที่ซื้อ<br />

รถยนตคันใหมแทนที่รถยนตคันเกาที่สรางมลภาวะสูง ในวงเงินตั้งแต 3,000 –<br />

6,000 หยวน และตอมาไดขยายวงเงินอุดหนุนเปน 18,000 หยวน โดยมาตรการ<br />

นี้มีกําหนดระยะเวลา 1 ป เริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน 2552 ถึงเดือนมิถุนายน 2553<br />

กระทรวงการคลัง กระทรวงวิทยาศาสตร กระทรวงอุตสาหกรรมและ<br />

สารสนเทศ และคณะกรรมการพัฒนาและปฏิรูปแหงชาติ รวมมือกันจัดตั้ง<br />

“โครงการใหเงินอุดหนุนแกผู ซื้อรถยนตที่ใชพลังงานสีเขียว” โดยมี<br />

วัตถุประสงคเพื่อลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด โครงการนี้จะใหเงิน<br />

อุดหนุนแกผูผลิตรถยนตโดยตรง โดยหากเปนเครื่องยนตไฮบริดจะไดรับเงิน<br />

อุดหนุนไมเกิน 50,000 หยวน และเครื่องยนตไฟฟาจะไดรับเงินอุดหนุนไมเกิน<br />

60,000 หยวน โครงการนี้ดําเนินการที่เมืองหังโจว (Hangzhou) เมืองเหอเฝย<br />

(Hefei) ในมณฑลอันฮุย (Anhui) เมืองฉางชุน (Changchun) ในมณฑลจี๋หลิน<br />

(Jilin) และมหานครเซี่ยงไฮ (Shanghai)<br />

อยางไรก็ตาม เพื่อสนับสนุนใหผูใชรถยนตในเมืองเซินเจิ้น (Shenzhen)<br />

ลดการปลอยมลพิษมากยิ่งขึ้น รัฐบาลแหงเมืองเซินเจิ้นจะเพิ่มเงินอุดหนุนใหกับ<br />

รถยนตไฮบริดอีก 30,000 หยวน และสําหรับรถยนตไฟฟาอีก 60,000 หยวน<br />

นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2553 เมืองเซินเจิ้นยังไดเปดใหบริการสถานี<br />

ชารจแบตเตอรี่อีกสองแหง รวมทั้งเปดดําเนินการจุดจายไฟใหแกรถยนตไฟฟา<br />

อีก 134 แหง<br />

รัฐบาลจีนกําหนดแผนการพัฒนารถยนตพลังงานใหมป ค.ศ. 2011 – 2020 โดย<br />

ใชงบประมาณ 100,000 ลานหยวนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม<br />

รถยนตพลังงานใหม<br />

4 - 22


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ทั้งนี้ แผนการพัฒนาฯ ระบุวา จะมุงพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนตไฟฟาเปน<br />

หลัก พรอมไปกับการพัฒนารถยนตที่ใชเชื้อเพลิงไฮโดรเจนดวย คาดวาป ค.ศ.<br />

2020 ประเทศจีนจะกลายเปนตลาดรถยนตพลังงานใหมที่ใหญที่สุดในโลก<br />

นอกจากนี้ ใน 10 ปขางหนา รัฐบาลจีนวางแผนสนับสนุนการกอตั้ง<br />

วิสาหกิจรถยนตพลังงานใหมรายใหญ 3-5 ราย และวิสาหกิจผลิตชิ้นสวน<br />

รถยนตพลังงานใหมดวย ทั้งนี้ ในการลงทุนของรัฐบาลนั้น จะครอบคลุมถึงการ<br />

พัฒนาทุกๆ ดาน เชน การสนับสนุนในดานทําการศึกษาและวิจัยเทคนิค การ<br />

สนับสนุนในดานโฆษณา การสนับสนุนในการกอสรางสาธารณูปโภคขั้น<br />

พื้นฐานในเมืองตางๆ เปนตน<br />

สวนในดานภาษีนั้น แผนการพัฒนาฯ ระบุวา สําหรับผูซื้อรถยนต<br />

พลังงานใหม จะไมเก็บภาษีการซื้อรถยนตและภาษีบริโภค สําหรับผูซื้อรถยนต<br />

ไฮบริด (Hybrid-Electric Vehicle) จะลดภาษีรถยนตรอยละ 50 สวนวิสาหกิจ<br />

รถยนตพลังงานใหมที่เกี่ยวของ จะไดรับสิทธิพิเศษในดานภาษีเงินไดนิติบุคคล<br />

ดวย<br />

กันยายน 2553 7 วอลลสตรีท เจอรนัล อางแหลงขาวระดับบริหารที่ไมเปดชื่อของผูผลิตรถยนต<br />

ตางชาติ 4 ราย ระบุวา ประเทศจีนมีแผน 10 ปใหจีนเปนผูนําโลกดานการผลิต<br />

รถไฟฟา (EV: Electric Vehicles) และรถไฮบริด ดวยเงินลงทุนจํานวน 1 แสน<br />

ลานหยวน เพื่อสรางระบบสถานีบริการเติมประจุรถ EV และบริการพื้นฐาน<br />

อื่นๆที่จําเปน และรางกฎหมายดังกลาว จะผลักดันใหผูผลิตตางประเทศตองเขา<br />

รวมทุนกับผูผลิตจีนในสัดสวนไมเกินรอยละ 49 ซึ่งถือเปนการกดดันใหผูผลิต<br />

ตางชาติ ตองถายทอดเทคโนโลยีการผลิตแกผูผลิตชาวจีน<br />

แผนระยะ 5 ปแรก กําหนดใหมีการผลิตไฟฟาและรถไฮบริดรวม 5 แสน<br />

คัน และตองมีอัตราการกินน้ํามัน 16 กิโลเมตรตอลิตร และภายในป ค.ศ. 2020<br />

ตองผลิตรถได 5 ลานคัน และมีอัตราการกินน้ํามัน 22 กิโลเมตรตอลิตร<br />

7<br />

ที่มา:<br />

(1) “จีนตั้งเปาผลิตรถอีวี+ไฮบริด 5 ลานคันใน 10 ป”หนังสือพิมพขาวหุน วันที่ 23 กันยายน 2553<br />

(2) “คิดใหม 154: ‘ยุทธศาสตรตลาดแลกเทคโนโลยี’ จีนมองยาวดันอุตสาหกรรมยานยนต” หนังสือพิมพ<br />

สยามรัฐ วันที่ 21 กันยายน 2553<br />

(3) “วูฮั่นไดเปนฐานการผลิตรถอีวีของจีน” หนังสือพิมพขาวหุน วันที่ 14 กันยายน 2553<br />

4 - 23


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

แผนดังกลาวยังมีเปาหมายผลักดันผูผลิตรถยนตจีนจํานวน 5 แหง และ<br />

ผูผลิตชิ้นสวนจํานวน 3 แหง ใหสามารถแขงขันในตลาดรถยนตไฟฟาและ<br />

ไฮบริดไดในระดับโลก ภายในป ค.ศ. 2020<br />

ทั้งนี้ กระทรวงอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีของจีนสงรางแผนดังกลาว<br />

ใหหนวยงานภาครัฐอื่นๆ และผูผลิตรถยนตของรัฐบาลจีนบางแหงพิจารณาเพื่อ<br />

ขอความคิดเห็น และหากไมมีการคัดคาน รัฐบาลจีนจะดําเนินตามนโยบายนี้ใน<br />

เดือนตุลาคม ค.ศ. 2010<br />

นอกจากนี้ รัฐบาลทองถิ่นเมืองวูฮั่น ไดประกาศแผนการลงทุนมูลคา 3<br />

พันลานหยวน เพื่อสรางฐานการผลิตรถยนตไฟฟา โดยทําขอตกลงกับบริษัท<br />

ผูพัฒนาเทคโนโลยีผลิตรถไฟฟาชื่อ ไชนาอิเล็กทริก เวฮิเคิล เพื่อสรางโรงงาน<br />

พัฒนารถไฟฟา ดวยกําลังการผลิต 3 พันคัน และแผงกําเนิดไฟแบตเตอรี่ 3 พัน<br />

ชุดตอป ใหพรอมผลิตไดภายใน 2 ปอีกดวย<br />

4 - 24


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.1.5 นโยบายอื่นๆที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยานยนต<br />

กุมภาพันธ 2553 8<br />

กระทรวงการคลังจีน สํานักงานบริหารจัดการกิจการสํานักนายกรัฐมนตรีจีน<br />

(Government Office Administration of the State Council) และหนวยงานอื่นๆ<br />

หารือถึงการปรับเปลี่ยนนโยบายในการซื้อรถยนตของหนวยงานรัฐบาลจีนที่ใช<br />

ในงานทั่วไป โดยจะกําหนดคุณภาพและราคาในระดับที่ต่ําลง เพื่อใหรถยนต<br />

แบรนดจีนมีโอกาสที่จะไดรับสวนแบงในตลาดรถยนตของหนวยงานรัฐบาลจีน<br />

มากขึ้น โดยทางการจีนไดกําหนดเปาหมายที่จะใหมีรถยนตแบรนดจีนใน<br />

หนวยงานรัฐบาลในสัดสวนรอยละ 50 ทั้งนี้ ทางการจีนไดตัดสินใจปรับลด<br />

ขนาดเครื่องยนตของรถยนตหนวยงานรัฐบาลจาก 2.0 ลิตร เหลือ 1.8 ลิตร และ<br />

ปรับลดระดับราคาจาก 250,000 หยวน เหลือ 160,000 หยวน<br />

อยางไรก็ตาม รถยนตแบรนดจีนนั้นเริ่มมีใหเห็นในหนวยงานรัฐบาล<br />

จีนมากกอนหนานี้แลว เพียงแตจํานวนการใชยังคอนขางนอยเมื่อเทียบกับ<br />

รถยนตแบรนดตางชาติ นอกจากนี้ การปรับเปลี่ยนนโยบายในการซื้อรถยนต<br />

ของทางการจีนครั้งนี้ก็ไมใชครั้งแรก เมื่อป ค.ศ. 2007 ทางการจีนเคยประกาศ<br />

นโยบายสนับสนุนการซื้อรถยนตแบรนดจีนมาแลว แตอัตราเพิ่มยังคงไมนา<br />

พอใจนัก<br />

8<br />

ที่มา: ศูนยขอมูลธุรกิจไทยในจีน ณ กรุงปกกิ่ง วันที่ 24 กุมภาพันธ 2553<br />

4 - 25


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.1.6 มาตรฐานบังคับที่เกี่ยวของกับรถยนต9<br />

(1) มาตรฐานการปลอยมลพิษ (China National Vehicle Pollutant Emission Standards)<br />

ประเภทรถ ชื่อมาตรฐาน เลขที่มาตรฐาน<br />

รถเพื่อการพาณิชยขนาด<br />

เล็กทั้งเครื่องยนตเบนซิน<br />

และดีเซล<br />

รถเพื่อการพาณิชยขนาด<br />

ใหญ ที่ ใช เครื่ องยนต<br />

เบนซิน<br />

รถเพื่อการพาณิชยขนาด<br />

ใหญที่ใชเครื่องยนตดีเซล<br />

รถจักรยานยนตทั้งรถใช<br />

น้ํามันและไฟฟา<br />

หมายเหตุ<br />

รถใชน้ํามัน = MC<br />

รถใชไฟฟา = Mopeds<br />

China 1:<br />

China 2:<br />

China 3/4:<br />

Idling emissions:<br />

Exhaust smoke:<br />

รถสามลอ China 1/2:<br />

Smoke:<br />

China 1/2:<br />

China 3/4:<br />

Crankcase emissions:<br />

Evaporative emissions:<br />

Idling emissions:<br />

Emissions control durability:<br />

China 1/2:<br />

China 3/4/5:<br />

Exhaust smoke:<br />

China 1/2 (MC):<br />

China 3 (MC):<br />

China 1/2 (mopeds):<br />

China 3 (mopeds):<br />

Evaporative emissions:<br />

Idling emissions:<br />

Exhaust smoke:<br />

GB18352.1-2001<br />

GB18352.2-2001<br />

GB18352.3-2005<br />

GB18285-2005<br />

GB3847-2005 (เฉพาะดีเซล)<br />

GB14762-2002<br />

GB14762-2008<br />

GB11340-2005<br />

GB14763-2005<br />

GB18285-2005<br />

GB20890-2007 (รวมดีเซล)<br />

GB17691-2001<br />

GB17691-2005<br />

GB3847-2005<br />

GB14622-2002<br />

GB14622-2007 (ตออายุปตอป)<br />

GB18176-2002<br />

GB18176-2007 (ตออายุปตอป)<br />

GB20998-2007<br />

GB14621-2002<br />

GB19758-2005<br />

GB19756-2005<br />

GB18322-2002<br />

9<br />

หมายเหตุ: รายละเอียดของมาตรฐานฉบับเต็ม สามารถดูไดที่ China Standard Online,<br />

http://www.gb168.cn/std/indexpage/index.jsp (แสดงเปนภาษาจีน)<br />

4 - 26


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

(2) มาตรฐานอัตราการกินน้ํามัน (China National Vehicle Fuel Consumption Standards)<br />

(2.1) อัตราการกินน้ํามันขั้นต่ําของรถประเภทตางๆ<br />

ประเภทรถ เลขที่มาตรฐาน<br />

รถยนตนั่งสวนบุคคล (เฟส 1-2) GB19578-2004<br />

รถยนตนั่งสวนบุคคล (เฟส 3) อยูระหวางการพัฒนา<br />

รถเพื่อการพาณิชยขนาดเล็ก GB20997-2007<br />

รถเพื่อการพาณิชยขนาดใหญ อยูระหวางการพัฒนา<br />

รถจักรยานยนตทั้งรถใชน้ํามันและไฟฟา GB15744-2008 และ GB16486-2008<br />

รถสามลอ<br />

GB21377-2008 และ GB21378-2008<br />

(2.2) การติดฉลากแสดงอัตราการกินน้ํามันของรถยนต (เลขที่มาตรฐาน GB22757-2008)<br />

โดยมีรายละเอียดในฉลากแสดงดังรูป<br />

4 - 27


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

(3) มาตรฐานคุณภาพเชื้อเพลิง (China National Fuel Quality Standards)<br />

(3.1) น้ํามันเบนซิน ( Gasoline) เลขที่มาตรฐาน GB17930-1999 GB17930-2004 และ<br />

GB17930-2006<br />

(3.2) น้ํามันดีเซล (Diesel) เลขที่มาตรฐาน GB252-2000 GB/T19147-2003 และ GB19147-<br />

2009<br />

(4) มาตรฐานเฉพาะเมือง ไดแก เมืองปกกิ่ง เซี่ยงไฮ กวางโจว และกวางตุง ซึ่งเกี่ยวกับมาตรฐาน<br />

การปลอยมลพิษ และคุณภาพน้ํามัน<br />

4.1.7 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาและการละเมิดลิขสิทธิ์<br />

4.1.7.1 กฎหมายลิขสิทธิ์และทรัพยสินทางปญญา<br />

10<br />

ขอควรรูเกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์<br />

การคุมครองดานลิขสิทธิ์ของประเทศจีนนั้นไมมีระบบจดทะเบียนลิขสิทธิ์ แตความ<br />

คุมครองจะไดรับทันทีที่เจาของผลงานไดสรางสรรคผลงานนั้นขึ้น แตอยางไรก็ตามการจดทะเบียน<br />

คุมครองลิขสิทธิ์สามารถกระทําไดโดยใหประโยชนแกผูทรง สิทธิ์ในการพิสูจนหากมีการละเมิด<br />

เกิดขึ้น<br />

(1) สิ่งที่ไดรับความคุมครอง<br />

งานอันมีลิขสิทธิ์ใหหมายรวมถึง งานวรรณกรรม ศิลปกรรม วิทยาศาสตรทางธรรมชาติ<br />

สังคมศาสตร เทคโนโลยีวิศวกรรม ซึ่งอยูในรูปแบบของ งานเขียน งานพูด งานดนตรี ละคร การ<br />

แสดงทาทางหรือกายกรรม งานศิลปะและสถาปตยกรรม งานถายภาพ งานภาพยนตร งานที่ไดรับ<br />

การออกแบบทางวิศวกรรมและผลิตภัณฑไดแก แผนที่ ภาพราง งานกราฟฟคและแบบจําลอง<br />

รวมถึงซอฟตแวรคอมพิวเตอรดวย<br />

(2) สิ่งที่ไมถือเปนงานลิขสิทธิ์และไมไดรับการคุมครอง<br />

สิ่งที่ไมถือเปนงานลิขสิทธิ์และไมไดรับการคุมครองไดแก ขอกฎหมาย ขอบังคับ มติ คํา<br />

ตัดสินและคําสั่งของหนวยงานของรัฐ เอกสารที่ออกโดยฝายนิติบัญญัติ บริหาร หรือตุลาการ<br />

นอกจากนั้นขาวและเหตุการณปจจุบัน ปฏิทินตารางและสูตรพื้นฐานทางคณิตศาสตร แบบฟอรม<br />

ทั่วไป ไมจัดเปนงานลิขสิทธิ์ และไมไดรับการคุมครองเชนกัน<br />

10<br />

Copyright Law of the People's Republic of China: ( 中 华 人 民 共 和 国 著 作 权 法 )<br />

4 - 28


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

(3) สิทธิของเจาของลิขสิทธิ์ (ผูทรงสิทธิ)<br />

เจาของลิขสิทธิ์หรือผูทรงสิทธิมีอํานาจในการดําเนินการตามสิทธิที่ไดระบุไวในกฎหมาย<br />

ลิขสิทธิ์แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน (Copyright Law of the People's Republic of China) ซึ่งมี<br />

รายละเอียดที่สําคัญดังนี้<br />

• ผูทรงสิทธิสามารถมอบอํานาจใหองคกรจัดเก็บคาลิขสิทธิ์ซึ่งไมแสวงหากําไรให<br />

ดําเนินการแทน<br />

• ผูทรงสิทธิสามารถโฆษณางานตอสาธารณชน<br />

• ผูทรงสิทธิอางสิทธิความเปนเจาของและขอใหชื่อของตนปรากฏบนงานลิขสิทธิ์<br />

• ผูทรงสิทธิสามารถแกไขหรืออนุญาตใหบุคคลอื่นแกไขงานของตน<br />

• ผูทรงสิทธิมีกรรมสิทธิ์ในการปองกันมิใหบุคคลอื่นบิดเบือนหรือทําใหงานของตนเสื่อม<br />

เสีย<br />

• ผูทรงสิทธิสามารถทําซ้ําสําเนาหนึ่งหรือหลายสําเนาโดยการพิมพ การถายสําเนา การพิมพ<br />

หิน การทําสิ่งบันทึกเสียงหรือภาพ การทําสําเนาสิ่งบันทึก หรือการทําสําเนาภาพถาย หรือ<br />

โดยวิธีการอื่น<br />

• ผูทรงสิทธิสามารถจําหนายหรือทําใหปรากฏตอสาธารณชนซึ่งตนฉบับหรือสําเนาตาง ๆ<br />

ของงาน โดยการขายหรือโอน<br />

• ผูทรงสิทธิสามารถใหบุคคลอื่นเชาโดยมีคาตอบแทนในงานภาพยนตรและคอมพิวเตอร<br />

ซอฟตแวร<br />

• ผูทรงสิทธิสามารถดัดแปลงผลงานของตนเพื่อสรางสรรคงานใหม<br />

• ผูทรงสิทธิสามารถแปลภาษาของผลงานได<br />

• ผูทรงสิทธิสามารถรวบรวมงานตาง ๆ หรือสวนของงานตาง ๆ แลวเรียบเรียงขึ้นเปนงานใหมได<br />

(4) อายุความคุมครองในลิขสิทธิ์<br />

อายุความคุมครองในสิทธิของความเปนเจาของ การแกไข และกรรมสิทธิ์ของผูสรางสรรค<br />

ตามกฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศจีนนั้น ใหมีอายุความคุมครองโดยไมมีระยะเวลาจํากัด และมี<br />

รายละเอียดตามแตกรณีที่สําคัญดังนี้<br />

• ในกรณีบุคคลธรรมดา สิทธิในการโฆษณาและสิทธิบางสวนที่ระบุในกฎหมายลิขสิทธิ์<br />

แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน (Copyright Law of the People's Republic of China : 中 华<br />

人 民 共 和 国 著 作 权 法 ) โดยจะมีอายุความคุมครองตลอดอายุของผูสรางสรรค<br />

4 - 29


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

และตอไปอีก50 ปนับแตผูสรางสรรคถึงแกความตาย และสิ้นสุดลงในวันที่ 31 ธันวาคม<br />

ของปที่ 50<br />

• ในกรณีมีผูสรางสรรครวม ความคุมครองจะสิ้นสุดลงในวันที่ 31 ธันวาคม ของปที่ 50<br />

หลังจากผูสรางสรรครวมคนสุดทายถึงแกความตาย<br />

• ในกรณีนิติบุคคล จะมีอายุความคุมครอง50 ป และสิ้นสุดลงในวันที่ 31 ธันวาคมของปที่<br />

50 หลังจากมีการโฆษณางานเปนครั้งแรก<br />

(5) การโอนสิทธิ<br />

สําหรับการโอนสิทธิในการใชลิขสิทธิ์แกผูอื่นนั้น เจาของงานสามารถอนุญาตใหบุคคลอื่น<br />

ใชสิทธิในงานอันมีลิขสิทธิ์ของตนไดโดยตองทําสัญญาเปนลายลักษณอักษรซึ่งระบุสาระสําคัญ<br />

ไดแก<br />

1. ประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ซึ่งจะอนุญาตใหใชสิทธิ<br />

2. ประเภทของสิทธิที่ใหเปนแบบเด็ดขาดหรือไมเด็ดขาด<br />

3. ขอบเขตแหงการใชสิทธิและเงื่อนไขการใชสิทธิ<br />

4. อัตราคาสิทธิและลักษณะการจายคาสิทธิ<br />

5. ความรับผิดกรณีมีการผิดสัญญา<br />

6. เงื่อนไขอื่น ๆ ที่คูสัญญาเห็นวาเหมาะสม<br />

7. ในกรณีที่สัญญาอนุญาตใหใชสิทธิไมไดระบุรายละเอียดไว การอนุญาตนั้นจะถือวาเปน<br />

การอนุญาตใหใชสิทธิแตเพียงผูเดียว<br />

4.1.7.2 สถานการณการละเมิดทรัพยสินทางปญญาในสินคายานยนตของจีน<br />

ในการแขงขันของอุตสาหกรรมรถยนตในตลาดประเทศจีน ผูผลิตรถยนตตางชาติมีแบรนด<br />

ที่ไดเปรียบมากมาย ในขณะที่ผูผลิตรถยนตในประเทศก็เริ่มมีมากขึ้นและมีเทคนิคในการผลิต<br />

ชิ้นสวนตางๆ ทําใหเปนอุปสรรคในการขยายตลาดของแบรนดสินคาตางชาติ เชนกรณีของ<br />

บริษัทผูผลิตโทรศัพทมือและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสจากตางประเทศที่ตองการยอดขายจํานวนมาก<br />

ในตลาดจีน แตติดปญหาเรื่องทรัพยสินทางปญญาและกฎที่บังคับใหผูผลิตตางชาติตองมีบริษัท<br />

พันธมิตรภายในประเทศ<br />

อยางไรก็ดี แบรนดรถยนตตางชาติยังคงเปนที่นิยมมากวาแบรนดทองถิ่น จากขอมูลการให<br />

สัมภาษณของนายจอช ลี กรรมการผูจัดการของ เกรย เวิลดไวดในปกกิ่ง ซึ่งเปนบริษัทโฆษณากลาว<br />

วา “ผูบริโภคชาวจีนยังคงชื่นชอบแบรนดตางประเทศมากกวา” เนื่องจากผูบริโภคจีนยังคิดวาสินคา<br />

แบรนดทองถิ่นมีสถานะต่ํากวาสินคาของตางชาติ นอกจากนี้ สถานะทางเศรษฐกิจของชาวจีนที่มี<br />

4 - 30


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ประชากรที่รวยที่สุดเพียง 1 เปอรเซ็นต จากทั้งหมด 1.3 พันลานคน ที่สามารถซื้อรถยนตไดซึ่งยิ่ง<br />

เปนการตอกย้ําถึงคุณคาของแบรนดนอก<br />

เจเนอรัลมอเตอรสคอรป ซึ่งเปนผูเลนที่ใหญที่สุดอันดับ 2 ไดทดสอบทฤษฎีนี้โดยการออก<br />

สินคาที่เหมือนซีดานแบรนด Buick ภายใตแบรนดชื่อจีนเพื่อจะดูผลตอบรับจากผูบริโภคทองถิ่น<br />

แตปรากฏวาผูบริโภค 9 ใน 10 คนยังคงเลือกเวอรชั่น Buick ของเดิมเพราะวาเปนแบรนดนอก<br />

โฆษกของจีเอ็มกลาว แบรนดทองถิ่นมีสวนแบงตลาดรถยนตนั่งในประเทศนอยกวา 20 เปอรเซ็นต<br />

และสวนใหญก็แขงขันในตลาดเซ็กเมนตระดับลาง ในขณะที่แบรนดตางชาติทํายอดขายไดทะลุเปา<br />

ในปที่แลวและคาดวาตลาดรถยนตมียอดขายประมาณ 2 ลานคัน ในขณะที่ Geely ทํายอดขายได<br />

ประมาณ 20 เปอรเซ็นต ของเปาที่ตั้งไว 100,000 คัน<br />

ในขณะที่สถานการณการเกิดขอพิพาท หรือการฟองรองการละเมิดลิขสิทธของสินคายาน<br />

ยนต ผูผลิตรถยนตตางชาติมักไมคอยมีโอกาสนัก เมื่อเกิดคดีความกับบริษัททองถิ่นโดยเฉพาะเรื่อง<br />

การละเมิดทรัพยสินทางปญญา (IP) หรือละเมิดลิขสิทธิ์อื่นๆ เชน ในปที่แลว คดีที่โตโยตาฟองรอง<br />

Geely ในขอหาละเมิดลิขสิทธิ์โลโกถูกถอนฟอง ในขณะที่บริษัทผูผลิตรถมินิคาร QQ ของจีนก็<br />

กําลังอยูในระหวางการสืบสวนโดยจีเอ็มซึ่งกังวลวาจะถูกลอกแบบรถรุน Spark เชนเดียวกับ<br />

นิสสันมอเตอรก็เปนอีกรายหนึ่ง โดยบริษัทฟองรอง Great Wall Auto ในขอหาละเมิดลิขสิทธิ์งาน<br />

ออกแบบ<br />

ภาพที่ 4-2 แสดงการละเมิดลิขสิทธิ์โลโกของโตโยตาในตลาดรถยนตจีน<br />

4 - 31


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาพที่ 4-3 แสดงการละเมิดลิขสิทธิ์สินคายานยนตของ GM ตลาดรถยนตจีน<br />

ผูผลิตรถยนตตองพึ่งพาซัพพลายเออร ผลิตชิ้นสวนเปนอยางมากเพื่อใหไดเทคโนโลยีที่<br />

ทันสมัย แตการปองกันทรัพยสินทางปญญาก็เปนปญหาสําหรับผูผลิตชิ้นสวน ซึ่งตองปองกันของ<br />

ผลิตภัณฑไมใหตกไปอยูกับบริษัทพันธมิตรจีนได เชนกรณีของ Delphi ที่นายจินยา เชน ประธาน<br />

ของ Delphi Corp ใหสัมภาษณวา “เราประสบปญหาจากการละเมิดทรัพยสินทางปญญาอยางมาก<br />

เราตองหาพันธมิตรที่ไวใจได”<br />

ดานความคิดเห็นของนายนอรเบิรต วิทเทิลแมนน หัวหนานักวิจัยที่ A.T.Kearney กลาววา<br />

“ผูผลิตรถยนตของจีนเคยเสียเปรียบแตตอนนี้สถานการณเปลี่ยนไปแลว พวกเขาใกลชิดกับลูกคา<br />

มากกวาและมีความเขาใจเรื่องทองถิ่นดีกวา” ถาเมื่อใดที่บริษัททองถิ่นตามทัน บริษัทตางชาติก็จะ<br />

เหลือแตแบรนดเทานั้น บริษัทเหลานี้เนนการสรางความภักดีในแบรนดหลังจากการขาย สําหรับ<br />

ผูผลิตรถยนตจีน การเปนผูชนะในตลาดในประเทศไมใชเพียงเรื่องของธุรกิจ<br />

4 - 32


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.2 นโยบายระหวางประเทศ<br />

ในอดีตประเทศจีนดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจที่มุงเนนการใช “Global supply chain<br />

management” โดยเรงจัดตั้งเขตการคาเสรี (Free Trade Agreement: FTA) กับประเทศในกลุม<br />

อาเซียนทั้งหมด ซึ่งตางจากประเทศมหาอํานาจ เชน สหรัฐอเมริกาหรือญี่ปุน ที่ทํา FTA ในลักษณะ<br />

ทวิภาคี และสงวนสินคาเกษตรเปนสินคาออนไหว ขณะที่จีนใชสินคาเกษตรเปนสินคานํารอง แต<br />

อยางไรก็ตาม การเปดรับระบบการคาเสรีกลับทําใหจีนตองเผชิญกับปญหาการใชมาตรการกีดกัน<br />

การคาที่มิใชภาษี (Non - tariff Barriers: NTBs) ดังนั้นทิศทางนโยบายเศรษฐกิจของจีนในอนาคต<br />

อาจจะเริ่มหันกลับสูภายในประเทศ โดยอาศัยปจจัยภายในเปนตัวกระตุนเศรษฐกิจ<br />

4.2.1 เขตการคาเสรี (FTA) ระหวางประเทศจีน และประเทศตางๆ 11<br />

ปจจุบันประเทศจีนดําเนินนโยบายการเปดเสรีทางการคาทั้งแบบทวิภาคีและพหุภาคี รวม<br />

14 เขตการคาเสรี ภายใตระบบเศรษฐกิจของประเทศที่เปนภาคี 31 เขตเศรษฐกิจ และลงนาม รวมทั้ง<br />

มีผลบังคับใชแลวจํานวน8 กรอบการเจรจา ไดแก<br />

(1) จีน-อาเซียน (เปนเขตการคาที่ใหญลําดับที่ 3 ของโลก รองจาก EU และ NAFTA)<br />

(2) จีน-ปากีสถาน<br />

(3) จีน-เปรู (เปน FTA แรกที่จีนทํากับประเทศในลาตินอเมริกา)<br />

(4) จีน-ชิลี<br />

(5) จีน-สิงคโปร<br />

(6) จีน-นิวซีแลนด (เปน FTA แรกที่จีนทํากับประเทศที่พัฒนาแลว)<br />

(7) จีน-มาเกา<br />

(8) จีน-ฮองกง<br />

โดยความตกลง จีน-มาเกา และ จีน-ฮองกง เปนไปตามนโยบาย 1 ประเทศ 2 ระบบ และ<br />

เปน FTA แบบ EPA: Economic Partnership Agreement ซึ่งครอบคลุมมากกวาการเปดเสรีการคา<br />

และบริการ<br />

11<br />

ที่มา : http://fta.mofcom.gov.cn/english/index.shtml<br />

4 - 33


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สวน FTA ที่กําลังเจรจา มี 6 ความตกลง ไดแก<br />

(1) จีน-กลุมประเทศอาวอาหรับหรือ GCC (เจรจาแลว 5 รอบ)<br />

(2) จีน-ออสเตรเลีย (เจรจามา 13 รอบแลว โดยใช FTA จีน-นิวซีแลนดเปนตนแบบ)<br />

(3) จีน-ไอรแลนด<br />

(4) จีน-นอรเวย (ความตกลงนี้ รวมทั้ง จีน-ไอรแลนด จะนําไปสู FTA กับกลุมประเทศยุโรป<br />

ตอไป)<br />

(5) จีน-คอสตาริกา (เปนประเทศที่จีนเพิ่งมีความสัมพันธการทูตในป ค.ศ. 2007 แตเจรจา FTA<br />

แลว 2 รอบ)<br />

(6) จีน-กลุมแอฟริกาตอนใต (SACU)<br />

FTA ที่กําลังศึกษาและพิจารณาความเปนไปไดในการทํา FTA มี 2 ความตกลง คือ<br />

(1) จีน-อินเดีย (ถาทําสําเร็จจะเปนเขตการคาเสรีที่มีประชากรมากที่สุดในโลก)<br />

(2) จีน-เกาหลีใต<br />

นอกจากนี้ ยังมี FTA ในกรอบกวางที่เปนขอเสนอและแนวคิดกันอยู ไดแก กรอบอาเซียน+<br />

3/+6 และกรอบเอเปค (APEC) การจัดทํา FTA เชิงรุกของจีนจึงเปนเรื่องที่นาติดตาม เพราะเสมือน<br />

จีนไดเปดประตูการคาสูทุกภูมิภาคแลว ยิ่งหากกรอบการคาเสรีอาเซียน+3/+6 และเอเปคสําเร็จก็จะ<br />

ทําใหจีนขยายพื้นที่ความรวมมือดานเศรษฐกิจออกไปยังตลาดหลักของโลก สําหรับเขตการเสรี<br />

ของจีนที่ไดมีการลงนามและมีผลบังคับใช และสงผลตออุตสาหกรรมยานยนตคือ เขตการคาเสรี<br />

อาเซียน-จีน และเขตการคาเสรีจีน-นิวซีแลนด โดยในสวนนี้จะเริ่มกลาวถึงผลของการเขารวม<br />

WTO ตออุตสาหกรรมยานยนต เขตการคาเสรีอาเซียน-จีน และจีน-นิวซีแลนด<br />

4 - 34


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.2.1.1 ผลกระทบของอุตสาหกรรมผลิตรถยนตตอการเขารวม WTO<br />

อุตสาหกรรมผลิตรถยนตของจีนไดรับผลกระทบจากการเขารวมขอตกลงทางการคากับ<br />

องคกรการคาโลก โดยมีผลกระทบที่สําคัญ คือ การแขงขันที่สูงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจาก<br />

ผูประกอบการจากตางประเทศ อีกทั้งยังคงเห็นการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญอยางบางประการ เชน<br />

(1) เกิดการเพิ่มขึ้นและขยายตัวอยางรวดเร็วของผูประกอบการจากตางประเทศ ทําให<br />

ผูประกอบการภายในประเทศรายเล็กไดรับผลกระทบจากการปรับตัวไมทันตอการแขงขัน<br />

(2) ผลผลิตรถยนตที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง<br />

(3) ผลกําไรจากประกอบการเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

(4) การสงออกที่เพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว รวมถึงการเพิ่มขึ้นของการนําเขาเชนกัน<br />

(5) การเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางหลัก ทั้งดานการลงทุน การควบรวมกิจการ ระบบการ<br />

คมนาคม และอื่นๆ<br />

นอกจากการเปลี ่ยนแปลงที่ไดกลาวมาขางตนนั้น นโยบายการพัฒนาและนโยบายดานอื่นๆ<br />

ก็ไดเปลี่ยนแปลงตามขอตกลงเชนกัน สามารถดูไดตามตารางขางลางนี้<br />

ตารางที่ 4-5 แสดงการเปรียบเทียบนโยบายสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน<br />

นโยบาย กอนการเขารวม WTO หลังการเขารวม WTO<br />

ดานภาษีนําเขายานยนต รอยละ 70-80 รอยละ 25 ในป 2006<br />

ดานภาษีนําเขาชิ้นสวน<br />

และ อะไหลยานยนต<br />

รอยละ 15-50 รอยละ 10 ในป 2006<br />

โควตานําเขา โควตาประจําป ซึ่งมาตรฐานของโควตา การ<br />

นําเขาประมาณ 6 พันลานดอลลาร สหรัฐ<br />

ความพึงพอใจในการผลิต<br />

สําหรับผูผลิตตางชาติ<br />

ดานการเงินที่เกี่ยวกับ<br />

อุตสาหกรรมยานยนต<br />

ที่มา : KPMG International 2004<br />

ตองมีปริมาณผลผลิตในปแรกไมต่ํากวา รอยละ<br />

40 และมีปริมาณผลผลิตในปที่ 2 และ 3 ไมต่ํา<br />

กวารอยละ 60 และ 80 ตามลําดับ<br />

ไมมีการอนุญาตสําหรับการใหสินเชื่อ นอกจาก<br />

สถาบันทางการเงินที่เปน ธนาคารในประเทศ<br />

มีการกําหนดโควตาเพิ่มขึ้นรอยละ<br />

15 ตอป ตั้งแตป 2006<br />

ไมมีขอกําหนดเกี่ยวกับปริมาณการ<br />

ผลิตจากรัฐบาล<br />

สถาบันการเงินอื่นที่ไมใชธนาคาร<br />

สามารถ ใหสินเชื่อกับอุตสาหกรรม<br />

ยานยนตได โดย สถาบันดังกลาว<br />

ตองไดรับอนุญาตจากรัฐบาล<br />

4 - 35


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.2.1.2 เขตการคาเสรีอาเซียน-จีน<br />

ความเปนมา<br />

เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 2001 ผูนําอาเซียน-จีนไดเห็นชอบใหมีการจัดตั้งคณะเจรจา<br />

อาเซียน-จีน (Trade Negotiation Committee: TNC) เพื่อจัดทํากรอบความตกลงความรวมมือทาง<br />

เศรษฐกิจอาเซียน-จีน ที่จะใชเปนพื้นฐานในการจัดทําขอตกลงเขตการคาเสรีอาเซียน-จีนที่สมบูรณ<br />

ภายใน 10 ป ซึ่งตอมา TNC ไดสรุปผลการเจรจาและจัดทํากรอบความตกลง ซึ่งไดรับความ<br />

เห็นชอบจากผูนําอาเซียน-จีน ในการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน (ASEAN-China Summit) ครั้งที่ 8<br />

ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002<br />

กรอบการเจรจา<br />

ครอบคลุมความสัมพันธทางเศรษฐกิจในทุกดาน การเจรจาแบงเปน 3 ดาน คือ<br />

(1) การเปดเสรีดานการคาสินคา<br />

(2) การเปดเสรีดานการคาบริการ และการลงทุน และ<br />

(3) ความรวมมือดานเศรษฐกิจตางๆ<br />

กลไกการเจรจา<br />

จัดตั้ง TNC เปนเวทีหารือระหวางอาเซียนกับจีน และจัดตั้ง ASEAN Trade Negotiating<br />

Group (TNG) เปนเวทีประชุมหารือระหวางสมาชิกอาเซียน<br />

แนวทางการเจรจา/การดําเนินงาน<br />

1. การเปดเสรีการคาสินคา (ที่มีผลบังคับใชแลว)<br />

1.1 ผูนําไทยและจีนไดเห็นชอบใหไทยกับจีนเริ่มลดภาษีระหวางกันในสินคาเกษตรพิกัด<br />

07-08 (ผัก และผลไม) ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 2003 ภายใตกรอบ Early Harvest<br />

อาเซียน-จีน หรือ 3 เดือนกอนประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ<br />

1.2 การเปดเสรีการคาสวนแรก (Early Harvest) ในสินคาพิกัด 01-08 และสินคาเฉพาะ<br />

(Specific products) อีก 2 รายการ คือ ถานหินแอนทราไซดและถานหินโคก/เซมิโคก<br />

ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2004 โดยประเทศอาเซียนเดิม 6 ประเทศและจีน ลดภาษีลง<br />

เหลือ 0% ในป ค.ศ. 2006 สวนอาเซียนใหมใหยืดหยุนไดถึงป ค.ศ. 2010<br />

1.3 การเปดเสรีการคาสินคาทั่วไป ไดจัดทําความตกลงวาดวยการคาสินคา (Agreement on<br />

Trade in Goods) โดย<br />

4 - 36


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

(1) สินคาปกติ เริ่มลดภาษีตั้งแตวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 และลดลง<br />

เหลือ 0% ภายในป ค.ศ. 2010<br />

(2) สินคาออนไหว จะเริ่มลดภาษีในป ค.ศ. 2012 และจะลดภาษีเปน 0-5%<br />

ในป ค.ศ. 2018<br />

(3) สินคาออนไหวสูง จะคงอัตราภาษีไวไดถึงป ค.ศ. 2015 จึงจะลดภาษีมาอยู<br />

ที่ไมเกิน 50%<br />

2. กฎวาดวยถิ่นกําเนิดสินคา<br />

2.1 สินคาเกษตรพื้นฐาน ใชหลัก Wholly obtained<br />

2.2 สินคาอื่นๆ มูลคาของวัตถุดิบที่ใชภายในประเทศไมต่ํากวา 40% โดย นํามูลคาของ<br />

วัตถุดิบจากประเทศสมาชิกมารวมกันได<br />

2.3 กฎถิ่นกําเนิดสินคาเฉพาะ (Product Specific Rules: PSR) สําหรับบางสินคา<br />

3. การเปดเสรีดานการคาบริการ<br />

อาเซียนและจีนไดลงนามความตกลงฯพรอมขอผูกพันการเปดตลาดกลุมที่ 1 เมื่อวันที่ 14<br />

มกราคม ค.ศ. 2007 และมีผลบังคับใช 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2007 โดยไทยเปดตลาดเพิ่มขึ้นจากขอ<br />

ผูกพันภายใต WTO ครอบคลุมกิจกรรมบริการบางประเภทในสาขาวิชาชีพ การศึกษา บริการดาน<br />

สุขภาพ การทองเที่ยว และการขนสงสินคาทางเรือ<br />

สถานะลาสุด<br />

1. ความตกลงการคาบริการ<br />

ขอผูกพันการเปดตลาดดานการคาบริการชุดที่ 1 ไทยเปดตลาดเพิ่มขึ้นจากขอผูกพัน<br />

ภายใต WTO ครอบคลุมกิจกรรมบริการบางประเภทในสาขาวิชาชีพ การศึกษา บริการดาน<br />

สุขภาพ การทองเที่ยว และการขนสงสินคาทางเรือ<br />

2. ความตกลงดานการลงทุน<br />

2.1 ลงนามความตกลงดานการลงทุน 15 สิงหาคม ค.ศ. 2009<br />

2.2 การมีผลบังคับใช<br />

1) ประเทศที่ใหสัตยาบันภายใน 6 เดือนหลังจากวันที่ลงนามความตกลง ความตกลง<br />

จะมีผลบังคับใชนับจากวันที่มีการลงนามความตกลง 6 เดือน<br />

2) ประเทศที่ใหสัตยาบันหลังจากนั้น ความตกลงจะมีผลบังคับใชหลังจากวันที่ให<br />

สัตยาบันแลว 30 วัน<br />

4 - 37


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

3. บันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานทรัพยสินทางปญญา<br />

3.1 จีนและอาเซียน 9 ประเทศ (ยกเวนไทย) ไดลงนามในบันทึกความเขาใจวาดวยความ<br />

รวมมือดานทรัพยสินทางปญญาระหวางอาเซียนและจีน ในชวงการประชุมสุดยอด<br />

อาเซียนครั้งที่ 15 เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 2009 ที่อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี<br />

3.2 ในคราวประชุมรวมกันของรัฐสภา เมื่อวันที่ 12-13 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 ไดพิจารณา<br />

และลงมติใหความเห็นชอบหนังสือสัญญาดังกลาวแลว ขณะนี้อยูระหวางการเสนอ<br />

รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยลงนามในบันทึกความเขาใจฯ ดังกลาว<br />

4. การเฉลิมฉลองการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน-จีน<br />

รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงพาณิชยไทย ไดเขารวมประชุม Forum China-ASEAN<br />

Free Trade Area เพื่อเฉลิมฉลองการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน-จีน ระหวางวันที่ 7-8<br />

มกราคม ค.ศ. 2010 ณ นครหนานหนิง เขตปกครองตนเองกวางสี สาธารณรัฐประชาชนจีน<br />

5. การดําเนินการขั้นตอไป<br />

ขณะนี้อยูระหวางการเจรจาจัดทําขอผูกพันการเปดตลาดดานการคาบริการกลุมที่ 2<br />

โครงการที่เกิดขึ้นภายใตเขตการคาเสรี อาเซียน-จีน<br />

1. “กองทุนความรวมมือการลงทุน จีน – อาเซียน” กับความรวมมือเศรษฐกิจในภูมิภาค<br />

ปจจุบัน จีนกับประเทศอาเซียนตางไดรับผลกระทบอยางรุนแรงจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก<br />

ทําใหทั้งสองฝายมองเห็นความสําคัญที่จะตองกระชับความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคใหแนน<br />

แฟนยิ่งขึ้น หลายปที่ผานมาประเทศพัฒนาแลว เชน ยุโรปและอเมริกา เปนตลาดสําคัญของประเทศ<br />

ในภูมิภาคนี้มาโดยตลอด ขณะเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจดังกลาว เศรษฐกิจของประเทศที่พัฒนาแลว<br />

ตางตกอยูในสภาพที่ย่ําแยทําใหกําลังซื้อลดลงอยางมาก จึงสงผลกระทบตอประเทศในภูมิภาคอยาง<br />

หลีกเลี่ยงไมได จากการถูกโจมตีจากภายนอกดังกลาว ทําใหประเทศในภูมิภาคตางตระหนักถึง<br />

ความจําเปนที่จะตองกระชับความรวมมือในกลุมประเทศที่อยูในภูมิภาคเดียวกัน ถามองจากปจจัย<br />

โดยรวม ประเทศกลุมอาเซียนมีอาณาเขตรวมทั้งสิ้น 4.5 ลานตารางเมตร เปนพื้นที่ที่กวางใหญกวา<br />

อาณาเขตโดยรวมของประชาคมยุโรป มีประชากรทั้งสิ้นรวม 600 ลานคน มากกวาประชากรรวม<br />

ของประชาคมยุโรปกับอเมริกาเหนือ ในป ค.ศ. 2008 มีมูลคาการผลิตโดยรวมรวม 1.5 ลานลาน<br />

เหรียญสหรัฐ มีมูลคานําเขาและสงออกมากวา 1.9 ลานลานเหรียญสหรัฐ หากรวมอาเซียนกับจีนเขา<br />

ดวยกันภูมิภาคนี้จะกลายเปนตลาดที่มีศักยภาพอันยิ่งใหญ ดังนั้นการเสริมสรางความรวมมือ<br />

ระหวางจีนกับอาเซียนจึงมีความสําคัญอยางยิ่งตอการกอใหเกิดอุปสงคทางตลาดที่มีประสิทธิภาพ<br />

4 - 38


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ปจจุบันการเสริมสรางความรวมมือในภูมิภาคระหวางจีนกับอาเซียนควรเริ่มจากการ<br />

ผลักดันใหมีการลงทุนโดยตรงมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งควรเนนการเสริมสรางดานการกอสราง<br />

ระบบโครงสรางพื้นฐานเปนสําคัญ โดยที่เอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความไดเปรียบที่เปนศูนยกลาง<br />

เชื่อมโยงระหวางเอเชีย แอฟริกา ยุโรปและโอเซียนเนีย ซึ่งมีเงื่อนไขทางภูมิประเทศที่ดีมากอยูแลว<br />

หากสามารถปรับปรุงการคมนาคมใหมีความสะดวกรวดเร็วขึ้น ผลักดันใหโครงการกอสราง<br />

เสนทางรถไฟสายเอเชียรนเวลาในการกอสรางใหแลวเสร็จเร็วขึ้น ทําใหเสนทางรถยนตระหวาง<br />

ประเทศสามารถเชื่อมโยงพื้นที่ภาคตะวันตกเฉียงใตของจีนเขากับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต<br />

ไดโดยเร็ว ก็จะเอื้อตอการเสริมสรางภาคการไหลเวียนของสินคา การเคลื่อนยายแหลงผลิต การเปด<br />

ใชทรัพยากรและพลังงานเปนอยางมาก ทั้งยังจะนําไปสูการพัฒนาอุตสาหกรรมทองเที่ยวอีกทาง<br />

หนึ่งดวย ซึ่งจะเปนผลดีตอการกอใหเกิดจุดขยายตัวทางเศรษฐกิจใหมขึ้นอีกแหงหนึ่ง ในขณะที่การ<br />

พัฒนาเขตการคาเสรีระหวางจีนกับอาเซียนกําลังมีความสมบูรณมากขึ้น ทําใหยิ่งมีความจําเปนที่<br />

จะตองเรงการกอสรางระบบโครงสรางพื้นฐานและระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อรองรับความ<br />

ตองการดานการไหลเวียนบุคลากรและการคาระหวางกันที่เพิ่มมากขึ้นของทั้งสองฝาย<br />

ภายใตสถานการณดังกลาว ในเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 2009 สํานักนายกรัฐมนตรีจีนได<br />

อนุมัติใหดําเนินการจัดตั้ง “กองทุนความรวมมือการลงทุน จีน-อาเซียน” ( 中 国 - 东 盟 投 资 合 作<br />

基 金 ) ขึ้น โดยกําหนดใหกองทุนมีจํานวนเงินทุนทั้งสิ้น 10,000 ลานเหรียญสหรัฐ โดยในระยะแรก<br />

จะจัดใหมีเงินทุนประมาณ 1,000 ลานเหรียญสหรัฐกอน การริเริ่มจัดตั้งกองทุนดังกลาว รัฐบาลจีนมี<br />

วัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนการจัดสรางระบบโครงสรางพื้นฐานและการระบบสื่อสารโทรคมนาคม<br />

ใหแลวเสร็จเร็วขึ้น และใชกองทุนความรวมมือการลงทุนดังกลาว เปนประโยชนตอการชักจูงและ<br />

สนับสนุนสงเสริมใหวิสาหกิจจีน “กาวออกไป” ( 走 出 去 ) สูอาเซียน เพื่อเขารวมดําเนินโครงการ<br />

กอสรางสําคัญๆ ชวยใหเศรษฐกิจของประเทศอาเซียนตาง ๆ หลุดพนจากภาวะวิกฤตและฟนคืนสู<br />

การพัฒนาอยางยั่งยืนโดยเร็ว<br />

จากความรับผิดชอบในการดําเนินกิจกรรมของกองทุน ธนาคารนําเขาและสงออกแหง<br />

ประเทศจีนจะมีบทบาทตอการผลักดันความรวมมือในภูมิภาคระหวางจีนกับอาเซียนมากขึ้นตอไป<br />

ในการดําเนินกิจการของธนาคาร ธนาคารนําเขาและสงออกแหงประเทศจีนเนนการ<br />

ใหบริการแกประเทศกําลังพัฒนาโดยเฉพาะประเทศกําลังพัฒนาที่เปนเพื่อบานของประเทศจีน<br />

ตลอดมา ในการปฏิบัติงานที่ผานมา ธนาคารไดสั่งสมทรัพยากรบุคคลากรและประสบการณในดาน<br />

ความรวมมือระหวางกันที่มีคุณคายิ่ง ทําใหธนาคารมีศักยภาพเพียงพอที่จะรองรับภารกิจตาม<br />

โครงการพัฒนาเศรษฐกิจระหวาจีนกับอาเซียนดังกลาว ปจจุบันธนาคารนําเขาและสงออกแหง<br />

ประเทศจีนกําลังผลักดันใหมีการจัดตั้งบริษัทบริหารกองทุนดังกลาว ตลอดจนวิธีการจัดหาเงินทุน<br />

4 - 39


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

และการจัดตั้งศูนยขอมูลขาวสารเกี่ยวกับโครงการ ในขณะเดียวกัน รัฐบาลจีนกําลังดําเนินการ<br />

ติดตอกับรัฐบาลและหนวยราชการที่เกี่ยวของของบรรดากลุมประเทศอาเซียน ปรากฏวาไดรับการ<br />

ตอบสนองและสนับสนุนเปนอยางดีจากหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ<br />

ภายใตสถานการณเศรษฐกิจโลกที่ทรุดโทรมอยูในปจจุบัน ความรวมมือในขอบเขตภูมิภาค<br />

ระหวางจีนกับอาเซียนจึงมีความสําคัญและเรงดวนเปนพิเศษ และถือวาเปนโอกาสดีสําหรับจีนกับ<br />

กลุมประเทศอาเซียน ที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน คาดวาการจัดใหมีกองทุนจีน-อาเซียน ขึ้นนี้จะมีผล<br />

นําไปสูการเกิดโครงการความรวมมือใหม ๆ ขึ้นอีกมากมาย หวังวาทุกฝายจะไดใหความรวมมือ<br />

อยางจริงใจ รวมกันจัดสรางและบริหารกองทุนใหเปนไปตามเปาหมายดวยดี เพื่อใหกองทุนมี<br />

บทบาทตอความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางจีนกับอาเซียนโดยแทจริง<br />

2. ศูนยสินคานานาชาติอาเซียน (ASEAN COMMODITY PORT)<br />

ศูนยสินคานานาชาติอาเซียนใชเงินลงทุนทั้งสิ้น 1,860 ลานหยวน บริเวณพื้นที่ทั้งสิ้น 800<br />

ไร ภายในอาคารมีพื้นที่รวมทั้งหมด 2,400,000 ตารางเมตร อันประกอบไปดวย ศูนยคาสงหลัก<br />

ศูนยโลจิสติกสและโกดังสินคา เขตการคา และเขตที่อยูอาศัย ในพื้นที่อาคารบางสวนยังจัดไวเปน<br />

สวนแสดงสินคาเสื้อผา เครื่องเขียน อาหาร เครื่องใชไฟฟาอิเล็กทรอนิกส วัสดุกอสรางและตกแตง<br />

เครื่องสําอาง สินคาของที่ระลึกตลอดจนศูนยกระจายและจัดสงสินคาครบวงจร โดยในสวนของ<br />

ศูนยโลจิสติกสและโกดังของสินคาตั้งอยูในดานทิศตะวันออกมีพื้นที่โดยรวมประมาณ 100 ไร<br />

สําหรับศูนยสินคาอาเซียนจะเนนจัดหานักลงทุนจากเมืองตางๆ อาทิเชน อี้อู เวินโจว ไถโจว<br />

ตลอดจนเมืองที่มีศักยภาพและความชํานาญในการผลิตสินคาขนาดเล็กในประเทศจีน โดยมี<br />

วัตถุประสงคในการพัฒนาใหเปนศูนยสินคาอาเซียนในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใตของจีนเพื่อการ<br />

รองรับตลาดการคาในกลุมประเทศอาเซียน และพัฒนาดานการบริการใหมีความครบวงจรอัน<br />

ประกอบดวย การผสมผสานอยางลงตัวของการคา โลจิสติกส สารสนเทศ การเงิน และการบริหาร<br />

จัดการภายในอาคารใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด<br />

ทําเลที่ตั้ง ความสะดวกในการคมนาคมขนสง<br />

ศูนยสินคานานาชาติอาเซียนตั้งอยูประตูใหญทางทิศเหนือ เขตเมืองใหมเฉิงกง นครคุน-<br />

หมิง ซึ่งจัดเปนจุดเริ่มตนการเดินทางไปมาระหวางนครคุนหมิงและเขตเมืองใหมเฉิงกง ทิศ<br />

ตะวันตกเชื่อมตอกับตลาดคาสงดอกไมโตวหลาน ซึ่งจัดเปนตลาดคาสงดอกไมที่ใหญที่สุดในเอเชีย<br />

ตะวันออกเฉียงใต ทิศตะวันออกเฉียงเหนือเชื่อมตอกับสวนอุตสาหกรรมตาชง ทิศใตเชื่อมตอกับ<br />

เขตศูนยกลางอูเจียอิ๋ง ทิศตะวันออกเชื่อมตอกับเสนทางรถไฟสายสําคัญหลายสาย ซึ่งอยูหางจาก<br />

ศูนยรวมตูคอนเทนเนอรนคร คุนหมิงเพียง 800 เมตร นอกจากนี้ยังมีความสะดวกในการคมนาคม<br />

4 - 40


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

เปนอยางมากโดยอยูหางจากศูนยกลางเขตเมืองใหมเพียง 10 กิโลเมตร และหางจากสนามบิน<br />

นานาชาติแหงใหม นครคุนหมิงเพียง 13 กิโลเมตรเทานั้น<br />

ประเภทสินคา<br />

ศูนยสินคานานาชาติอาเซียนมีขอไดเปรียบในดานการเปนศูนยการคาระหวางจีน –<br />

อาเซียน โดยภายในอาคารอาเซียนเบื้องตนจัดแสดงสินคาที่มีเอกลักษณของ 10 ประเทศในกลุม<br />

ภูมิภาคอาเซียนอันประกอบไปดวย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน<br />

ลาว มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย และเวียดนาม โดยในเบื้องตนไดมีประเทศสิงคโปร<br />

มาเลเซีย และไทยที่ตกลงนําสินคามาจัดแสดงในอาคารดังกลาว และประเทศอื ่นๆ ในกลุมภูมิภาค<br />

อาเซียนตางก็ใหความสนใจที่จะนําสินคามาจัดแสดงเชนกัน<br />

ระบบการบริหารจัดการ<br />

ภายในศูนยสินคานานาชาติอาเซียนมีสวนที่จัดไวเปนศูนยธุรกิจโดยเฉพาะมีขนาด 80 ไร<br />

โดยจัดเปนศูนยอํานวยความสะดวกแบบ one stop service ประกอบดวย สินคานานาชาติ พาณิชย<br />

สรรพากร การตรวจสอบ ศุลกากร และใหบริการดานการคา เชน การใหบริการดานธนาคาร<br />

ไปรษณีย และเทคโนโลยีสารสนเทศทั่วไปอีกดวย<br />

แนวโนมการเติบโตในอนาคต<br />

ระบบการคาเสรีจีน – อาเซียนที่จัดตั้งขึ้นแลว จะทําใหมีปริมาณผูบริโภคถึง 1,700 ลานคน<br />

มีสวนชวยทําใหปริมาณการผลิตสูงถึง 20,000,000,000,000 ลานเหรียญสหรัฐ และปริมาณการคา<br />

โดยรวมถึง 12,000,000,000,000 ลานเหรียญสหรัฐ ทั้งนี้ยุทธศาสตรของมณฑลยูนนาน นครคุนหมิง<br />

ไดถูกกําหนดใหเปนประตูสูเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทําใหมีการจัดเตรียมสาธารณูปโภคพื้นฐาน<br />

ขนาดใหญไวรองรับตอยุทธศาสตรที่เกิดขึ้น อาทิเชน ศูนยบริการตูคอนเทนเนอรสําหรับการขนสง<br />

ทางรถไฟระดับประเทศแหงเดียวในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใตของจีน ณ อําเภอลอหยาง นครคุนหมิง<br />

ภายใตระบบการบริหารจัดการโลจิสติกสที่ทันสมัยจะทําใหสามารถกระจายสินคาไปถึงยังเอเชีย<br />

ตะวันออกเฉียงใต ทั้งนี้ผูประกอบการที่เขามาลงทุนภายในศูนยแหงนี้จะสามารถใชขอไดเปรียบ<br />

ของทําเลที่ตั้งในการกระจายสินคาสงออกและนําเขาไปในประเทศจีนไดอยางสะดวก รวดเร็ว และ<br />

มีประสิทธิภาพ<br />

4 - 41


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ตารางที่ 4-6 แสดงการลดภาษีสินคายานยนตที่สําคัญภายใตเขตการคาเสรี อาเซียน –จีน<br />

สินคายานยนต ไทย จีน<br />

ยานยนตสําเร็จรูป<br />

8703 รถยนตนั่ง<br />

เครื่องยนตเบนซิน 22 ความจุกระบอกสูบ 1,000-1,500 CC 0,80 (HSL) / (50 ป 2015) 25<br />

23 ความจุกระบอกสูบ 1,500-3,000 CC 0,80 (HSL) / (50 ป 2015) 0,5<br />

24 ความจุกระบอกสูบมากกวา3,000 CC 0,80 (HSL) / (50 ป 2015) 25<br />

เครื่องยนตดีเซล 32 ความจุกระบอกสูบ 1,500-2,500 CC 0,80 (HSL) / (50 ป 2015) 0<br />

33 ความจุกระบอกสูบมากวา 2,500 CC 0 0<br />

8704 รถกระบะ/รถบรรทุก<br />

เครื่องยนตดีเซล 21 น้ําหนักบรรทุกไมเกิน 5 ตัน 0 25<br />

เครื่องยนตที่ใชกาซ 31 น้ําหนักบรรทุกไมเกิน 5 ตัน 0 25<br />

8711 รถจักรยานยนต<br />

20 ความจุกระบอกสูบ 50-250 CC 72 (HSL) 0<br />

30 ความจุกระบอกสูบ 250-500 CC 72 (HSL) 5<br />

40 ความจุกระบอกสูบ 500-800 CC 72 (HSL) 5<br />

ชิ้นสวน/อะไหลยานยนต<br />

8708 ชิ้นสวนยานยนต<br />

10 Bumpers And Parts………….. 0 0<br />

21 Safty Seat Belt ……………… 0 0<br />

30 Brakes And Servo-Brakes,…. 30,35,42 0<br />

40 Gear Boxes………………… 30,35,42 (HSL) 0<br />

50 Drive-Axles W Dif,…………. 30,35,42 (HSL) 0<br />

70 Wheels Including Parts…….. 0 0<br />

94 Steering Wheels, Columns…. 0 0<br />

95 Saftty Airbags With Inflater…. 0 0<br />

99 Motor Vehicle Parts, Nes…….. 0 0<br />

ที่มา: China FTA Network, http://fta.mofcom.gov.cn/english<br />

4 - 42


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.2.1.3 เขตการคาเสรีจีน-นิวซีแลนด<br />

วันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 2008 นายหู จิ่น เทา นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาชนจีน และนาง<br />

เฮเลน คลารค นายกรัฐมนตรีนิวซีแลนด ไดรวมเปนพยานในการลงนามขอตกลงเขตการคาเสรี<br />

(FTA) ระดับทวิภาคี โดยรัฐมนตรีกระทรวงพาณิชยของทั้งสองประเทศเปนผูลงนาม และจะมีผล<br />

บังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 2008 เปนตนไป และนับเปนครั้งแรกที่จีนไดเปดFTA กับ<br />

ประเทศพัฒนาแลว นับตั้งแตจีนไดเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) ในป ค.ศ. 2001<br />

ผลประโยชนของกรอบการเจรจาของทั้ง 2 ประเทศคือ นิวซีแลนดคาดหวังวาขอตกลงจะ<br />

ชวยเพิ่มมูลคาการสงออกสินคาเกษตร เชน ผลิตภัณฑ นม และ เนื้อวัว ไปยังประเทศจีนมากขึ้น<br />

ในขณะที่จีนหวังจะใชประโยชนจากขอตกลง FTA ในการขยายการลงทุนของบริษัทธุรกิจจีนไปยัง<br />

นิวซีแลนดที่มีขนาดของเศรษฐกิจคอนขางเล็ก มูลคาการคาระหวางประเทศทั้งสองอยูในระดับ<br />

3,700 ลานดอลลารสหรัฐฯ หรือ 118,548 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 2007)<br />

นอกจากนั้นจีนและ นิวซีแลนดยังอาจจะใชขอตกลง FTA เปนรูปแบบในการเจรจาการคา<br />

ในอนาคต การมีผลบังคับใชนั้นจะทําใหจีนยกเลิกการเก็บภาษีสินคาสงออกจากนิวซีแลนดถึง 96%<br />

ของจํานวนสินคาทั้งหมด อยางไรก็ตาม จีนไมยกเลิกการเก็บภาษีนําเขาสินคาประเภทผลิตภัณฑนม<br />

ไดแก เนย น้ํานม และ เนยแข็ง ซึ่งมีความสําคัญตอเศรษฐกิจของนิวซีแลนดจนกวาจะถึงป<br />

ค.ศ. 2017 และจะยังคงเรียกเก็บภาษีนําเขาเนื้อวัว และ เนื้อแกะ จนถึงป ค.ศ. 2016<br />

สําหรับการลดภาษีสินคายานยนตที่สําคัญของจีนนั้น จีนยังคงใหความสําคัญกับการ<br />

ปกปองอุตสาหกรรมยานยนตที่เกี่ยวกับการขนสง เชน รถโดยสารขนาดมากกวา 30 ที่นั่ง<br />

รถจักรยานยนต ที่ถือเปนอุตสาหกรรมมีขนาดตลาดใหญของประเทศ และอุตสาหกรรมรถบรรทุก<br />

ที่ถือเปนอุตสาหกรรมสนับสนุนภาวะดานการลงทุน โดยสามารถสรุปตารางการลดภาษีสินคา<br />

ยานยนตของจีนไดดังนี้<br />

4 - 43


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ตารางที่ 4-7 แสดงการลดภาษีสินคายานยนตที่สําคัญภายใตเขตการคาเสรี จีน–นิวซีแลนด<br />

สินคายานยนต<br />

4 - 44<br />

อัตรา<br />

ปกติ<br />

ป<br />

2010<br />

ป<br />

2011<br />

ป<br />

2012<br />

8703 รถยนตนั่ง<br />

เครื่องยนตเบนซิน 22 ความจุกระบอกสูบ 1,000-1,500 CC 25 12 8 4 0<br />

23 ความจุกระบอกสูบ 1,500-3,000 CC 25 12 8 4 0<br />

24 ความจุกระบอกสูบมากกวา3,000 CC 25 12 8 4 0<br />

เครื่องยนตดีเซล 32 ความจุกระบอกสูบ 1,500-2,500 CC 25 12 8 4 0<br />

33 ความจุกระบอกสูบมากวา 2,500 CC 25 12 8 4 0<br />

8704 รถกระบะ/รถบรรทุก<br />

เครื่องยนตดีเซล 21 น้ําหนักบรรทุกไมเกิน 5 ตัน 25 12 8 4 0<br />

22 น้ําหนักบรรทุก > 5 - 20 ตัน 20 8 4 0 0<br />

23 น้ําหนักบรรทุก > 20 ตัน 15 6 3 0 0<br />

เครื่องยนตที่ใชกาซ 31 น้ําหนักบรรทุกไมเกิน 5 ตัน 25 12 8 4 0<br />

32 น้ําหนักบรรทุก > 5 ตัน 20 8 4 0 0<br />

8711 รถจักรยานยนต<br />

10 ความจุกระบอกสูบ < 50 CC<br />

20 ความจุกระบอกสูบ 50-250 CC 45 12 8 4 0<br />

30 ความจุกระบอกสูบ 250-500 CC<br />

40 ความจุกระบอกสูบ 500-800 CC 40 12 8 4 0<br />

50 ความจุกระบอกสูบ> 800 CC 30 12 8 4 0<br />

90 อื่นๆ 45 12 8 4 0<br />

8706 รถบรรทุก/รถโดยสาร<br />

10 โครงรถดั้มพ 8 3.2 1.6 0 0<br />

21 โครงรถบรรทุกน้ําหนักบรรทุก ³ 14 ตัน 10 4 2 0 0<br />

22 โครงรถบรรทุกน้ําหนักบรรทุก


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สินคายานยนต<br />

3021 Anti-skid brake system of tractors and<br />

dumpers<br />

3091 Brakes and servo-brakes and parts of<br />

tractors<br />

3093 Brakes and servo-brakes and parts of<br />

dumpers<br />

3029 Anti-skid brake system of other vehicles<br />

4 - 45<br />

อัตรา<br />

ปกติ<br />

ป<br />

2010<br />

ป<br />

2011<br />

ป<br />

2012<br />

ป<br />

2013<br />

6 2.4 1.2 0 0<br />

3092 Brakes and servo-brakes and parts<br />

…transport of 30 seats or more<br />

3094 ----------------------------------------- 10 4 2 0 0<br />

…pison engine, light duty<br />

3095 ----------------------------------------- of<br />

heavy motor vehicles<br />

3096 ----------------------------------------- of<br />

special purpose motor vehicles<br />

3099 ----------------------------------------- of<br />

others unspecified motor vehicles<br />

40 Gear Boxes<br />

4010 ------------- of tractors 6 2.4 1.2 0 0<br />

4030 ------------- of dumpers<br />

4020 ------------- of buses with seats ³ 30<br />

4040 ------------- of trucks of<br />

8704.2100/2230/3100/3230<br />

4050 ------------- of trucks of 8704.2240, 10 4 2 0 0<br />

8704.2300<br />

4060 ------------- of vehicles of 87.05<br />

4091 Automatic gearshift for saloon cars<br />

50 Drive-Axles<br />

5071 ------------- of tractors 6 2.4 1.2 0 0<br />

5073 ------------- of dumpers<br />

5072 -------------... transport of 30 seats or


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สินคายานยนต<br />

4 - 46<br />

อัตรา<br />

ปกติ<br />

ป<br />

2010<br />

ป<br />

2011<br />

ป<br />

2012<br />

more<br />

5074 ------------- of…piston engine, light duty<br />

5075 ------------- of heavy motor vehicles 10 4 2 0 0<br />

ป<br />

2013<br />

5076 ------------- of special purpose motor<br />

vehicles<br />

5079 ------------- of others unspecified motor<br />

vehicles<br />

5082 Non-driving axles and parts ... transport 15 6 3 0 0<br />

of 30 seats or more<br />

70 Wheels and parts<br />

7010 ------------- of tractors 6 2.4 1.2 0 0<br />

7030 ------------- of dumpers<br />

7020 ------------- of buses with seats ³ 30<br />

7040 ------------- of trucks of<br />

8704.2100/2230/3100/3230<br />

7050 ------------- of trucks of 8704.2240, 10 4 2 0 0<br />

8704.2300<br />

7060 ------------- of vehicles of 87.05<br />

7090 ------------- of vehicles of 87.02-87.04<br />

94 Steering Wheels/ columns / boxes<br />

9410 ------------- of tractors 6 2.4 1.2 0 0<br />

9430 ------------- of dumpers<br />

9420 ------------- of buses with seats ³ 30<br />

9440 ------------- of trucks of<br />

8704.2100/2230/3100/3230<br />

9450 ------------- of trucks of 8704.2240, 10 4 2 0 0<br />

8704.2300<br />

9460 ------------- of vehicles of 87.05<br />

9490 ------------- of vehicles of 87.02-87.04<br />

95 Saftty Airbags With Inflater…. 10 4 2 0 0<br />

99 Motor Vehicle Parts, Nes…..


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สินคายานยนต<br />

อัตรา<br />

ปกติ<br />

ป<br />

2010<br />

ป<br />

2011<br />

ป<br />

2012<br />

ป<br />

2013<br />

9910 ------------- of tractors<br />

9931 ------------- of dumpers 6 2.4 1.2 0 0<br />

9939 Others parts and accessories nes of<br />

dumpers<br />

9921 Frame of buses with seats ³ 30<br />

9929 Others parts and accessories nes of buses 25 12 8 4 0<br />

with seats ³ 30<br />

9941 Frame of trucks of<br />

8704.2100/2230/3100/3230<br />

9949 Others parts and accessories nes of<br />

trucks of 8704.2100/2230/3100/3230<br />

9951 Frame of trucks of 8704.2240, 8704.2300<br />

9959 Others parts and accessories nes of<br />

trucks of 8704.2240, 8704.2300<br />

9991 Frame of vehicles of 87.02-87.04 10 4 2 0 0<br />

9992 Motor Vehicle shafts<br />

9999 Others parts and accessories nes of other<br />

vehicles of 87.02-87.04<br />

9960 Parts & accessories nes of vehicles of<br />

87.05<br />

15 6 3 0 0<br />

ที่มา: China FTA Network, http://fta.mofcom.gov.cn/english<br />

4 - 47


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.2.2 มาตรการการคาที่เปนภาษี<br />

ทางการจีนดําเนินนโยบายชวยเหลือภาคสงออกจีนโดยการลดอัตราภาษีสงออกทั้งหมดให<br />

เหลือรอยละ 0 จากกอนหนานี้ที่ทางการจีนไดทยอยปรับเพิ่มอัตราภาษีคืนแกสินคาสงออก (Export<br />

Tax Rebates) อยางตอเนื่องตั้งแตเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2008 โดยสวนใหญเปนสินคากลุมธุรกิจสิ่งทอ<br />

และเครื่องนุงหมสําเร็จรูป สินคาอิเล็กทรอนิกส รองเทา และของเลน เปนตน<br />

จีนประกาศปรับภาษีนําเขาชิ้นสวนยานยนตเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2008 ใหสอดคลอง<br />

ตามกฎขอบังคับขององคการการคาโลก (WTO) โดยกอนหนานี้จีนไดออกกฎระเบียบตั้งแตป<br />

ค.ศ. 2005 ที่กําหนดอัตราภาษีนําเขาชิ้นสวนยานยนตที่แตกตางกันภายในประเทศ ซึ่งถือเปนการ<br />

เลือกปฏิบัติและขัดกับหลักเกณฑของ WTO โดยระบุใหผูผลิตนําเขาชิ้นสวนประกอบยานยนตที่มี<br />

จํานวน/มูลคาเกินกวารอยละ 60 ของชิ้นสวนประกอบรถยนตทั้งหมดตองเสียภาษีในอัตรา<br />

รอยละ 25 แตหากผูผลิตนําเขาชิ้นสวนประกอบยานยนตนอยกวารอยละ 60 เสียภาษีในอัตรา<br />

รอยละ 10 ทั้งนี้ รถยนตที่ผลิตในประเทศจีนสวนใหญใชชิ้นสวนประกอบที่ผลิตภายในประเทศกวา<br />

รอยละ 60 เนื่องจากมีราคาถูกกวาชิ้นสวนประกอบยานยนตที่นําเขาจากตางประเทศ แตชิ้นสวน<br />

บางอยางไมสามารถผลิตไดเองภายในประเทศจึงจําเปนตองนําเขา โดยในป ค.ศ. 2008 จีนนําเขา<br />

ชิ้นสวนประกอบยานยนตจากตางประเทศมูลคา 13.4 พันลานดอลลารสหรัฐ ขยายตัวรอยละ 5 จาก<br />

ป ค.ศ. 2007<br />

นอกจากนี้ ปจจุบันจีนกลายเปนตลาดยานยนตที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก แซงหนา<br />

สหรัฐอเมริกา ซึ่งความแข็งแกรงของอุตสาหกรรมยานยนตจีนที่ขยายตัวอยางตอเนื่องนี้ สงผลให<br />

อุตสาหกรรมสนับสนุนอื่นภายในประเทศของจีนเพิ่มขึ้นตามไปดวย โดยปจจัยสนับสนุนอีก<br />

ประการหนึ่งที่ขับเคลื่อนการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนตของจีนคือ มาตรการกระตุนภาค<br />

บริโภคภายในประเทศของทางการจีน แทนการพึ่งพาภาคสงออกที่ไดรับผลกระทบจากวิกฤต<br />

เศรษฐกิจโลกในชวงไตรมาส 4 ของปที่ผานมา โดยทางการจีนไดทุมงบประมาณราว 4 ลานลาน<br />

หยวน (586,000 ลานดอลลารสหรัฐ) เพื่อฟนฟูเศรษฐกิจใหกลับฟนคืนมา ทั้งนี้ นโยบายกระตุน<br />

อุตสาหกรรมยานยนตของจีนไดแก มาตรการลดภาษีซื้อรถยนตนั่งสวนบุคคลในอัตรารอยละ 5<br />

สําหรับรถยนตนั่งสวนบุคคลที่ใชเครื่องยนตขนาดเทากับหรือเล็กกวา 1.6 ลิตร มาตรการเงิน<br />

อุดหนุนเพื่อซื้อยานพาหนะในเขตชนบท และมาตรการอุดหนุนการขายสินคาเกาเพื่อแลกซื้อสินคา<br />

ใหม เปนตน<br />

4 - 48


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

4.2.3 มาตรการทางการคาที่มิใชภาษี<br />

จีนมีการใชมาตรการที่มิใชภาษีเพื่อปกปองอุตสาหกรรมยานยนตคือ การจํากัดการถือหุน<br />

ของบริษัทตางชาติที่จะมาลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนตจีนไมใหเกินรอยละ 50 นอกจากนี้<br />

อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่สนับสนุนและเกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยานยนต ยังมีมาตรการในการหาม<br />

ประกอบการและขอจํากัด ในการประกอบการ ดังตอไปนี้<br />

1. อุตสาหกรรมที่หามนักลงทุนตางชาติลงทุน ไดแก อุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ<br />

(เครื่องใชไฟฟา) และเครื่องใชไฟฟา ซึ่งไดแก การทําแบตเตอรรี่ Lead-acid battery แบบ<br />

เปด (และแบบ Acid mist ที่ขับออกโดยตรง) Silver oxide battery แบบ Mercurous button,<br />

Leclanche, Nickel-cadmium cell<br />

2. อุตสาหกรรมที่มีขอจํากัดสําหรับนักลงทุนตางชาติในจีน ไดแก<br />

- การแปรรูปน้ํามันปโตรเลียมและอุตสาหกรรมเผาถานหิน ไดแก การทําธุรกิจและ<br />

สรางโรงกลั่นน้ํามันแลวผลิตไดนอยกวา 8,000,000 ตัน/ป<br />

- อุตสาหกรรมการผลิตยางพารา ไดแก การผลิตอะไหล (สวนประกอบ) ที่ใชยางพารา<br />

ที่คุณภาพต่ํา และการนํายางลอเกามาทําใหม (ยกเวนยางรถเรเดียน)<br />

3. อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณที่ใชแทนกันได ไดแก<br />

- การทําผลิตภัณฑกึ่งสําเร็จรูป ตลับลูกปนเกรดทั่วไปแตละชนิดและชิ้นสวนอะไหล<br />

(ลูกปน หวงล็อก)<br />

- การผลิต Crane ที่ใชสายพานและแบบลอที่ต่ํากวา 300 ตัน (ตองเปนการรวมทุนและ<br />

การรวมมือ)<br />

4. อุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณเฉพาะดาน ไดแก การผลิตเครื่องดันดิน 320 แรงมาและที่ต่ํา<br />

กวา, เครื่อง Hydraulic shovel ขนาด 30 ตันและต่ํากวา, เครื่อง Wheel loader ขนาด 6 ตัน,<br />

เครื่อง Land scraper ขนาด 220 แรงมาและต่ํากวา, เครื่องบดอัดถนน, Fork truck, เครื่อง<br />

Dumper truck ขนาด 135 ตันและต่ํากวา, เครื่อง Milling ซอมผิวถนน, Garden machine<br />

และอุปกรณของเครื่อง, เครื่องผสมคอนกรีต (Pump, Transport mixer, Mixing plant, Pump<br />

truck)<br />

5. อุตสาหกรรมขนสงและการคมนาคม คลังสินคาและการไปรษณีย ไดแก<br />

- บริษัทขนสงรถยนตจากการนําเขา-สงออก<br />

- บริษัทขนสงทางน้ํา (ฝายจีนถือหุนเกินกึ่งหนึ่ง)<br />

4 - 49


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

6. อุตสาหกรรมการขายปลีกและขายสง ไดแก การดําเนินการและสรางปมน้ํามันและ<br />

ผลิตภัณฑปโตรเลียม (เหมือนกับนักลงทุนตางชาติหากมีสาขาเกิน 30 แหง ปมน้ํามันสาขา<br />

ยอยที่มีเจาของเดียวกันหากจําหนายสินคาตางยี่หอและตางชนิดใหกับ Supplier หลายๆที่<br />

ใหฝายจีนถือหุนเกินกึ่งหนึ่ง)<br />

นอกจากนี้ สหรัฐฯ และสหภาพยุโรปไดยื่นฟองตอองคการการคาโลก (WTO) กรณีที่จีน<br />

ออกมาตรการที่เปนขอจํากัดดานการสงออกสินคาวัตถุดิบทั้งการหามสงออก และการเพิ่มอัตรา<br />

ภาษีสินคาสงออก ซึ่งทั้งสองประเทศเห็นวาเปนการละเมิดกฎของ WTO สงผลใหภาคอุตสาหกรรม<br />

ของจีนมีตนทุนวัตถุดิบที่ต่ํากวาคูแขงในตางประเทศ และนําไปสูการสรางแขงขันทางการคาที่ไม<br />

เปนธรรม ขอจํากัดดานการสงออกสินคาวัตถุดิบของจีนครอบคลุมสินคาหลายรายการ เชน บอก<br />

ไซด แมกนีเซียม เหล็กซิลิคอน และสังกะสี ซึ่งสินคาวัตถุดิบเหลานี้ใชในภาคอุตสาหกรรมตาง ๆ<br />

เชน เหล็ก ยานยนต ไมโครชิป และเครื่องบิน มาตรการของทางการจีนดังกลาวสงผลให<br />

ภาคอุตสาหกรรมของประเทศตางๆ ที่จําเปนตองนําเขาวัตถุดิบจากจีนเพื่อผลิตสินคาตองไดรับ<br />

ผลกระทบและทาใหขีดความสามารถในการแขงขันลดลงเมื่อเทียบกับจีน ขณะที่จีนเห็นวา<br />

กฎระเบียบนี้เปนมาตรการปกปองและคุมครองสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติของจีน ซึ่ง<br />

สอดคลองกับกฎเกณฑของ WTO นอกจากนี้ คณะกรรมการทางการคาระหวางประเทศของสหรัฐฯ<br />

(U.S. International Trade Commission) อยูระหวางการพิจารณาขอรองเรียนของบริษัทสหรัฐฯ ตอ<br />

การนําเขายางรถยนตจากจีนมูลคา 1.7 พันลานดอลลารสหรัฐฯ ซึ่งหากพิจารณาแลวเห็นวาบริษัท<br />

สหรัฐฯ ไดรับผลกระทบจากการนําเขายางรถยนตจากจีน ทางการสหรัฐฯ จะตอบโตดวยปรับเพิ่ม<br />

อัตราภาษีนําเขากับสินคาสงออกของจีน<br />

4 - 50


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

บทที่ 5<br />

วิเคราะหความสามารถในการแขงขันของประเทศจีน<br />

5.1 การวิเคราะหโดยใช Diamond Model<br />

การวิเคราะหศักยภาพในการแขงขันของอุตสาหกรรมการผลิตยานยนตประเทศจีนใช<br />

กรอบแนวคิด Diamond Model ของ Michael E. Porter เปนเครื่องมือวิเคราะห โดยวิเคราะหตาม<br />

องคประกอบทั้งสี่ดานของกรอบแนวคิด Diamond Model คือ<br />

1) เงื่อนไขปจจัยการผลิต (Factor Conditions)<br />

2) อุตสาหกรรมเกี่ยวโยงและสนับสนุน (Related and Supporting Industries)<br />

3) เงื่อนไขดานอุปสงค (Demand Conditions)<br />

4) บริบทการแขงขันและกลยุทธทางธุรกิจ (Context for Firm Strategy and Rivalry)<br />

5.1.1 เงื่อนไขปจจัยการผลิต (Factor Conditions)<br />

(1) ระบบขนสง (Logistic) ของประเทศยังไมครอบคลุม<br />

ประเทศจีนเรียกระบบโลจิสติกสวา “อูหลิว” ซึ่งแปลวา “สรรพสิ่งเคลื่อนยาย” แมวาเมือง<br />

ใหญของประเทศจีน เชน ปกกิ่ง หรือ เซี่ยงไฮ จะมีระบบการขนสงจํานวนมากและมีคุณภาพก็ตาม<br />

แตยังคงมีอีกหลายเมืองที่ระบบการขนสงยังคงดอยคุณภาพ เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของจีนที่มี<br />

อาณาเขตกวาง และครอบคลุมพื้นที่ภูมิศาสตรที่แตกตางกัน ซึ่งระบบการขนสงที่ไมมีประสิทธิภาพ<br />

จะสงผลใหตนทุนการผลิตสินคาในประเทศจีนสูงตามไปดวย โดยมีการคาดการณวาตนทุนขนสงมี<br />

มูลคาประมาณรอยละ 20-30 ของ GDP ซึ่งเปนมูลคาที่คอนขางสูง<br />

อยางไรก็ตาม สิ่งที่ทําใหสินคาของจีนยังครองตลาดไดดีอยู เปนเพราะปจจัยคาแรงของจีน<br />

ที่ยังมีตนทุนที่ต่ํามาก (คาแรงเฉลี่ยคนงานทั่วไปประมาณ 500-600 หยวนตอเดือน) ทําใหสามารถ<br />

ชดเชยกับตนทุนขนสงที่สูงได<br />

ดวยเหตุนี้ จึงทําใหประเทศจีนตื่นตัวตอการพัฒนาระบบขนสงยางมาก ปจจุบันจีนกําหนด<br />

ยุทธศาสตรเรื่องการสรางความพรอมเกี่ยวกับโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคม โดยระบบโครงสราง<br />

พื้นฐานโลจิสติกสของจีนนั้น ประกอบดวย<br />

- ทางรถไฟ ที่มีความยาว 70,058 กิโลเมตร และมีระบบราง 3 แบบ คือความกวาง 1.43 เมตร<br />

1.00 เมตรและ 0.75 เมตร<br />

- เสนทางถนนทั่วประเทศ มีความยาว 1,402,698 กิโลเมตร<br />

5 - 1


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

- ทาเรือแนวฝงทะเลตะวันออก 20 แหง และมีกองเรือเดินทะเลประมาณ 1,850 ลํา<br />

- สนามบิน 507 แหงทั่วประเทศ<br />

นอกจากนี้ ภาครัฐยังวางจุดยุทธศาสตรกําหนดแตละเมืองของประเทศเปนศูนยกลาง<br />

โลจิสติกสในดานตางๆอยางชัดเจน เชน นครเซี่ยงไฮ เปนเมืองทาหลักบริเวณชายฝงทะเล<br />

ตะวันออก และเมืองเซินเจิ้น จะเปนศูนยกลาง (Hub) ของการขนสงทางทะเลดานตะวันออกเฉียงใต<br />

โดยเมืองเฉินตูเปนประตูสูภาคตะวันตก และเมืองเชียงรุง เปนประตูสูเอเชียอาคเนย โดยมีฮองกง<br />

และไตหวันเปนพื้นที่เครือขาย และใหเมืองคุนหมิงในแควนยูนานเปนศูนยกลางเชื่อมอินโดจีนและ<br />

เอเชียตะวันออกเฉียงใต<br />

ในชวง 5 ป ที่ผานมา จีนเรงลงทุนดานระบบการขนสงของประเทศเปนจํานวนมหาศาล<br />

เชน ปจจุบัน จีนมีระบบรถไฟความเร็วสูง ที่มีระยะทางกวา 6,500 กิโลเมตร ซึ่งอยูในอันดับ 1 ของ<br />

โลก และในป ค.ศ. 2012 จีนจะมีรถไฟความเร็วสูง อีก 46 เสนทาง ซึ่งลวนแตเปนเสนทางที่เชื่อมตอ<br />

กรุงปกกิ่งสูเมืองเอกมณฑลตางๆ ที่มีความสําคัญทางการคาและเศรษฐกิจของจีน โดยการเดินทาง<br />

ดวยรถไฟความเร็วสูงของแตละเสนทางจะใชเวลาไมเกิน 8 ชั่วโมง ไดแก สายปกกิ่ง-เซี่ยงไฮ สาย<br />

ลือเจียจวง-อูฮั่น รวมระยะทางทั้งหมดกวา 10,000 กิโลเมตร<br />

นอกจากการพัฒนาระบบคมนาคมทางรถไฟของจีนแลว ดานการคมนาคมขนสงทางบก<br />

ของจีน จีนเปดใหบริการสะพานขามทะเลที่ยาวที่สุดในโลกชื่อวา สะพานขามอาวหังโจว โดย<br />

สะพานนี้มีจุดเริ่มตนจากเมืองเจียซิง ทางทิศเหนือและสิ้นสุดที่เมืองหนิงโปทางทิศใต เปนสะพานที่<br />

มีความยาว 36 กิโลเมตร1 ขามอาวหางโจวเชื่อมตอนครเซี่ยงไฮ ซึ่งเมืองทาอุตสาหกรรมที่สําคัญ<br />

ของจีนกับเมืองหนิงโปของมณฑลเจอเจียง สะพานดังกลาวชวยรนระยะทางทางจากเซี่ยงไฮสูหนิง<br />

โปไดกวา 120 กิโลเมตร โครงสรางของสะพานยังสรางเปนถนน 6 ชองทางเปนสะพานที่มีขนาด<br />

ใหญ ซึ่งจีนเชื่อวาจะสามารถเอื้อประโยชนทางดานเศรษฐกิจและชวยลดปญหาการจราจรติดขัดที่<br />

ยังเปนปญหาหลักในเขตเศรษฐกิจตางๆ ทางภาคใตของจีน และชวยรนระยะเวลาการเดินทาง<br />

ระหวางทาเรือที่คับคั่งที่สุด 2 แหงของจีน "หนิงโป-เซี่ยงไฮ" ใหเหลือเพียง 2 ชั่วโมง ลดลงจากเดิม<br />

ครึ่งหนึ่ง<br />

ดานการคมนาคมขนสงทางอากาศ ผลจากในป ค.ศ. 2006 จีนเซ็นสัญญา Bilateral<br />

Agreement กับ 106 ประเทศ ทําใหสายการบินตางชาติ 93 สาย สามารถเปดทําการบินมายังประเทศ<br />

จีน 262 เที่ยวบินตอสัปดาหใน 31 จุดบินของประเทศจีนแผนดินใหญ ซึ่งเปนโอกาสของธุรกิจการ<br />

1<br />

สะพานขามอาวหางโจวทําลายสถิติสะพานขามทะเลชองบาหเรนที่เชื่อมตอระหวางบาหเรนกับซาอุดีอาระเบีย<br />

ซึ่งมีความยาว 25 กิโลเมตร ที่เคยระบุวาเปนสะพานที่ยาวที่สุดในโลกมากอน<br />

5 - 2


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

บินและการทองเที่ยว และเพื่อเพิ่มความสามารถรองรับผูโดยสารที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว รัฐบาลจีนมี<br />

นโยบายจะดําเนินการกอสรางสนามบินเพิ่มอีก 97 แหงภายในป ค.ศ. 2020 จากเดิมที่มีอยู 142 แหง<br />

ในป ค.ศ. 2006 รวมทั้งเพิ่มการพัฒนาคุณภาพของสนามบิน โดยสนามบินนานาชาติโสวตู กรุง<br />

ปกกิ่งไดรับ "รางวัลยอดเยี่ยมดานการพัฒนาสนามบินของศูนยการบินเอเชีย – แปซิฟกประจําป<br />

ค.ศ. 2008" จากศูนยการบินเอเชีย - แปซิฟก (Center for Asia Pacific Aviation หรือ CAPA) ซึ่งเปน<br />

องคกรวิจัยที่ทรงอิทธิพลในแวดวงการบินของภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟกอีกดวย<br />

นอกจากรัฐบาลจีนจะดําเนินนโยบายเกี่ยวกับระบบขนสงแลว ประเทศจีนยังมีเครือขาย<br />

วิทยุและโทรทัศนเคลื่อนที่ขนาดใหญที่สุดของโลก โดยปจจุบัน โทรทัศนมือถือ CMMB ที่จีนวิจัย<br />

และพัฒนาเอง หรือวิทยุมัลติมิเดียเคลื่อนที่ของจีน มีเครือขายการดําเนินงานที่ครอบคลุมทั่ว<br />

ประเทศ โดยสามารถใชงานใน 320 เมืองของจีน ซึ่งถือเปนเครือขายวิทยุและโทรทัศนเคลื่อนที่ที่<br />

ขนาดใหญที่สุดของโลก นอกจากนี้ จีนยังแสดงถึงศักยภาพในดานเครือขายโทรคมนาคมระดับโลก<br />

โดย บริษัท หวาเหวย (บริษัทสื่อสารโทรคมนาคมที่มีชื่อเสียงของจีน) ทําสัญญาการจําหนายระบบ<br />

วิทยุสื่อสารที่ใชในการควบคุมดูแลระบบรางรถไฟในรัฐนิวเซาทเวลล ประเทศออสเตรเลีย รวมกับ<br />

บริษัท ยูจีแอล (UGL) ซึ่งเปนบริษัทวิศวกรรมที่ใหญที่สุดในออสเตรเลียอีกดวย<br />

(2) ในอดีตแรงงานมีราคาถูก แตในปจจุบันแรงงานเริ่มเรียกรองคาตอบแทนเพิ่มขึ้น<br />

กระแสการประทวงเพื่อขอขึ้นคาแร สามารถพบไดในประเทศที่มีอัตราการเติบโตทาง<br />

เศรษฐกิจสูงและรวดเร็ว เชนเดียวกับประเทศจีนที่กําลังประสบปญหาดังกลาว โดยในชวงเดือน<br />

มิถุนายน ค.ศ. 2010 แรงงงานในโรงงานผลิตชิ้นสวนรถยนตฮอนดา (Honda Auto Parts<br />

Manufacturing Co.) ในเมืองฝอซัน มณฑลกวางตุง ประทวงหยุดงาน เรียกรองบริษัทเพิ่มคาแรง จน<br />

ทายที่สุดบริษัทตกลงเพิ่มเงินเดือนใหอีก 366 หยวนแกคนงาน 1,900 คน รวมยอดรายไดจาก<br />

เงินเดือนและเงินสมทบที่คนงานไดรับในแตละเดือน เทากับ 1,910 หยวน หรือ ประมาณ 9,550<br />

บาท<br />

หลังจากการประทวงขอขึ้นคาแรงดังกลาว ทําใหเมืองตางๆ ของจีนทยอยขึ้นคาแรงขั้นต่ํา<br />

เพื่อลดชองวางทางรายได โดยมีผลตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2010 เปนตนไป กรุงปกกิ่งซึ่งเปน 1 ใน<br />

30 เมืองของจีนที่จะขึ้นคาแรงขั้นต่ําในปนี้ จะเพิ่มคาแรงขั้นต่ําขึ้นรอยละ 20 เปน 960 หยวน ซึ่ง<br />

เพิ่มขึ้น 2 เทาของการขึ้นคาแรงในแตละป (อัตราเฉลี่ยรอยละ 10.02) นับตั้งแตมีการใชระบบคาแรง<br />

ขั้นต่ําในป ค.ศ. 1994 โดยปจจุบันเมืองที่มีคาแรงขั้นต่ําสูงที่สุดของจีนคือ เมืองเซี่ยงไฮที่มีคาแรงขั้น<br />

ต่ําสูงที่สุดที่ 1,120 หยวนตอเดือน หรือประมาณ 5,600 บาทตอเดือน<br />

5 - 3


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

(3) ประชากรที่ไดรับการศึกษาระดับอุดมศึกษาเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง<br />

จากขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติ สาธารณรัฐประชาชนจีน พบวา ตั้งแตป ค.ศ. 2004 -<br />

2008 ประเทศจีนมีจํานวนนักศึกษาเขาใหมในระดับการศึกษาตางๆ เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง<br />

โดยเฉพาะในมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับอาชีวศึกษา (แสดงดังภาพที่ 6-1) ในป ค.ศ. 2008<br />

จํานวนนักศึกษาในระดับอุดมศึกษามีทั้งสิ้น 8,370,000 คน คิดเปนสัดสวนตอประชากรทั้งประเทศ<br />

รอยละ 0.63 เปรียบเทียบกับประเทศไทยที่มีจํานวนนักศึกษาใหมในระดับอุดมศึกษา รวมทั้งสิ้น<br />

512,425 คน คิดเปนสัดสวนตอประชากรทั้งประเทศ รอยละ 0.83<br />

ภาพที่ 5-1 แสดงจํานวนนักศึกษาใหมของประเทศจีนในระดับการศึกษาตางๆ<br />

หนวย : หมื่นคน<br />

1000<br />

800<br />

600<br />

400<br />

447<br />

566<br />

822 878<br />

871<br />

840 837<br />

748<br />

810<br />

810<br />

656<br />

504<br />

546 566<br />

608<br />

200<br />

0<br />

2004 2005 2006 2007 2008<br />

จํานวนนักศึกษาใหมระดับอุดมศึกษา จํานวนนักศึกษาใหมระดับอาชีวศึกษา จํานวนนักศึกษาใหมระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย<br />

ที่มา : สํานักสถิติแหงชาติ สาธารณรัฐประชาชนจีน, 2008<br />

(4) การถายทอดดานเทคโนโลยีของผูผลิตรถยนตระดับโลก<br />

รัฐบาลจีนมีเปาหมายโดยรวมเกี่ยวกับการพัฒนาธุรกิจการคาระหวางประเทศ ที่ตองการ<br />

พัฒนาการปรับโครงสรางเกี่ยวกับการนําเขาเทคโนโลยี เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพในการนําเขา<br />

ใหสัดสวนมูลคาสัญญาเกี่ยวกับสิทธิการใชเทคโนโลยีและการใชสิทธิตามสิทธิบัตรตอมูลคาสัญญา<br />

การนําเขาเทคโนโลยีทั้งหมดใหมีมูลคาเพิ่มขึ้นราวรอยละ 50 ควบคูไปกับการเพิ่มสัดสวนใหแกงบ<br />

การลงทุนเพื่อกิจกรรมดานการประยุกตใชเทคโนโลยีที่นําเขามา มุงสรางระบบใหการสงเสริมการ<br />

นําเขาเทคโนโลยีและการสรางนวัตกรรมภายใตโครงสรางที่ใหวิสาหกิจเปนตัวขับเคลื่อน สวนการ<br />

ปฏิบัติใหเปนไปตามภาวะการตลาด โดยอยูภายใตการชี้นําผลักดันอยางจริงจังของหนวยงานรัฐ<br />

และการสนับสนุนของหนวยงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตางๆ เพื่อบรรลุซึ่ง “นําเขา-<br />

5 - 4


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ประยุกตใช-สรางนวัตกรรมใหม-เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันในตลาดโลก” อันเปนวัฏจักร<br />

การนําเขาเทคโนโลยีที่เปนประโยชนตอการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ<br />

ดังนั้นในอุตสาหกรรมยานยนตของจีน ผูผลิตยานยนตที่มีฐานการผลิตในประเทศจีนตาง<br />

ตอบรับนโยบายดังกลาว โดยปจจุบันบริษัทผูประกอบยานยนตตางมีศูนยทดสอบยานยนต หรือ<br />

ศูนยวิจัยและพัฒนาของตนเอง และยังมีศูนยวิจัยที่รวมมือกันกอตั้งขึ้นมา เพื่อลดตนทุน เชน รถยนต<br />

ไฟฟา (Electric Vehicles)<br />

(5) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินหยวนมีความแข็งแกรง<br />

นับตั้งแตมีการปฏิรูประบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินหยวนของเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2005<br />

โดยธนาคารกลางของจีนกําหนดใหคาเงินหยวน มีอัตราแลกเปลี่ยนไมเชื่อมโยงกับเงินดอลลาร<br />

สหรัฐในวันเดียวกัน และเปนระบบที่ลอยตัวที่มีการบริการโดยถือเอาอุปสงคและอุปทานของตลาด<br />

เปนพื้นฐานและปรับปรุงอัตราแลกเปลี่ยนตามระบบตะกราเงิน และยึดตามการเปลี่ยนแปลงของ<br />

อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่ประกาศไวในการบริหารและควบคุมอัตราแลกเปลี่ยนเงิน<br />

หยวน ดังนั้นในชวงปลายป ค.ศ. 2008 ที่เกิดวิกฤตการณการเงินโลก รัฐบาลจีนไดใชมาตรการใน<br />

การควบคุมอัตราแลกเปลี่ยนเงินหยวนใหแกวงตัวนอยลง เพื่อรักษาอัตราแลกเปลี่ยนเงินหยวนตอ<br />

ดอลลารสหรัฐใหคงที่ ทําใหคาเงินหยวนของจีนสงผลตอการฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึง<br />

อุตสาหกรรมยานยนตดวย<br />

5.1.2 อุตสาหกรรมเกี่ยวโยงและสนับสนุน (Related and Supporting Industries)<br />

(1) มีแหลงวัตถุดิบ (เหล็ก) เปนของตนเอง<br />

ขอมูลจาก "รายงานเกี่ยวกับศักยภาพการแขงขันของอุตสาหกรรมจีน ป 2010" ระบุวา<br />

ปริมาณการผลิตเหล็กดิบของจีนในป ค.ศ. 2009 เทากับ 568 ลานตัน มากเปนอันดับหนึ่งของโลก<br />

ซึ่งปริมาณการผลิตดังกลาวมากกวา 2.2 เทาของปริมาณการผลิตของ 4 ประเทศรวมกัน คือ ญี่ปุน<br />

รัสเซีย สหรัฐฯ และอินเดีย<br />

แมจีนจะเปนประเทศผูผลิตเหล็กเปนจํานวนมาก แตจีนก็เปนประเทศผูนําเขาเหล็กมากเปน<br />

อันดับหนึ่งของโลกเชนกัน สาเหตุเพราะ สวนใหญเหล็กที่ผลิตไดมีคุณภาพต่ํา ในขณะที่การผลิต<br />

ยานยนตตองใชเหล็กที่มีคุณภาพสูง ทําใหจีนยังคงตองพึ่งพาการนําเขา<br />

แตอยางไรก็ดี ปจจุบันจีนมีนโยบายในการพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมเหล็ก<br />

ภายในประเทศ โดยสงเสริมการควบรวมกิจการเพื่อลดจํานวนบริษัทผลิตเหล็กลง มีการกําหนดให<br />

บริษัทผลิตเหล็กขนาดเล็กที่มีกําลังการผลิตต่ํากวา 100,000 ตัน/ป ตองปดกิจการหรือควบกิจการเขา<br />

5 - 5


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

กับบริษัทขนาดใหญ ทั้งนี้รัฐบาลตั้งเปาหมายวาบริษัทผลิตเหล็กใหญที่สุด 10 อันดับแรก ตองมี<br />

ผลผลิตรวมทั้งหมดกวารอยละ 50 ของทั้งประเทศ ภายในป ค.ศ. 2010 และเพิ่มขึ้นเปนมากกวา รอย<br />

ละ 70 ภายในป ค.ศ. 2020<br />

(2) มีอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสที่แข็งแกรง<br />

จากการสงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสจากรัฐบาลจีน ทําใหอุตสาหกรรมนี้<br />

เติบโตอยางรวดเร็วทั้งดานการผลิต การตลาด และการใชเทคโนโลยี ทําใหผลิตภัณฑหลายประเภท<br />

มีขนาดตลาดและกําลังการผลิตมากที่สุดของโลก เชน โทรทัศน เครื่องเลนวิดีโอ เครื่องซักผา เปน<br />

ตน และรวมถึงอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอรสวนบุคคลและคอมพิวเตอรในเชิงพาณิชย<br />

อุตสาหกรรมสื่อสารและสารสนเทศทั้งดานเครื่องจักรที่ใชสนับสนุน การสื่อสาร โทรศัพทมือถือ<br />

หรือการออกแบบโปรแกรมตางๆ<br />

การเติบโตของอุตสาหกรรมนี้ นอกจากมาจากการรวมทุนกับบริษัทตางชาติแลว ยังมาจาก<br />

การพัฒนาตนเองของกิจการภายในทองถิ่นใหยอมรับไดในระดับสากล เชน Haier , TCL , Huawei ,<br />

ZTE เปนตน ซึ่งจัดวาเปนบริษัทที่ไมใชบริษัทรวมทุน นอกจากนั้นบริษัทเหลานี้ยังไดพัฒนารวมกับ<br />

บริษัทในตางประเทศ และไดมีการออกไปลงทุนในตางประเทศ เชน Haier ไปลงทุนที่<br />

สหรัฐอเมริกา , TCL ไปลงทุนที่ยุโรปและอินโดนีเซีย รวมทั้งยังมีการตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนา<br />

ผลิตภัณฑที่ตางประเทศดวยเชนกัน เชน Huawei ไปตั้งที่ Silicon Valley ที่สหรัฐอเมริกา และ บัง<br />

กาลอร ที่อินเดีย จึงทําใหอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสและ ICT ของจีนมีการกาวกระโดดอยาง<br />

รวดเร็วจนเปนกลุมนําในระดับสากลทั้งดานปริมาณการผลิต เทคโนโลยี และคุณภาพ อุตสาหกรรม<br />

อิเล็กทรอนิกสเปนอุตสาหกรรมหลักที่ประสบความสําเร็จของจีนอุตสาหกรรมหนึ่ง โดยมีอัตรา<br />

การเติบโตโดยเฉลี่ยปละ 20% ในปจจุบันผลิตภัณฑสินคาอิเล็กทรอนิกสของจีนที่เปนที่หนึ่งของ<br />

โลก ไดแก โทรทัศน เครื่องเลน VCD เครื่องบันทึกเสียง โทรศัพท เครื่องคิดเลข ตูเย็น<br />

เครื่องปรับอากาศ รวมทั้งโทรศัพทมือถือและเครื่องคอมพิวเตอรก็เปนผลิตภัณฑที่มีความสําคัญ<br />

(3) การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตของอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตจีน<br />

จากการใหสัมภาษณของ จอหน ปารกเกอร รองประธานบริหารของบริษัทฟอรด มอเตอร<br />

ฝายเอเชีย-แปซิฟก และแอฟริกา ระบุวา ความสามารถในการแขงขันของจีนในการเปนแหลงผลิต<br />

ชิ้นสวนยานยนตกําลังเพิ่มขึ้นทุกขณะ โดยในป ค.ศ. 2004 – 2008 ภาคการผลิตชิ้นสวนรถยนตของ<br />

จีนมีอัตราการเติบโตรอยละ 30 และในป ค.ศ. 2009 มีมูลคาการผลิตประมาณ 950,000 ลานหยวน<br />

5 - 6


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

และคาดวาจะเพิ่มมากขึ้นเปน 2.5 ลานลานหยวน หรือราว 350,000 ลานดอลลารภายในป ค.ศ. 2015<br />

และจะมีมูลคาการสงออกชิ้นสวนประมาณรอยละ 30 ในขณะที่ปจจุบันสงออกประมาณรอยละ 25<br />

จํานวนผูผลิตชิ้นสวนของจีนหลายพันราย มีการผลิตชิ้นสวนรถยนตที่ครอบคลุมและครบ<br />

วงจร โดยแตกอนมุงการผลิตชิ้นสวน ซึ่งเปนอุปกรณหนัก เชน ลอ หรือเพลารถ แตปจจุบัน ได<br />

ขยายการผลิตในสวนที่มีความซับซอนมากขึ้น เชน ชิ้นสวนซัสเปนชั่น นอกจากนี้ยังพบวา รอยละ<br />

40 ของผูผลิตชิ้นสวนยานยนตจีนที่ถูกสํารวจ แสดงความสนใจเขาควบรวมและซื้อกิจการ<br />

บริษัทผูผลิตชิ้นสวนรายอื่นในประเทศ ขณะที่รอยละ 25 ใหความสําคัญกับตลาดตางประเทศ<br />

ทั้งนี้ อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนของจีนยังมีลักษณะผสมผสานระหวางกิจการ ที่มี<br />

ตางชาติเปนเจาของทั้งหมด และกิจการ ซึ่งเปนการรวมลงทุนระหวางวิสาหกิจรัฐของจีนกับบริษัท<br />

ตางชาติ เชน เซี่ยงไฮ ออโตโมทีฟ อิสดัสทรี (Shanghai <strong>Automotive</strong> Industry Corp.) และบริษัท วีส<br />

ทีออน (Visteon Corp.) นอกจากนั้น ยังมีบริษัทผูผลิตชื้นสวนรถยนตจีน ซึ่งมีชื่อเสียงรูจักกันดีเชน<br />

วั่นเซียง กรุป (Wanxiang Group Corp.) และฟูเหยา กลาสส อินดัสทรี กรุป (Fuyao Glass Industry<br />

Group Co.) ปจจุบันจีนมีจํานวนผูผลิตชิ้นสวนยานยนตมากกวา 4,500 ราย โดยในจํานวนนี้เปนการ<br />

ลงทุนของตางชาติโดยเฉพาะยุโรป สหรัฐฯ ญี่ปุน และเกาหลีใต ประมาณ 1 ใน 3 ซึ่งมีสัดสวน<br />

ตลาดชิ้นสวนในจีนไมต่ํากวารอยละ 60 และยังเปนผูผลิตชิ้นสวนระดับที่ 1 (First-tier Supplier)<br />

(4) ผูผลิตสวนใหญอยูในพื้นที่เดียวกัน<br />

จีนเปนประเทศที่ประสบความสําเร็จอยางสูงในการพัฒนาเพื่อเปนฐานการผลิตสินคา<br />

อุตสาหกรรมของโลก นอกจากตนทุนคาแรงที่ถูกแลว ตนทุนการผลิตสินคาอุตสาหกรรมในจีนยังมี<br />

ความไดเปรียบประเทศสวนใหญในโลก อันเนื่องมาจากการกอตัวขึ้นของเครือขายหวงโซการผลิต<br />

หรือคลัสเตอรอุตสาหกรรมขนาดใหญในจีน ซึ่งชวยลดตนทุนขนสง ตลอดจนการจัดหาวัตถุดิบ<br />

การสต็อกสินคา ชวยลดคาใชจายดานการตลาด และเกิดการถายทอดเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว<br />

โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเสื้อผาและสิ่งทอมีการรวมตัวกันเปนคลัสเตอรขนาดใหญถึง 108 คลัสเตอร<br />

ทั่วประเทศจีน นอกจากนี้ยังมีคลัสเตอรอุตสาหกรรมอื่นที่สําคัญ เชน รองเทา ผาไหม กระเปา<br />

เดินทาง ของเลน เฟอรนิเจอร เปยโน นาฬิกา เครื่องใชไฟฟา คอมพิวเตอร รวมถึงอุตสาหกรรมยาน<br />

ยนตและชิ้นสวนยานยนตดวย<br />

5 - 7


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

5.1.3 เงื่อนไขดานอุปสงค (Demand Conditions)<br />

(1) ตลาดในประเทศมีขนาดใหญ และกําลังเติบโต ทําใหสามารถมีกระบวนการผลิตที่ประหยัด<br />

(Economy of Scale)<br />

ปจจุบันจีนมีปริมาณผลิตและจําหนายรถยนตเปนอันดับหนึ่งของโลก ป ค.ศ. 2009 จีนมี<br />

ปริมาณการผลิตรถยนตจํานวน 13.8 ลานคัน และปริมาณการจําหนาย 13.6 ลานคัน โดยจากการ<br />

แถลงขาวของสมาคมอุตสาหกรรมรถยนตแหงประเทศจีน (CAAM: China Association of<br />

Automobile Manufacturers) กลาววา ในป ค.ศ. 2010 อุตสาหกรรมรถยนตของจีนจะยังคงพัฒนา<br />

อยางตอเนื่อง และอัตราเติบโตของการผลิตรถยนตจะอยูที่รอยละ 10 โดยตลอดปจะมีปริมาณการ<br />

ผลิตสูงถึง 15 ลานคัน ซึ่งจากการที่จีนมีปริมาณการผลิตจํานวนมาก ทําใหสามารถบริหารตนทุน<br />

การผลิตตอหนวยใหอยูในระดับต่ํา จึงมีความสามารถแขงขันในตลาดรถยนตระดับโลกได<br />

(2) ผูบริโภคในประเทศมีกําลังซื้อเพิ่มขึ้น<br />

จากขอมูลของสํานักสถิติแหงชาติสาธารณรัฐประชาชนจีน พบวา ปริมาณเงินฝากออม<br />

ทรัพยภาคครัวเรือนของชาวจีนทั้งที่อยูในเขตเมืองและชนบท มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นอยาง<br />

ตอเนื่อง ตั้งแตป ค.ศ. 2004-2008 โดยปริมาณเงินฝากออมทรัพยภาครัวเรือนในป ค.ศ. 2004 มี<br />

มูลคา 119,555 รอยลานหยวนตอป (หรือประมาณเกือบ 60 ลานลานบาท) และในป ค.ศ. 2008<br />

จํานวนเงินฝากออมทรัพยภาคครัวเรือน มีมูลคา 217,885 หยวนตอป (หรือประมาณ 100 ลานลาน<br />

บาท)<br />

เมื่อพิจารณารายไดสุทธิของชาวจีนในเมืองเฉลี่ยตอคน (Per Capita Disposable income of<br />

Urban) ในป ค.ศ. 2004 มีมูลคา 9,422 หยวนตอป (หรือประมาณ 47,000 บาทตอป) และในป ค.ศ.<br />

2008 รายไดสุทธิของชาวจีนในเมืองเฉลี่ยตอคนมีมูลคา 15,781 หยวนตอป (หรือประมาณ 79,000<br />

บาทตอป) จะเห็นไดวา ปจจุบัน ชาวจีนมีรายไดเพิ่มขึ้นเปนอยางมาก ประกอบกับการที่รัฐบาลจีนมี<br />

นโยบายลดความเลื่อมล้ําทางสังคม และเนนการบริโภคภายในประเทศ ทดแทนการนําเขา จึงสงผล<br />

ใหประชาชนชาวจีนมีรายไดและกําลังซื้อเพิ่มขึ้น<br />

(3) คนจีนที่มีรายไดสูงนิยมซื้อรถยนตสี่ประตูที่หรูหราและมีสไตล เนนเรื่องของความกวางภายใน<br />

รถ<br />

ชาวจีนที่มีรายไดสูง นิยมบริโภคสินคาที่อยูในระดับ Luxury พิจารณาจากการแบงประเภท<br />

รถยนตที่จัดอยูในกลุมขนาดกลาง (Midsize Car Segment) ไดแก Honda Accord, Toyota Camry,<br />

Nissan Teana, Volkswagen Passat และ Buick Lacrosse สวนรถยนตที่จัดอยูในระดับ Luxury ใน<br />

5 - 8


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ตลาดจีน ไดแก Audi A6L และ A4L, Lexus ES-Series, BMW 5 Series และ Mercedes-Benz E-<br />

Class ในขณะที่ตลาดรถยนตในเมืองไทยนั้น รถยนต Model Honda Accord, Toyota Camry,<br />

Nissan Teana, Volkswagen Passat จัดอยูในกลุมรถยนตนั่งขนาดใหญ<br />

นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาปริมาณการจําหนายรถยนตนั่งขนาดกลางและหรูหราในประเทศ<br />

จีนในครึ่งปแรกของป ค.ศ. 2010 (มกราคมถึงมิถุนายน) พบวา ปริมาณการจําหนายรถยนตขนาด<br />

กลาง มีจํานวน 750,207 คัน เติบโตรอยละ 44 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมา และปริมาณ<br />

การจําหนายรถยนตในระดับหรูหรามีจํานวน 205,038 คัน เติบโตรอยละ 55 (China <strong>Automotive</strong><br />

Monthly, July 2010, J.D. Power)<br />

5.1.4 บริบทการแขงขันและกลยุทธทางธุรกิจ (Context for Firm Strategy and<br />

Rivalry)<br />

(1) มาตรการสงเสริมของภาครัฐ<br />

รัฐบาลจีนใหการสนับสนุนสงเสริมอุตสาหกรรมยานยนต ไปพรอมๆ กับการเติบโตทาง<br />

เศรษฐกิจ และกระแสของภาวะกดดันดานเทคโนโลยีรวมถึงผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม<br />

โดยมาตรการสงเสริมอุตสาหกรรมยานยนตของรัฐบาลจีนที่สําคัญไดแก<br />

• เพิ่มสัดสวนรถยนตแบรนดจีนใหมากขึ้น ในการจัดซื้อจัดจางรถยนตของภาครัฐ<br />

• ใหเงินอุดหนุนแกประชาชนที่ซื้อรถยนตคันใหมแทนที่รถยนตคันเกาที่สรางมลภาวะสูง<br />

ในวงเงินตั้งแต 3,000 – 6,000 หยวน และตอมาไดขยายวงเงินอุดหนุนเปน 18,000 หยวน<br />

โดยมาตรการนี้มีกําหนดระยะเวลา 1 ป เริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน 2009 ถึงเดือนมิถุนายน<br />

2010<br />

• มีระบบการเงินที่สนับสนุนการใชจายของภาคครัวเรือน และสนับสนุนการลงทุนของ<br />

ภาคเอกชน โดยรัฐบาลจีนมีการใหเครดิตในการลงทุนแบบกาวหนาโดย 4 ธนาคารใหญ<br />

คือ Construction Bank of China, Industrial Commercial and Bank of China, Bank of<br />

China และ Agricultural Bank of China<br />

• อุดหนุนรถยนตประหยัดพลังงานและพลังงานสะอาด ไดแก Electric Vehicles, Hybrid<br />

Fuel Cell<br />

• สงเสริมการผลิตตราสินคาที่เปนของจีน<br />

5 - 9


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

(2) บริษัทผูผลิตรถยนตตางชาติเกือบทุกคายเขามาลงทุนเพื่อขายในประเทศจีน<br />

บริษัทผูผลิตรถยนตในระดับโลกตางเล็งเห็นถึงการแสวงหากําไรในตลาดรถยนตประเทศ<br />

จีน ดวยขนาดตลาดที่ใหญ คาแรงถูกเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย ประกอบกับการมี<br />

อุตสาหกรรมสนับสนุนที่แข็งแกรงคือ อุตสาหกรรมเหล็ก และอิเล็คทรอนิคส ทําใหบริษัทรถยนต<br />

ตางเขามาลงทุนตั้งโรงงานผลิตรถยนตในประเทศจีนเปนจํานวนมาก โดยผูผลิตรถยนตระดับโลก<br />

ตางมีการเพิ่มกําลังการผลิต การสรางโรงงานแหงใหมในจีน แตอยางไรก็ดี จีนยังมีการจํากัด<br />

สัดสวนการถือหุนของบริษัทตางชาติ<br />

(3) ผูผลิตรถยนตทุกรายมีแนวโนมผลิตรถยนตพลังงานสะอาด หรือพลังงานทางเลือก<br />

การที่ผูผลิตรถยนตทุกรายมีแนวโนมผลิตรถยนตพลังงานสะอาดหรือพลังงานทางเลือก<br />

ทั้งนี้เปนไปตามนโยบายสรางความมั่นคงดานพลังงานของจีน ที่เนนการแสวงหาแหลงพลังงาน<br />

ทางเลือกอื่นๆ ทดแทนน้ํามัน เชน การสงเสริมการใชกาซธรรมชาติเหลว "เอ็นจีวี" และ "แอลเอ็นจี"<br />

เอทานอลที่ผลิตจากพืช<br />

ภาพที่ 5-2 แสดงศักยภาพในการแขงขันของอุตสาหกรรมการผลิตยานยนตประเทศจีน<br />

GOV<br />

มาตรการสงเสริมของภาครัฐ (+)<br />

การลงทุนจากบริษัทผูผลิตรถยนตตางชาติ (+)<br />

การผลิตรถยนตพลังงานสะอาด หรือพลังงานทางเลือก (+)<br />

Context for<br />

Firm<br />

Strategy<br />

and Rivalry<br />

ตลาดมีขนาดใหญ เติบโตสูง มี Economy of Scale (+)<br />

ผูบริโภคในประเทศมีกําลังซื้อเพิ่มขึ้น (+)<br />

ผูมีรายไดสูงนิยมใชรถยนตหรูหราและมีสไตล<br />

Factor<br />

(Input)<br />

Conditions<br />

Demand<br />

Conditions<br />

ระบบขนสง ของประเทศยังไมครอบคลุม (-)<br />

การเรียกรองการขึ้นคาแรง (-)<br />

แรงงานมีการศึกษาสูงขึ้น (+)<br />

ไดรับการถายทอดเทคโนโลยียานยนตระดับโลก (+)<br />

ระบบอัตราแลกเปลี่ยนมีความแข็งแกรง (+)<br />

Supporting<br />

and Related<br />

Industries<br />

มีวัตถุดิบ (เหล็ก) เปนของตนเอง (+)<br />

มีอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสที่แข็งแกรง (+)<br />

การพัฒนาการผลิตของอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต (+)<br />

ผูผลิตสวนใหญอยูในพื้นที่เดียวกัน (+)<br />

5 - 10


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

5.2 การวิเคราะหโดยใช SWOT<br />

เทคนิคการวิเคราะห SWOT เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับวิเคราะหและประเมินวาธุรกิจมีจุด<br />

แข็ง (Strengths) จุดออน (Weakness) โอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats) อยางไร<br />

เพื่อที่จะนําไปใชในการวางแผนและกําหนด กลยุทธทางการบริหารตอไป ซึ่งจากขอมูลการ<br />

วิเคราะหศักยภาพในการแขงขันของอุตสาหกรรมการผลิตยานยนตจีนในขางตน สามารถสรุป<br />

ปจจัยที่เปนสงผลทางบวก ทางลบ รวมถึงอุปสรรคและโอกาสของอุตสาหกรรมยานยนตจีนไดดังนี้<br />

5.2.1 จุดแข็ง (Strengths: S)<br />

(1) จีนมีขนาดตลาดที่ใหญทั้งทางดานปริมาณและมูลคา โดยปจจุบันมีปริมาณการผลิตและ<br />

จําหนายรถยนตเปนอันดับ 1 ของโลก<br />

(2) มีปจจัยการผลิตรวมถึงอุตสาหกรรมสนับสนุนที่สงผลทางบวกตออุตสาหกรรมยายนต<br />

เชน มีจํานวนแรงงานมาก คาแรงที่ยังอยูในระดับแขงขันได อุตสาหกรรมอิเล็คทรอนิคส<br />

อุตสาหกรรมเหล็กที่จีนมีทรัพยากรเปนของตนเอง และปจจุบันผลิตเหล็กเปนอันดับ 1 ของ<br />

โลก<br />

(3) ศักยภาพของอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต ที่ปจจุบันมีการพัฒนาดานเทคโนโลยีในการ<br />

ผลิตที่มีความซับซอนมากขึ้น และมีการรวมกลุมเปนคลัสเตอรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ<br />

ผลิตรวมถึงอํานาจในการตอรอง<br />

(4) รัฐบาลจีนมีมาตรการที่สนับสนุนสงเสริมอยางจริงจัง โดยมีการกําหนดมาตรการตางๆ เพื่อ<br />

เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การถายโอนดานเทคโนโลยี รวมถึงการกระตุนการบริโภคของ<br />

ประชาชนที่มีความสอดคลองกับสถานการณ นอกจากนี้ การควบคุมโดยสวนกลาง ทําให<br />

นโยบายพัฒนาชัดเจน ทําไดรวดเร็ว เชน นโยบายรถยนตพลังงานทางเลือก รวมทั้ง<br />

สามารถสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานที่เกี่ยวของรองรับไดรวดเร็ว<br />

5 - 11


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

5.2.2 จุดออน (Weakness: W)<br />

(1) ประสิทธิภาพการใชปจจัยการผลิตยังอยูในระดับต่ํา แมวาจีนจะมีคาแรงที่ถูก และจํานวน<br />

แรงงานมากมาย แตหากเมื่อเทียบกับประสิทธิผลตอคนแลวยังอยูในระดับต่ํา รวมถึงการใช<br />

ปจจัยดานพลังงานตางๆ ที่ยังคงตองใชในปริมาณมาก จนรัฐบาลจีนมีนโยบายในการลด<br />

การใชพลังงานและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตใหเนนการใชเทคโนโลยีในระดับสูง<br />

(2) สาธารณูปโภคพื้นฐานของจีนยังไมครอบคลุมพื้นที่ แมวาจีนจะมีการเรงลงทุนระดับ<br />

สาธารณูปโภคพื้นฐาน ระบบโลจิสติกสจํานวนมหาศาล แตดวยขนาดพื้นที่ของประเทศที่มี<br />

ขนาดใหญและครอบคลุมพื้นที่มีภูมิศาสตรแตกตางกัน ทําใหจีนยังตองเรงปรับปรุงระบบ<br />

สาธารณูปโภคพื้นฐานใหมีความครอบคลุมพื้นที่ และมีความเชื่อมโยงมากขึ้น<br />

(3) ภาพลักษณของสินคาอุตสาหกรรมของจีนยังอยูในระดับต่ําในสายตาชาวโลก หากประเทศ<br />

จีนตองการที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศจีน จําเปนจะตองมีการ<br />

สรางภาพลักษณของประเทศใหม โดยตองมีคุณภาพในระดับสากล<br />

(4) ปญหาขอพิพาทระหวางประเทศ ทั้งในดานการทุมตลาดของจีนและดานทรัพยสินทาง<br />

ปญญา โดยจีนมักมีปญหาขอพิพาทระหวางประเทศเกี่ยวกับการทุมตลาดสินคาเกษตรและ<br />

อุตสาหกรรม โดยเฉพาะกับกลุมประเทศยุโรป และสหรัฐอเมริกา ซึ่งลวนแลวแตเปนการ<br />

ผิดกฎระเบียบขององคกรการคาโลกที่จีนรวมเปนสมาชิก นอกจากนี้ จีนยังเปนประเทศที่<br />

มีการลักลอบเลียนแบบตราสินคาตางๆ รวมถึงสินคารถยนตเปนจํานวนมาก ซึ่งปญหา<br />

เหลานี้สงผลตอภาพลักษณสินคาของจีน<br />

5.2.3 โอกาส (Opportunities: O)<br />

(1) กระแสการทําเขตการคาเสรีในระดับตางๆ สงผลใหประเทศที่ทําขอตกลงดังกลาวกับจีน มี<br />

การเจรจาเพื่อขอไดเปรียบ การแลกเปลี่ยนสิทธิประโยชนตางๆ เพื่อที่สามารถเจาะตลาด<br />

สินคาตางๆ รวมถึงสินคายานยนตในประเทศจีน<br />

(2) การเปลี่ยนถายการลงทุนจากโลกตะวันตก มายังโลกตะวันออก รวมถึงการที่ประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกา และยุโรปตางประสบปญหาการฟนตัวทางเศรษฐกิจ ถือเปนโอกาสของจีนที่<br />

จะสามารถดึงดูดบริษัทยานยนตระดับโลกใหเขามาลงทุน และสามารถถายโอนดาน<br />

เทคโนโลยีการผลิตสูประเทศจีน<br />

(3) รัฐบาลจีนมีนโยบายสนับสนุนยานยนตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และประหยัดพลังงาน<br />

โดยแสวงหาพลังงานทางเลือกอื่นๆ จึงเปนโอกาสใหสินคายานยนตที่มีลักษณะเฉพาะมี<br />

5 - 12


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

การเติบโต และมีโอกาสที่จีนจะเปนฐานการผลิตยานยนตที่ใหญและมีเทคโนโลยีขั้นสูงใน<br />

ระดับโลกตอไป<br />

5.2.4 อุปสรรค (Threats: T)<br />

(1) การตอบโตการทุมตลาดของประเทศอื่นๆ ที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจโลกอยาง<br />

สหรัฐอเมริกา และยุโรป สงผลตอการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนตจีนในระดับโลก<br />

(2) วัฒนธรรม สังคม และภาษา ของประชาชนจีน ที่ยังคงมีกระแสนิยมรักชาติอยูในระดับสูง<br />

การใชภาษากวา 80% ยังคงใชภาษาจีนกลาง ประกอบกับวัฒนธรรมและสังคมของ<br />

ประชาชนที่ไมคอยเปนระเบียบเรียบรอย ตางสงผลตอการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรม<br />

ของประเทศ<br />

(3) กฎ ระเบียบในการทําธุรกิจในประเทศจีน จีนมีการวางกฎระเบียบตางๆ ในการทําธุรกิจที่<br />

คอนขางปกปองอุตสาหกรรมและคนในประเทศ ทําใหประเทศตางๆ ที่เขามาลงทุนในจีน<br />

ตางพบกับปญหาในการดําเนินธุรกิจ เชน ปญหาดานแรงงาน เปนตน<br />

ภาพที่ 5-3 แสดงตารางสรุปการวิเคราะห SWOT ของอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีน<br />

จุดแข็ง (Strengths: S)<br />

(1) ขนาดตลาดที่ใหญทั้งทางดานปริมาณและมูลคา<br />

(2) มีปจจัยการผลิต อุตสาหกรรมสนับสนุนที่สงผล<br />

ทางบวกตออุตสาหกรรมยานยนต<br />

(3) ศักยภาพของอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต<br />

(4) รัฐบาลจีนมีมาตรการสนับสนุนอยางจริงจัง<br />

โอกาส (Opportunities: O)<br />

(1) การทําเขตการคาเสรีในระดับตางๆ<br />

(2) การเปลี่ยนถายการลงทุนจากโลกตะวันตก<br />

(3) รัฐบาลจีนมีนโยบายสนับสนุนยานยนต<br />

จุดออน (Weakness: W)<br />

(1) ประสิทธิภาพการใชปจจัยการผลิตยังอยูในระดับต่ํา<br />

(2) สาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมครอบคลุมพื้นที่<br />

(3) ภาพลักษณของสินคาจีนยังอยูในระดับต่ําในสายตา<br />

ชาวโลก<br />

(4) ปญหาขอพิพาทระหวางประเทศ<br />

อุปสรรค (Threats: T)<br />

(1) การตอบโตการทุมตลาดของประเทศอื่นๆ<br />

(2) วัฒนธรรม สังคม และภาษา ของประชาชนจีน<br />

(3) กฎ ระเบียบในการทําธุรกิจในประเทศจีน<br />

5 - 13


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

5.3 การเปรียบเทียบความสามารถทางการแขงขันระหวางอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีนและประเทศไทย<br />

จากขอมูลสภาพแวดลอมทั้งภายใน และภายนอกของอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีน ซึ่งมีทั้งปจจัยที่สงผลทางบวก และปจจัยที่สงผลทางลบตอ<br />

อุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีน และเมื่อนําปจจัยตางๆ มาเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทย สามารถสรุปไดดังตอไปนี้<br />

ตารางที่ 5-1 แสดงการเปรียบเทียบศักยภาพการแขงขันของอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีนกับประเทศไทย<br />

วัตถุดิบพื้นฐาน ประเทศจีน ประเทศไทย<br />

เหล็ก • มีเหล็กเปนของตนเอง และกําลังอยูระหวางการพัฒนาการผลิตเหล็กที่มี<br />

ประสิทธิภาพสูง<br />

ยางพารา • กําลังลงทุนขยายพื้นที่ปลูกยางพาราในประเทศแถบอาเซียน เพื่อรองรับการ<br />

บริโภคที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง<br />

พลาสติก • ปจจุบันจีนเปนผูนําเขาเม็ดพลาสติกมากที่สุดในโลก โดยจีนยังประสบปญหา<br />

การพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมีที่สําคัญคือ<br />

- การผลิตไมเพียงพอตออุปสงคในประเทศ<br />

- โครงสรางอุตสาหกรรมปโตรเคมีตนน้ําที่ถูกผูกขาดโดยภาครัฐ<br />

- ปญหาการตรวจสอบการทุมตลาด<br />

อยางไรก็ดีอุตสาหกรรมปลายน้ําของจีนสามารถผลิตไดในตนทุนที่ต่ํามาก<br />

แรงงาน<br />

• มีแรงงานเปนจํานวนมาก และไดรับการศึกษาในระดับมัธยมปลาย<br />

อาชีวศึกษา และอุดมศึกษาเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง<br />

• ปจจุบันมีการเรียกรองการขึ้นคาแรงขั้นต่ํามากขึ้น<br />

• Supply Chain ยังไมสมบูรณ คือ ไมมีอุตสาหกรรมเหล็กตนน้ําที่สามารถ<br />

รองรับความตองการของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของไดเพียงพอ<br />

• ปจจุบันเปนผูผลิตยางพาราธรรมชาติอันดับ 1 ของโลก<br />

• ตองนําเขาวัตถุดิบเม็ดพลาสติกจากตางประเทศ แตอุตสาหกรรมกลางน้ํา และ<br />

ปลายน้ํา ถือวาอยูในระดับที่สามารถรองรับความตองการในประเทศได<br />

• ปจจุบัน ประสบปญหาขาดแคลนแรงงานฝมือ<br />

• บางโรงงานประสบปญหาการเรียกรองเงินพิเศษในแตละป<br />

5 - 14


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

นโยบายของรัฐ ประเทศจีน ประเทศไทย<br />

แผนพัฒนาฯ แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 11<br />

• การสรางนวัตกรรมของตนเอง ปรับปรุงการวิจัยและพัฒนาของตนใหดีขึ้น<br />

• สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนตดานการประหยัดพลังงานและ<br />

การใชพลังงานทดแทนอื่นๆ เชน พลังงานไฮบริด (Hybrid Power) เปนตน<br />

• การปรับเปลี่ยนโครงสราง ในแงของโครงสรางผลิตภัณฑ การวิจัยและ<br />

สนับสนุนเรื่องรถยนตที่ใชพลังงานทางเลือก ใหอยูในขั้นตอนของการ<br />

ทดลองรถยนตที่ใชพลังงานที่ไมมีวันหมด สวนในแงโครงสราง<br />

อุตสาหกรรม เริ่มตนการสรางตราสินคาของตนเองและการพัฒนาของกลุม<br />

อุตสาหกรรมขนาดใหญ<br />

นโยบายสงเสริมการ<br />

ลงทุน<br />

นโยบายดาน<br />

พลังงานทดแทนใน<br />

รถยนต<br />

• กําหนดเขตสงเสริมการลงทุนตามประเภทกิจการ<br />

• สนับสนุนเงินลงทุนโดยใหธนาคารปลอยกูในอัตรากาวหนา<br />

• กําหนดพื้นที่การใชรถยนตประหยัดพลังงานและพลังงานใหม<br />

• โครงการใหเงินอุดหนุนแกผูซื้อรถยนตที่ใชพลังงานสีเขียว<br />

• สนับสนุนการใชรถยนตไฮบริด (Hybrid-Electric Vehicle)ตามแผนการ<br />

แผนแมบทอุตสาหกรรมยานยนต ระยะ2 (2007-2011)<br />

• การเปนฐานการผลิตยานยนตที่สําคัญของเอเชียที่มีความสามารถในการแขงขัน<br />

สูง<br />

• การเปนศูนยกลางการวิจัย ออกแบบ และวิศวกรรม ที่สําคัญของเอเชีย/แปซิฟก<br />

• การพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนตมีความสามารถในระดับสากลทั้ง<br />

ในดานการบริหารธุรกิจยานยนตและในการพัฒนาและการผลิต<br />

• พัฒนาตลาดอาเซียนที่มีโครงสรางการผลิตที่เชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ เปน<br />

ฐานของตลาดที่สําคัญที่มีมาตรฐานที่สอดคลองกันนําไปสูความไดเปรียบใน<br />

ระดับกําลังผลิตและความสามารถในการสงออกยานยนตและ ชิ้นสวนไปสู<br />

ตลาดโลก<br />

• การสงเสริมและสนับสนุนการลงทุน และการเชื่อมโยงอุตสาหกรรม<br />

• รถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (Eco Cars)<br />

• รถยนตที่ใชกาซธรรมชาติ<br />

• รถจักรยานยนตขนาดใหญ (มากกวา 500 CC)<br />

• รถยนตนั่งที่มีขนาดการผลิตสูง<br />

• กําหนดเพดานราคา NGV<br />

• ยกเวนอากรนําเขาเครื่องยนตรถใช NGV และอุปกรณที่เกี่ยวของ รวมทั้ง<br />

อะไหล และถัง NGV<br />

5 - 15


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

นโยบายของรัฐ ประเทศจีน ประเทศไทย<br />

พัฒนารถยนตพลังงานใหมป ค.ศ. 2011 – 2020 • ลดอัตราอากรน้ํามัน E85<br />

นโยบายกระตุน<br />

ตลาดภายใน<br />

ประเทศและแบรนด<br />

รถยนตทองถิ่น<br />

นโยบายเขตการคา<br />

เสรี<br />

• ปรับเปลี่ยนนโยบายในการซื้อรถยนตของหนวยงานรัฐบาลจีนที่ใชในงาน<br />

ทั่วไป โดยจะกําหนดคุณภาพและราคาในระดับที่ต่ําลง<br />

• การลดภาษีซื้อ (Sales Tax) ของรถยนตขนาดเล็กสวนบุคคล (ขนาด<br />

เครื่องยนตต่ํากวา 1,600 ซีซี) ลงครึ่งหนึ่งเหลือรอยละ 5<br />

• การใหเงินอุดหนุนจํานวน 5,000 ลานหยวนหรือประมาณรอยละ 10 ของ<br />

ราคาซื ้อขายแกผูซื้อรถยนตในชนบท<br />

• มียุทธศาสตรในการทํา FTA กับประเทศเพื่อนบาน ประเทศในภูมิภาค<br />

ประเทศที่มีศักยภาพดานโลจิสติกสที่เชื่อมโยงสูประเทศตนเอง และ<br />

ประเทศที่มีศักยภาพดานพลังงานเชื้อเพลิง ไดแก<br />

1. จีน-อาเซียน 2. จีน-ปากีสถาน<br />

3. จีน-เปรู 4. จีน-ชิลี<br />

5. จีน-สิงคโปร 6. จีน-นิวซีแลนด<br />

7. จีน-มาเกา 8. จีน-ฮองกง<br />

• ปจจุบัน เนนกระตุนเศรษฐกิจโดยรวม อุตสาหกรรมที่มีความเชื่อมโยงกับ<br />

อุตสาหกรรมอื่นสูง เชน อสังหาริมทรัพย หรือถาเปนการลดภาษีรถยนต มักจะ<br />

ลดกับสินคายานยนตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เชนรถยนตที่ใช E20, E85 หรือ<br />

NGV เปนตน<br />

• มียุทธศาสตรในการทํา FTA กับประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ ตลาดเดิม<br />

ขยายตลาดใหมที่ศักยภาพ ตลาดที่สามารถเชื่อมตอกับตลาดอื่นๆ (ตลาดประตู<br />

การคา) และตลาดภูมิภาค ไดแก<br />

1. อาเซียน 2. อาเซียน-จีน<br />

3. ไทย-อินเดีย 4. ไทย-ออสเตรเลีย<br />

5. ไทยนิวซีแลนด 6. ญี่ปุน-ไทย<br />

7. อาเซียน-ญี่ปุน 8. ไทย-เปรู<br />

9. อาเซียน-เกาหลี 10. อาเซียน-ออสเตรเลีย-<br />

5 - 16


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

บทที่ 6<br />

บทสรุปและขอเสนอแนะ<br />

เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทย<br />

6.1 บทสรุป<br />

อุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีนมีความสําคัญตออุตสาหกรรมยานยนตโลก ดวยมูลคา<br />

ตลาดที่มีขนาดใหญ มีวัตถุดิบที่สําคัญตอการผลิต ตลอดจนความกาวหนาดานเทคโนโลยี<br />

ภายในประเทศ ทําใหประเทศผูนําตลาดยานยนตโลกตางจับตามอง รวมถึงแสวงหาผลประโยชน<br />

จากการเขาไปลงทุนในประเทศจีน เพื่อเปนฐานการผลิตยานยนตในภูมิภาคเอเชีย ดังนั้น การศึกษา<br />

ถึงอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีนจึงมีความสําคัญตออุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทย<br />

ทั้งผูผลิตและภาครัฐ<br />

การศึกษาศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตของจีนฉบับนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใหทราบถึง<br />

โอกาสและอุปสรรคของผูผลิตในประเทศไทยในการเปนคูคาและคูแขงกับประเทศจีน รวมทั้งเพื่อ<br />

เปนประโยชนตอภาครัฐ ในฐานะผูกําหนดนโยบายสําหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตของ<br />

ประเทศไทย<br />

รายงานการศึกษาเริ่มตนจากการรวบรวมขอมูลทั่วไปของประเทศจีน จากนั้นจึงศึกษาถึง<br />

พัฒนาการของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน ที่เริ่มตนดวยความชวยเหลือจากสหภาพ-<br />

โซเวียต ไปสูการกําหนดนโยบายการกอตั้งโรงงานรถยนตภายในประเทศ และการปฏิรูประบบ<br />

เศรษฐกิจและใชนโยบายเปดประเทศตามลําดับ<br />

ผลจากการเปดประเทศโดยประเทศจีนเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก สงผลให<br />

อุตสาหกรรมยานยนตจีนเกิดการเติบโตแบบกาวกระโดด รัฐบาลจีนประกาศนโยบายเพื่อพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมยานยนตเปนการเฉพาะ 2 ฉบับ ในป ค.ศ. 1994 และ ค.ศ. 2004 ซึ่งสาระสําคัญของ<br />

นโยบายป ค.ศ. 1994 ถือเปนการเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐจีนอยางชัดเจน เพราะนโยบาย<br />

มุงมั่นใหระบบตลาดเปนสิ่งขับเคลื่อนอุตสาหกรรม<br />

อุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีนเติบโตอยางตอเนื่อง จนกระทั่งป ค.ศ. 2008 ที่เกิด<br />

วิกฤติเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก ทําใหในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2009 รัฐบาลจีนออกรางนโยบายการ<br />

พัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต ฉบับใหม ป ค.ศ. 2009-2011 โดยเนนการกระตุนการบริโภค<br />

ภายในประเทศ สวนดานผูผลิตเนนการพัฒนาและยกระดับความสามารถของผูประกอบการ ผลการ<br />

ดําเนินนโยบายดังกลาวของรัฐบาลจีน ทําใหในป ค.ศ. 2009 ประเทศจีนมีอัตราการผลิตและ<br />

6 - 1


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

จําหนายรถยนตเพิ่มขึ้น รอยละ 48 และ รอยละ 45 ตามลําดับ ดวยปริมาณการผลิตและจําหนาย 13.8<br />

และ 13.6 ลานคัน ตามลําดับ ในขณะที่ประเทศผูผลิตยักษใหญเชน ประเทศสหรัฐอเมริกาและญี่ปุน<br />

มีอัตราการเติบโตของการผลิตลดลงประมาณรอยละ 30<br />

หลังจากรวบรวมขอมูลอุตสาหกรรมยานยนตจีนแลว ผูศึกษาไดวิเคราะหศักยภาพของ<br />

อุตสาหกรรม โดยใชการวิเคราะหแบบ Porter’s Model และ SWOT Analysis ผลการวิเคราะห<br />

พบวา<br />

อุตสาหกรรมจีนมีจุดแข็ง (Strengths) ในเรื่องตลาดที่ใหญทั้งทางดานปริมาณและมูลคา<br />

รวมทั้งมีปจจัยการผลิตรวมถึงอุตสาหกรรมสนับสนุนที่สงผลทางบวกตออุตสาหกรรมยายนต<br />

โดยเฉพาะอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต นอกจากนี้ รัฐบาลจีนมีมาตรการที่สนับสนุนสงเสริมอยาง<br />

จริงจัง โดยมีการกําหนดมาตรการตางๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การถายโอนดานเทคโนโลยี<br />

รวมถึงการกระตุนการบริโภคของประชาชนที่มีความสอดคลองกับสถานการณ<br />

สวนจุดออน (Weakness) ของอุตสาหกรรมยานยนตจีน ไดแก ประสิทธิภาพการใชปจจัย<br />

การผลิตยังอยูในระดับต่ํา ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมครอบคลุมทุกพื้นที่ ภาพลักษณของ<br />

สินคาอุตสาหกรรมของจีนยังอยูในระดับต่ําในสายตาชาวโลก และปญหาขอพิพาทระหวางประเทศ<br />

ทั้งในดานการทุมตลาดของจีนและดานทรัพยสินทางปญญา<br />

สําหรับโอกาส (Opportunities) ของอุตสาหกรรมยานยนตจีน ไดแก ประโยชนจากการทํา<br />

เขตการคาเสรีของจีนกับประเทศตางๆ และการเปลี่ยนถายการลงทุนจากโลกตะวันตก มายังโลก<br />

ตะวันออก รวมถึงรัฐบาลจีนมีนโยบายสนับสนุนยานยนตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และประหยัด<br />

พลังงาน โดยแสวงหาพลังงานทางเลือกอื่นๆ จึงเปนโอกาสใหสินคายานยนตที่มีลักษณะเฉพาะมี<br />

การเติบโต และมีโอกาสที่จีนจะเปนฐานการผลิตยานยนตที่ใหญและมีเทคโนโลยีขั้นสูงในระดับ<br />

โลกตอไป<br />

และอุปสรรค (Threats) ของอุตสาหกรรมยานยนตจีน ไดแก วัฒนธรรม สังคม และภาษา<br />

ของประชาชนจีน ที่ยังคงมีกระแสนิยมรักชาติอยูในระดับสูง และกฎ ระเบียบในการทําธุรกิจใน<br />

ประเทศจีน ที่คอนขางปกปองอุตสาหกรรมและคนในประเทศ ทําใหประเทศตางๆ ที่เขามาลงทุน<br />

ในจีนตางพบกับปญหาในการดําเนินธุรกิจ เชน ปญหาดานแรงงาน เปนตน<br />

ผลจากการรวบรวมขอมูลอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีนและการวิเคราะหที่ผานมา ผู<br />

ศึกษามีขอเสนอแนะตอผูผลิตในภาคอุตสาหกรรม และภาครัฐในฐานะผูกําหนดนโยบายดังนี้<br />

6 - 2


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

6.2 ขอเสนอแนะ<br />

ลักษณะของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนตนั้น เปนอุตสาหกรรมที่ผูผลิตมีอํานาจเหนือ<br />

ตลาด รวมทั้งมีอํานาจการกําหนดราคาเหนือผูผลิตชิ้นสวนที่สงเปนวัตถุดิบสําหรับการผลิตรถยนต<br />

ดวยเหตุนี้ บริษัทผูผลิตรถยนต ซึ่งมีเพียงไมกี่รายในโลก จึงตางแสวงหาแหลงผลิตที่ทําใหบริษัทมี<br />

ตนทุนการผลิตต่ําที่สุด นอกจากนี้ ยังตองคํานึงถึงขนาดของตลาดในประเทศดวย ดวยเหตุผลที่<br />

สําคัญสองประการดังกลาว จึงทําให ประเทศจีนจึงเปนแหลงดึงดูดการลงทุนของบริษัทรถยนตขาม<br />

ชาติ<br />

แมประเทศจีนจะมีความไดเปรียบในดานขนาดตลาด รวมทั้งมีทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

แรงงานจํานวนมากก็ตาม แตจากการศึกษาและวิเคราะหศักยภาพอุตสาหกรรมยานยนตของ<br />

ประเทศจีนในบทที่ผานมา พบวา ผูมีบทบาทสําคัญที่ใหอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศจีน<br />

เติบโตและกลายเปนประเทศผูผลิตยานยนตรายสําคัญของโลกดังเชนปจจุบัน คือ ภาครัฐ ดวยเหตุที่<br />

ประเทศจีนมีการปกครองจากสวนกลาง ทําใหการกําหนดนโยบายเปนไปอยางชัดเจน ดําเนินการ<br />

ไดอยางรวดเร็ว และดําเนินการไดสอดคลองทั้งระบบ อาทิ เมื่อรัฐบาลประกาศสนับสนุนการผลิต<br />

รถยนตประหยัดพลังงาน / พลังงานทางเลือกแลว ภาครัฐไดสนับสนุนทั้งผูผลิต ผูบริโภค รวมทั้ง<br />

สรางสาธารณูปโภคที่เกี่ยวของ เพื่อรองรับการใชรถยนตประเภทดังกลาว เมื่อพิจารณาในบริบท<br />

ของประเทศไทย การสั่งการจากสวนกลางเชนประเทศจีน อาจทําไดไมงายนัก แตการดําเนินการ<br />

อยางสอดคลองเปนระบบ ก็เปนตัวอยางใหเห็นแลววาเกิดประสิทธิผลที่ชัดเจน<br />

แตอยางไรก็ตาม ดวยกระแสโลกที่มุงเขาสูโลกไรพรมแดน มีการคาแบบเสรี การดําเนิน<br />

นโยบายโดยการสั่งการเชนรัฐบาลจีนที่ผานมา อาจไมไดรับการยอมรับและอาจถูกตอตานจาก<br />

ประเทศตางๆ ดังนั้น การดําเนินการดวยความรวมมือของภาครัฐและเอกชนจึงจะทําใหเกิด<br />

ประสิทธิผลสูงสุด ตัวอยางที่ดีประการหนึ่งของผูผลิตในอุตสาหกรรมยานยนตจีน คือ การรวมกลุ ม<br />

ผูผลิตชิ้นสวนยานยนตที่มีศักยภาพเปนคลัสเตอร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มเทคโนโลยี<br />

ในการผลิตชิ้นสวนเฉพาะทาง และเพื่อเพิ่มอํานาจตอรอง โดยภาครัฐเปนผูอํานาจความสะดวกใน<br />

ระบบโครงสรางพื้นฐาน<br />

เมื่อพิจารณาผลกระทบตอผูผลิตในอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทยแลว ผูศึกษามี<br />

ความเห็นวา ผูบริโภคของประเทศจีนและไทยมีรสนิยมการบริโภคแตกตางกัน ทําใหตลาดรถยนต<br />

นั่งของทั้งสองประเทศแตกตางกันดวย ในระยะสั้น การเติบโตของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนตใน<br />

ประเทศจีนจึงไมสงผลกระทบตอผูผลิตรถยนตในประเทศไทย แตในระยะยาว หากตลาดใน<br />

ประเทศจีนอิ่มตัว และผูผลิตตองการแสวงหาตลาดใหม โดยใชประโยชนจากการประหยัดตอขนาด<br />

(Economy of Scale) ในประเทศแลว ผูผลิตในประเทศไทยอาจไดรับผลกระทบได<br />

6 - 3


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

แมวาประเทศจีนจะมีศักยภาพในอุตสาหกรรมการผลิตรถยนตนั่ง แตประเทศไทยเอง ก็มี<br />

ศักยภาพในอุตสาหกรรมยานยนตที่มีลักษณะเฉพาะทาง คือ รถกระบะขนาด 1 ตัน ที่ประเทศไทย<br />

ยังคงสามารถรักษาความเปน Product Champion ไวได และสามารถสงออกไปประเทศตางๆ ทั่ว<br />

โลก ซึ่งเมื่อพิจารณาลักษณะของตลาดรถยนตของจีนนั้น พบวา อาชีพเกษตรกรยังถือเปนอาชีพ<br />

สวนใหญของชาวจีน และสินคาเกษตรกรรมของจีน ยังถือเปนสินคาที่สรางรายไดใหแกชาวจีนใน<br />

ชนบท ดังนั้น การขนสงโดยใชรถเพื่อการพาณิชย เชน รถกระบะขนาด 1 ตันยังคงมีชองทางการจัด<br />

จําหนายอยู ดังนั้นอุตสาหกรรมรถปคอัพและชิ้นสวนยานยนตที่เกี่ยวของ จึงถือเปนกลุมสินคาที่<br />

ไทยมีศักยภาพ และมีโอกาสในการเติบโตในอุตสาหกรรมยานยนตจีนตอไป<br />

6 - 4


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาคผนวก<br />

เรื่อง หนา<br />

(1) สรุปนโยบายอุตสาหกรรมยานยนตจีน ป ค.ศ. 1994 1<br />

(2) สรุปนโยบายอุตสาหกรรมยานยนตจีน ป ค.ศ. 2004 2<br />

(3) ขอมูลผูผลิตรถยนตบรรทุกและรถโดยสารในประเทศจีน 5<br />

(4) ขอมูลผูผลิตชิ้นสวนยานยนตตางชาติรายสําคัญในประเทศจีน 10<br />

(5) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 ป ค.ศ. 2006 - 2010 13<br />

(6) การสํารวจขอมูล ณ เมืองเซี่ยงไฮ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน 26


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาคผนวก (1)<br />

สรุปนโยบายอุตสาหกรรมยานยนตจีน ป ค.ศ. 1994<br />

1 วัตถุประสงค เพื่อเปดตลาดในประเทศและตางประเทศ โดยการสนับสนุนการ<br />

ผลิตขนาดใหญเพื่อใชประโยชนจากการประหยัดตอขนาด<br />

2 การอนุมัติการผลิต ผูประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนตตองไดรับอนุมัติแผนการ<br />

ผลิตกอน จึงจะขายสินคานั้นๆได<br />

3 องคกรที่เกี่ยวของ กอตั้งกลุมอุตสาหกรรมยานยนต เพื่อสนับสนุนการผลิตและการ<br />

ทําวิจัยและพัฒนา (R&D)<br />

4 นโยบายเทคโนโลยี สงเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ<br />

5 นโยบายการลงทุน สงเสริมผูประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต โดยการระดมทุน<br />

จากแหลงตางๆ<br />

6 นโยบายสงเสริมการ สงเสริมการรวมทุน (Joint Venture) กับตางชาติ<br />

ลงทุนจากตางชาติ<br />

7 นโยบายการนําเขา มีขอจํากัดการนําเขา โดนสามารถนําเขาไดที่ทาเรือ 4 ทาที่กําหนด<br />

ไวเทานั้น และหามนําเขารถยนตที่ใชแลว<br />

8 นโยบายการสงออก สงเสริมการสงออก โดยใหสินเชื่อสําหรับบริษัทที่มีการสงออก<br />

รถยนตนั่ง (Passenger Car) มากกวารอยละ 3-8% ของยอดขาย<br />

ประจําป<br />

9 นโยบายการใชวัตถุดิบใน<br />

ประเทศ<br />

หามใช Knock-down kits และใชอัตราภาษีต่ํากับผูผลิตที่ใช<br />

วัตถุดิบภายในประเทศ<br />

10 นโยบายการบริโภค สงเสริมการเปนเจาของรถยนตสวนบุคคล และปลอยใหราคา<br />

รถยนตเปนไปตามกลไกตลาด (นอกจากรถยนต Saloon รัฐจะ<br />

เปนผูกําหนดราคา)<br />

11 นโยบายเกี่ยวกับ<br />

อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ<br />

ที่มา: Holweg, Luo and Oliver (2005)<br />

ประสานงานและพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (โลหะ, วัสดุ, ทุน<br />

อุปกรณอิเล็กทรอนิกส, ยาง, พลาสติกและแกว) รวมทั้งพัฒนา<br />

โครงสรางพื้นฐาน<br />

ภาคผนวก - 1


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาคผนวก (2)<br />

สรุปนโยบายอุตสาหกรรมยานยนตจีน ป ค.ศ. 2004<br />

1 วัตถุประสงค - ยืนยันในหลักการ การรวมระบบตลาดและการวางแผนจากสวนกลางเขา<br />

ดวยกัน<br />

- สงเสริมการพัฒนาเพื่อการเปนหนึ่งเดียวกันของอุตสาหกรรมยานยนตและ<br />

อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ<br />

- ผลักดันการปรับโครงสรางอุตสาหกรรม<br />

- สงเสริมการผลิตเพื่อใหไดประโยชนจากการประหยัดตอขนาด<br />

- สงเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑโดยพึ่งตนเองและพัฒนาผลิตภัณฑทองถิ่น ซึ่งมี<br />

วัตถุประสงคเพื่อสรางตราสินคาที่มีชื่อเสียงและอยูในระดับโลก (Top 500)<br />

กอนป ค.ศ. 2010<br />

- เปนประเทศหนึ่งในโลกที่เปนผูผลิตและสงออกรถยนตรายใหญ<br />

- พัฒนาผูผลิตในทองถิ่นและสงเสริมการมีสวนรวมในการแขงขันระดับโลก<br />

2 การวางแผนเพื่อ<br />

พัฒนา<br />

3 นโยบาย<br />

เทคโนโลยี<br />

4 การปรับ<br />

โครงสราง<br />

อุตสาหกรรม<br />

- The National Development and Reform Commission (NDRC) วางแผน<br />

ยุทธศาสตรระยะกลางและระยะยาว และบริษัทรถยนตขนาดใหญ (สวนแบง<br />

ตลาดมากกวารอยละ 15) ตองวางแผนยุทธศาสตรของตนเองตามแผน<br />

ยุทธศาสตรของ NDRC รวมทั้งตองไดรับการอนุมัติจาก NDRC<br />

- ยืนยันในหลักการ การรวมการถายทอดเทคโนโลยีจากตางชาติและพัฒนา<br />

ผลิตภัณฑโดยพึ่งตนเอง<br />

- สนับสนุนดานภาษีสําหรับรถยนตที่ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ<br />

- สงเสริมยานยนตที่ใชพลังงานไฟฟาหรือพลังงานผสม (Hybrid)<br />

- สงเสริมการใชพลังงานทดแทนทั้งเมทานอล เอทานอล กาซธรรมชาติและ<br />

อื่นๆ<br />

กําหนดกฎเกณฑเพื่อ<br />

- สงเสริมการรวมกลุมของผูผลิตยานยนตรายใหญ (สวนแบงตลาดมากกวา<br />

รอยละ 15) หรือการรวมตัวเปนพันธมิตร<br />

- สงเสริมความรวมมือระดับโลกและการดําเนินงานของ บริษัทรถยนตทองถิ่น<br />

- สงเสริมการซื้อหรือควบรวมกิจการระหวางประเทศ<br />

- แยกการผลิตชิ้นสวนยานยนตออกจากการประกอบรถยนต<br />

ภาคผนวก - 2


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

5 การบริหาร<br />

จัดการกอตั้ง<br />

ธุรกิจ<br />

6 กลยุทธการสราง<br />

ตราสินคา<br />

7 การพัฒนา<br />

ผลิตภัณฑ<br />

8 อุตสาหกรรม<br />

ชิ้นสวนยาน<br />

ยนต<br />

9 การกระจาย<br />

สินคา และ<br />

เครือขายการจัด<br />

จําหนาย<br />

- กอตั้งเทศบัญญัติการจัดการยานยนต (Bylaw of Motor Vehicle<br />

Management)<br />

- กําหนดเกณฑมาตรฐานความปลอดภัย, การปลอยมลพิษ, การประหยัดน้ํามัน<br />

และอื่นๆ<br />

- กําหนดเกณฑสําหรับการบริหารจัดการธุรกิจยานยนต<br />

- สงเสริมการสรางผลิตภัณฑของตนเอง โดยเนนเรื่องการคุมครองทรัพยสิน<br />

ทางปญญาและปรับปรุงชื่อเสียงตราสินคาทองถิ่น<br />

- สนับสนุนการวางแผนกลยุทธในการพัฒนาผลิตภัณฑทองถิ่นและการ<br />

คุมครองทรัพยสินทางปญญา<br />

- ผลิตภัณฑยานยนต (ทั้งรถยนตและชิ้นสวน) ตองระบุตราสินคาและสถานที่<br />

ผลิต<br />

- สงเสริมและสนับสนุนการกอตั้งศูนยวิจัยและพัฒนา (R&D) สําหรับผูผลิตใน<br />

อุตสาหกรรมยานยนต<br />

- สนับสนุนใหผูผลิตชิ้นสวนยานยนตมีสวนรวมกับผูประกอบรถยนตในการ<br />

พัฒนาผลิตภัณฑ<br />

- จัดตั้งศูนยวิจัยและพัฒนา (R&D) ระดับสูง เพื่อปอนเขาสูตลาดตางประเทศ<br />

- สงเสริมแหลงเงินทุนแกผูผลิตชิ้นสวนยานยนต<br />

- สงเสริมการเรียนรูการดําเนินธุรกิจแบบนานาชาติ<br />

- สงเสริมการสรางตราสินคาทองถิ่น<br />

10 การลงทุน - กําหนดใหตองมีชาวจีนถือหุนในบริษัทประกอบรถยนตไมนอยกวารอยละ<br />

50 ยกเวนเปนผูผลิตเพื่อการสงออก<br />

- การกอตั้งบริษัทรถยนตรายใหม ตองมีเงินลงทุนไมนอยกวา 2 พันลานหยวน<br />

11 นโยบายการ<br />

นําเขา<br />

- สนับสนุนการใชชิ้นสวนภายในประเทศ สําหรับสินคาสงออก<br />

- มีกฎเกณฑการนําเขา โดยสามารถนําเขาไดที่ทาเรือ 4 แหงหรือดาน 2 แหงที่<br />

กําหนดไว<br />

- หามนําเขายานยนตที่ใชแลว<br />

12 การบริโภค - สงเสริมการใช Auto credit<br />

- ปรับปรุงนโยบายการประกันภัย<br />

ภาคผนวก - 3


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

12 การบริโภค (ตอ) - กําหนดเกณฑการซื้อขายรถมือสอง<br />

- สงเสริมใหภาคเอกชนซื้อรถยนต<br />

- สงเสริมรถยนตขนาดเล็ก ที่มีประสิทธิภาพ ปลอยมลพิษในระดับต่ํา<br />

- หามการดําเนินนโยบายที่แตกตางกันกับสินคาที่ไมไดผลิตในทองถิ่นนั้น<br />

- สงเสริมการลงทุนการสรางที่จอดรถและสาธารณูปโภคที่เกี่ยวของอื่นๆ<br />

- กําหนดมาตรฐานการปลอยมลพิษ<br />

- กําหนดมาตรฐานการจดทะเบียนและตรวจสภาพรถยนต<br />

ที่มา: Holweg, Luo and Oliver (2005)<br />

ภาคผนวก - 4


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาคผนวก (3)<br />

ขอมูลผูผลิตรถยนตบรรทุกและรถโดยสารในประเทศจีน<br />

ผูผลิตรถบรรทุก 1<br />

บริษัทผูผลิต Anhui Hualing Automobile Group Co., Ltd.<br />

บริษัทในเครือ<br />

1. Anhui Xingma Automobile Co., Ltd (Xingma Automobile)<br />

2. Anhui Hualing Heavy-duty Automobile Co., Ltd (Hualing Heavy Auto)<br />

3. 0unan Xingma Heavy-Duty Truck Co., Ltd (Hunan Xingma)<br />

ผลิตภัณฑที่ผลิต Heavy Duty Truck<br />

บริษัทผูผลิต Anhui Jianghuai Automobile Co., Ltd. (JAC)<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1964 (ชื่อเดิม Hefei Jianghuai Automobile)<br />

บริษัทผูผลิต Baotou Beifang Benchi Heavy Duty Truck<br />

ผลิตภัณฑที่ผลิต Heavy Duty Truck<br />

Dump Truck<br />

Tractor<br />

Special Truck<br />

บริษัทผูผลิต Beiqi Foton Motor Co., Ltd. / Beijing<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1996<br />

บริษัทผูผลิต China National Heavy Duty Truck Group Co., Ltd. (CNHTC) / Shangdong<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1935 (ชื่อเดิม Jinan Automobile Works: JAW)<br />

บริษัทในเครือ<br />

1. Jinan Truck Co., Ltd.<br />

2. Jinan Commercial Vehicle Co., Ltd.<br />

3. Jinan Power Co., Ltd.<br />

4. Jinan Axle Co. Ltd.<br />

5. Jinan Special Vehicle Co., Ltd.<br />

6. Jinan Bus Co., Ltd<br />

7. Huawo Truck Co., Ltd.<br />

8. Qingdao Special Vehicle Company<br />

9. Taian Wuyue Special Vehicle Company<br />

10. Jining Refitting Vehicle Company<br />

11. Jinan Park Machine Company<br />

1<br />

ที่มา: http://www.chinatrucks.com/manufacturers/<br />

ภาคผนวก - 5


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ผลิตภัณฑที่ผลิต Heavy Duty Truck: Huanghe<br />

Heavy Duty Truck: Steyr<br />

Heavy Duty Truck: Volvo<br />

บริษัทผูผลิต Dongfeng Motor Corporation (DFM)<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1969<br />

ผลิตภัณฑที่ผลิต Light Duty Truck: Xiangfan<br />

บริษัทผูผลิต FAW Group Corporation / Changchun<br />

(Jiefang Commercial Truck Division)<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1953<br />

ผลิตภัณฑที่ผลิต Light Truck: FAW<br />

Medium Truck: FAW<br />

Heavy Truck: FAW<br />

บริษัทผูผลิต Jinhua Youngman Automobile Co. Ltd. / Zhejiang<br />

ผลิตภัณฑที่ผลิต Heavy Duty Truck: MAN<br />

บริษัทผูผลิต SAIC-IVECO Hongyan Commercial Vehicle Co. Ltd. / Chongqing<br />

บริษัทผูผลิต Shaanxi Automobile Group Co., Ltd.<br />

บริษัทในเครือ<br />

1. Shaanxi Heavy-duty Automobile Co., Ltd<br />

2. Shaanxi Baoji Huashan Vehicle Co., Ltd<br />

3. Shaanxi HanDe Axle Co., Ltd<br />

4. Shaanxi Eurostar Automobile Co., Ltd<br />

5. Shaanxi Heavy-duty parts and components Co., Ltd<br />

6. Shaanxi Tongli Special Vehicle Co., Ltd<br />

7. Shaanxi HuaHeng Radiator Co., Ltd<br />

8. Shaanxi WanFang Auto parts and components Co., Ltd<br />

9. Shaanxi Huazhen Industry and trade Co., Ltd<br />

10. Shaanxi LanTong Shaft Co., Ltd<br />

11. Shaanxi Heavy-duty bus Affiliated Co., Ltd<br />

ผลิตภัณฑที่ผลิต Heavy-Duty Truck: STEYR<br />

ภาคผนวก - 6


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ผูผลิตรถโดยสาร 2<br />

บริษัทผูผลิต Anhui Ankai Automobile Co., Ltd. / Anhui<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1997<br />

แบรนดที่ผลิต Mercedes Benz, Ankai Setra<br />

กําลังการผลิต Bus and Chassis 14,200 คัน<br />

บริษัทผูผลิต Anhui Ankai Vehicle Manufacturing Co., Ltd. / Anhui<br />

กําลังการผลิต 15,000 คัน<br />

บริษัทผูผลิต Anhui JAC Coaches Co., Ltd. / Anhui<br />

กําลังการผลิต 12,000 คัน<br />

บริษัทผูผลิต Beiqi Foton Motor Co., Ltd. / Beijing<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1996<br />

แบรนดที่ผลิต Auman, AUV, View, Saga, Aumark, Ollin, Sup, Forland<br />

บริษัทผูผลิต Changan Bus Co., Ltd / Changan<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1962<br />

บริษัทผูผลิต Chongqing Hengtong Bus Co., Ltd. / Chongqing<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1939<br />

กําลังการผลิต 10,000 คัน<br />

บริษัทผูผลิต DongFeng Automobile Co., Ltd.<br />

บริษัทผูผลิต Dongfeng Hangzhou Motor Co., Ltd. / Hangzhou<br />

บริษัทผูผลิต Guilin Daewoo Bus Co., Ltd.<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1994<br />

แบรนดที่ผลิต Daewoo, Daewoo<br />

บริษัทผูผลิต Henan Shaolin Auto Co., Ltd. / Henan<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1983<br />

แบรนดที่ผลิต Shaolin<br />

บริษัทผูผลิต HIGER BUS Company Limited<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1998<br />

กําลังการผลิต 18,000 คัน<br />

2<br />

ที่มา: http://www.chinabuses.org/manufacturers/index.html<br />

ภาคผนวก - 7


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

บริษัทผูผลิต Jiangsu Alfa Bus Co., Ltd.<br />

กําลังการผลิต 5,000 คัน<br />

บริษัทผูผลิต Jiangsu YOUYI Automobile Co., Ltd.<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1973<br />

กําลังการผลิต 6,000 คัน<br />

บริษัทผูผลิต Jiangxi KAMA business bus Co., Ltd. / Jiangxi<br />

กอตั้ง ค.ศ.<br />

แบรนดที่ผลิต Bonluck<br />

บริษัทผูผลิต Liaoning Shuguang <strong>Automotive</strong> Corp. Ltd. (SG)<br />

กอตั้ง ค.ศ. 2002<br />

ผูถือหุน Dandong Shuguang Axles Co., Ltd. 51 %<br />

Liaoning Huanghai Automobile (Group) Co., Ltd. 49 %<br />

กําลังการผลิต Buses 5,000 คัน<br />

Bus Chassis 6,000 ชิ้น<br />

บริษัทผูผลิต Mudan Automobile Shares Co., Ltd. / Jiangsu<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1973<br />

กําลังการผลิต 20,000 คัน<br />

บริษัทผูผลิต Shanghai Sunlong Bus Co., Ltd. / Shanghai<br />

บริษัทผูผลิต Shanghai Sunwin Bus Corporation / Shanghai<br />

ผูถือหุน Shanghai <strong>Automotive</strong> Industry (Group) Corp. (SAIC) 50 %<br />

Volvo (China) Investment Corp. (VIC)<br />

Volvo Bus Corp. 50 % (Sweden)<br />

แบรนดที่ผลิต Volvo<br />

กําลังการผลิต Bus 2,500 คัน<br />

Chassis 500 ชิ้น<br />

บริษัทผูผลิต Shangrao Coach Factory<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1969<br />

บริษัทผูผลิต Shenzhen Wuzhoulong Automobile Co., Ltd.<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1987<br />

กําลังการผลิต 5,000 คัน<br />

ภาคผนวก - 8


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

บริษัทผูผลิต The Youngman Coach Company<br />

(Jinhua Youngman Automobile Manufacturing Co., Ltd.)<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1999<br />

แบรนดที่ผลิต Neoplan<br />

กําลังการผลิต 10,000 คัน<br />

บริษัทผูผลิต Volvo Bus Corporation<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1994<br />

บริษัทผูผลิต Xiamen Golden Dragon Bus Co. Ltd.<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1992<br />

แบรนดที่ผลิต Golden Dragon<br />

กําลังการผลิต Large and Medium Size 15,000 คัน<br />

Small Size 25,000 คัน<br />

บริษัทผูผลิต Xiamen King Long United <strong>Automotive</strong> Industry Co., Ltd<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1988<br />

ผูถือหุน Xiamen <strong>Automotive</strong> Industry Corporation 50 %<br />

Xiamen State-owned Assets Investment Co., Ltd. 25 %<br />

Sanyang industry Co., Ltd. 25 % (Taiwan)<br />

กําลังการผลิต 13,000 คัน<br />

บริษัทผูผลิต Yangzhou Yaxing Motor Coach Co., Ltd. / Yangzhou<br />

บริษัทผูผลิต Zhengzhou Yutong Bus Co., Ltd. / Zhengzhou<br />

กอตั้ง ค.ศ. 1993<br />

บริษัทผูผลิต ZhongTong Bus Holding Co., Ltd<br />

แบรนดที่ผลิต ZhongTong<br />

กําลังการผลิต 10,000 คัน<br />

บริษัทผูผลิต Zonda Group Automobile Industry Department (Zonda Group)<br />

กอตั้ง ค.ศ.<br />

กําลังการผลิต 5,000 คัน<br />

ภาคผนวก - 9


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาคผนวก (4)<br />

ขอมูลผูผลิตชิ้นสวนยานยนตตางชาติรายสําคัญในประเทศจีน 3<br />

Calsonic Kansei (ญี่ปุน)<br />

• กอตั้งในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2003 ดวยเงินลงทุน 8.6 ลานเหรียญสหรัฐ<br />

• มีโรงงาน 2 แหงที่ Xiangfan (Hubei) และ Huadu (Guangdong)<br />

Cummins Corp (สหรัฐอเมริกา)<br />

• กอตั้งกิจการจํานวน 15 แหงในประเทศจีน โดยมีทั้งกิจการที่ลงทุนเองทั้งหมด และกิจการ<br />

รวมทุน<br />

• ประกอบดวยศูนยใหบริการ 8 แหง และผูแทนจําหนายอยางเปนทางการ 70 แหง<br />

• รวมทุนกับ Donfeng โดยถือหุนรอยละ 50 ภายใตบริษัทชื่อ Dongfeng Cummins Engine<br />

Company<br />

Delphi <strong>Automotive</strong> Systems (สหรัฐอเมริกา)<br />

• ลงทุนมากกวา 500 ลานเหรียญสหรัฐ ในกิจการ 12 แหง โดย 10 แหงเปนกิจการรวมทุน<br />

• ประกอบดวย ศูนยบริการลูกคา 3 แหง ศูนยบริการทางเทคนิค 1 แหง และศูนยฝกอบรม 1<br />

แหง<br />

• ขายสินคาใหผูประกอบรถยนตในประเทศจีน และสงออกไปทั่วโลก โดยเฉพาะในทวีป<br />

ยุโรปและอเมริกาเหนือ<br />

Denso Corp. (ญี่ปุน)<br />

• กอตั้งโรงงานผลิต 6 แหง โดยการรวมทุนกับผูผลิตในประเทศจีน<br />

• มีแผนพัฒนาความรวมมือกับบริษัทผูประกอบรถยนตจากตางชาติในประเทศจีน เพื่อเพิ่ม<br />

ปริมาณการจําหนาย<br />

GM Daewoo Auto & Tech. Group (สหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต)<br />

• รวมทุนกับ FirstAuto / Daewoo Auto Engines Co., Ltd. และ Shandong-Daewoo Auto<br />

Parts & Components Co., Ltd.<br />

3<br />

ที่มา: Holweg, Luo and Oliver (2005)<br />

ภาคผนวก - 10


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

Hyundai Mobis (เกาหลีใต)<br />

• ประกอบดวยโรงงานผลิต Module parts 3 แหง และศูนยกระจายสินคา โดยตั้งอยูที่ Jiangsu<br />

Beijing และShanghai<br />

Honeywell (สหรัฐอเมริกา)<br />

• เงินลงทุน 500 ลานเหรียญสหรัฐ ในกิจการ 22 แหง โดยเปนกิจการลงทุนเองทั้งหมดและ<br />

กิจการรวมทุน<br />

• ในป ค.ศ. 2002 มีมูลคาการจําหนายมากกวา 570 ลานเหรียญสหรัฐ<br />

ITT Industries (สหรัฐอเมริกา)<br />

• แผนก Connectors & Switches ของบริษัท ไดรวมทุนกับผูผลิตในประเทศจีน 2 ราย โดย<br />

หนึ่งในนั้น มีโรงงานผลิต 4 แหง<br />

Johnson Controls (สหรัฐอเมริกา)<br />

• รวมทุนกับผูผลิตทองถิ่น กอตั้งกิจการ 11 แหงในเมืองหลักของประเทศจีน<br />

• ในปค.ศ. 2003 มีรายไดมากกวา 800 ลานเหรียญสหรัฐ<br />

Koito Manufacturing Co. (ญี่ปุน)<br />

• ตั้งอยูที่เมือง Shanghai โดยเปนกิจการรวมทุนเพื่อผลิตชิ้นสวนยานยนตมากกวา 100<br />

รายการ<br />

• กอตั้งศูนยเทคนิคขึ้นในป ค.ศ. 2000<br />

Robert Bosch (เยอรมนี)<br />

• ลงทุน 600 ลานเหรียญสหรัฐ โดยประกอบดวย สํานักงานตัวแทน 10 แหง บริษัทจําหนาย<br />

4 แหง และศูนยบริการบํารุงรักษาและซอมแซม 150 แหง<br />

• ป ค.ศ. 2004 กอตั้งศูนยเทคนิค และคาดวาในป ค.ศ. 2010 จะกอตั้งศูนยใหบริการหลังการ<br />

ขายจํานวน 1,000 แหง<br />

SKF (สวีเดน)<br />

• กอตั้งกิจการรวมทุน 2 แหง คือ Anhui Zhongding CR Seals Ltd. ผลิต Oil seals และ<br />

Beijing Nankou SKF Railway Bearings Co., Ltd.<br />

TRW <strong>Automotive</strong> (สหรัฐอเมริกา)<br />

• กิจการ 9 แหง โดยเปนกิจการรวมทุน 7 แหง<br />

• ผูรวมทุนทองถิ่นที่สําคัญคือ SAIC และ FAWER <strong>Automotive</strong> Parts Co.<br />

ภาคผนวก - 11


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

Tong Yang (ไตหวัน)<br />

• กอตั้งกิจการ 6 แหง โดยเปนกิจการรวมทุน 3 แหง<br />

• โรงงานตั้งอยูที่ Changchun Chongqing Fuzhou Guangzhou Jiangsu และ Tianjin<br />

TYC Brother Industrial Co. Ltd. (ไตหวัน)<br />

• กอตั้งโรงงาน 8 แหง เพื่อผลิตไฟหนารถยนต<br />

• มีแผนขยายการผลิตที่ Changzhou Tamao Lighting Co. เพื่อใหเปนผูผลิตไฟหนารถยนต<br />

รายใหญที่สุดของประเทศจีน<br />

Visteon Corporation<br />

• กอตั้งกิจการ 17 แหงในประเทศจีน<br />

• ในป ค.ศ. 2002 ยายสํานักงานใหญของภูมิภาคเอเชีย จากโตเกียวมาอยูที่เซี่ยงไฮ<br />

• ในป ค.ศ. 2002 มีมูลคาการจําหนายในประเทศจีน 550 ลานเหรียญสหรัฐ<br />

Zahnradfabrik Friedrichshafen (เยอรมนี)<br />

กอตั้งกิจการ 6 แหง เพื่อผลิต Transmissions Driveline และระบบ Steering<br />

ภาคผนวก - 12


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาคผนวก (5)<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 ป ค.ศ. 2006 - 2010<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจประชาชาติและสังคม (กอน “แผนพัฒนาเศรษฐกิจประชาชาติและ<br />

สังคม 5 ป ฉบับที่ 11” เรียกวา แผนพัฒนา 5 ป) เปนสวนประกอบสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ<br />

ประชาชาติและสังคมของประเทศจีน ที่สําคัญเปนการวางแผนจัดความสัมพันธเกี่ยวกับสัดสวนของ<br />

โครงการสรางสรรคขนาดใหญ เกี่ยวกับสัดสวนของการจัดวางพลังการผลิตและเกี่ยวกับการจัด<br />

สัดสวนของเศรษฐกิจประชาชาติทั่วทั้งประเทศ ในประเทศจีนนั้น นอกจากชวงป ค.ศ. 1949 – สิ้น<br />

ป 1952 เปนชวงระยะฟนฟูเศรษฐกิจประชาชาติและชวงป ค.ศ. 1963 – 1965 เปนชวงระยะปรับ<br />

ขบวนแลวเริ่มตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ป ฉบับแรกในป ค.ศ. 1953 จนถึงปจจุบัน ไดจัดทํา<br />

แผนพัฒนา 5 ปมาแลว 11 ฉบับ โดยปจจุบันประเทศจีนกําลังอยูในปลายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่<br />

11 ซึ่งมีสาระสําคัญดังนี้<br />

(1) แผนพัฒนา 5 ป ฉบับที่ 11 (ค.ศ. 2006 – 2010): เปดประเทศปฏิรูป 4<br />

เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม ค.ศ. 2005 ที่ประชุมคณะกรรมการกลางเต็มคณะครั้งที่ 5 สมัยที่ 16<br />

ของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศจีนไดพิจารณาและลงมติผาน “ขอเสนอคณะกรรมการกลาง<br />

พรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศจีนเกี่ยวกับการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 5 ป ฉบับที่ 11”<br />

ซึ่งไดกําหนดความคิดชี้นําและเปาหมายการพัฒนาในชวงระยะของแผนพัฒนา 5 ป ฉบับที่ 11 ซึ่งก็<br />

คือ จะตองดําเนินการปฏิบัติทัศนะการพัฒนาที่เปนวิทยาศาสตรทั่วทุกดานโดยยึดถือทฤษฎีเติ้ง<br />

เสี่ยว ผิง และความคิดอันสําคัญวาดวย “ตัวแทน 3 ประการ” เปนสิ่งชี้นํายืนหยัดการพัฒนาเปน<br />

เรื่องสมเหตุสมผล ยืนหยัดกุมการพัฒนาอันเปนภารกิจอันดับหนึ่งของพรรคในการบริหารประเทศ<br />

และทําใหประเทศเจริญรุงเรืองใหดี ยืนหยัดยึดถือการสรางเศรษฐกิจเปนศูนยกลาง ยืนหยัดใช<br />

วิธีการพัฒนาและวิธีการปฏิรูปมาแกปญหาระหวางการกาวไปขางหนา จะตองใชทัศนะการพัฒนา<br />

ที่เปนวิทยาศาสตรมาคุมสถานการณในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยตลอดอยางเด็ดเดี่ยวและ<br />

ไมโลเล ยืนหยัดยึดถือคนเปนสิ่งมูลฐาน เปลี่ยนทัศนคติในการพัฒนา สรางรูปแบบการพัฒนาใหม<br />

ๆ ยกระดับคุณภาพในการพัฒนา ดําเนินการปฏิบัติแผน “เตรียมการอยางเปนเอกภาพ 5 ประการ”<br />

นําพาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมหันเขาสูกรอบแหงความสมดุลทั่วทุกดานและพัฒนา<br />

ตอเนื่องกันไดจริง ๆ แผนพัฒนา 5 ป ดังกลาวไดระบุภาระหนาที่สําคัญใหญ ๆ 7 ประการ ในการ<br />

4<br />

ที่มา : ศูนยขอมูลกฎหมายจีน กระทรวงพาณิชย (http://www.chineselawclinic.moc.go.th/)<br />

ภาคผนวก - 13


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตลอดจนการเปดประเทศปฏิรูปอยางชัดเจน ดังนี้คือ ประการที่หนึ่ง<br />

สรางชนบทใหมแบบสังคมนิยม ประการที่สอง ขับเคลื่อนการเพิ่มขีดขั้นของการใหโครงสราง<br />

อุตสาหกรรมอยูเหนือสิ่งอื่น ประการที่สาม สงเสริมการพัฒนาภูมิภาคอยางสมดุล ประการที่สี่<br />

สรางสังคมในรูปประหยัดทรัพยากรและในรูปเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ประการที่หา ปฏิรูประบบ<br />

อยางซึมลึกและยกระดับการเปดประเทศตอโลกภายนอก ประการที่หก ดําเนินยุทธศาสตรการทํา<br />

ใหประเทศเจริญรุงเรืองดวยวิทยาศาสตรและการศึกษาและยุทธศาสตร การทําใหประเทศเขมแข็ง<br />

ดวยบุคลากรอยางซึมลึก และ ประการที่เจ็ด ขับเคลื่อนการสรางสังคมสมานฉันทแบบสังคมนิยม<br />

(2) ที่มาของแผนพัฒนา 5 ป ฉบับที่ 11 (ค.ศ. 2006 – 2010)<br />

(2.1) ปญหาทางเศรษฐกิจของจีนในตนทศวรรษของศตวรรษที่ 21<br />

ความขัดแยง 10 ประการ อันเนื่องมาจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีน<br />

(ก) ความขัดแยงระหวางการเติบโตทางเศรษฐกิจกับภาวะสวนเกินของผลผลิตมวล<br />

รวม<br />

ผลการสํารวจของกระทรวงพาณิชยในป 2005 พบวา ในจําพวกสินคาที่<br />

จําเปน 600 ชนิด สินคาที่อุปทานสมดุลกับอุปสงค มี 172 ชนิด คิดเปนอัตรา<br />

28.7% สินคาที่อุปทานมากกวาอุปสงคมี 428 ชนิด คิดเปนอัตรา 71.3% สินคาที่<br />

อุปทานนอยกวาอุปสงคไมมี คิดเปนอัตรา 0.0% สะทอนใหเห็นวาการเติบโตทาง<br />

เศรษฐกิจเปนไปอยางไมสมดุล พลังการผลิตกระจุกตัวอยูในภาคอุตสาหกรรม<br />

เฉพาะจุด การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมที่ซ้ําซอนมีมาก โครงสรางการผลิตไม<br />

สมดุล การผลิตสินคาที่จําเปนมีจํานวนมากกวาความตองการ การแขงขันที่ไมเปน<br />

ธรรมกําลังกอตัวรุนแรงขึ้นทุกขณะ<br />

(ข) ความขัดแยงระหวางการขยายตัวของโครงสรางดานบริโภค กับ ความลาชาในการ<br />

ปรับปรุงโครงสรางทางเศรษฐกิจ<br />

ผลจากการสํารวจ 45,400 ครอบครัวของสํานักงานสถิติแหงชาติจีน<br />

พบวารายไดตอครอบครัวเฉลี่ยตอป 5,374 หยวน เพิ่มขึ้นสุทธิจากเดิม 9.5%<br />

รายจายตอครอบครัวเฉลี่ยตอป 3,865 หยวน เพิ่มขึ้นสุทธิจากเดิม 8.9% แตการ<br />

บริโภคสวนใหญกระจุกตัวอยูในภาคสินคาฟุมเฟอยเพื่อเสวยสุข เชน รถยนต บาน<br />

อาหารเสริมสุขภาพ แฟชั่น และการบริการที่อํานวยความสะดวกสบาย โดย<br />

สามารถพิจารณาแยกเปนหมวดหมูดังนี้ 1) รายจายดานการเดินทาง 30.9% 2)<br />

ภาคผนวก - 14


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

รายจายดานเสื้อผา 15.9% 3) รายจายดานรักษาเสริมสุขภาพ 15.3% 4) รายจาย<br />

ดานอํานวยความสะดวกสบาย 15.1% และ 5) รายจายดานที่อยูอาศัย 9.0% แสดง<br />

ใหเห็นวา การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจยังไมสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง<br />

ของโครงสรางการบริโภค เกิดภาวะสินคาจําเปนเหลือ สินคาฟุมเฟอยขาดแคลน<br />

อุปทานสวนทางอุปสงค<br />

(ค) ความขัดแยงระหวาง การขยายตัวในอัตราสูง กับ ตนทุนที่มีอัตราสูง<br />

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนมีลักษณะที่โตโดยอาศัยตนทุน<br />

แรงงานต่ํา ในป 2003 คาตอบแทนแรงงาน = 50% ของ GDP แตในหลายพื้นที่<br />

กลับเกิดภาวะขาดแคลนแรงงานสาเหตุเนื่องมาจากนายจางจายคาแรงต่ํา<br />

สวัสดิการแย สะทอนใหเห็นวา สภาพการผลิตที่อาศัยตนทุนแรงงานต่ําเริ่มสิ้นสุด<br />

ลง การขยายตัวของเศรษฐกิจแมจะอยูในอัตราที่สูง แตแนวโนมอัตราการเพิ่มขึ้น<br />

ของตนทุนแรงงานจะสูงกวา<br />

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีน มีลักษณะที่โตโดยใชทรัพยากรเปน<br />

องคประกอบหลัก<br />

ป 2005 จีนบริโภคน้ํามัน = 40% ของสวนที่ผลิตเพิ่มขึ้นของโลก<br />

ป 2003 จีนตองจัดสรรงบเพื่อจัดการปญหาสิ่งแวดลอมเปนพิษถึง 23,168<br />

ลานหยวนซึ่งเทากับ 2.5 ของ GDP<br />

ป 2004 จํานวน 669 เมืองของจีน มี 400 เมืองมีน้ําไมพอใช และมี 110<br />

เมืองขาดแคลนน้ําอยางสาหัส<br />

รูปแบบการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ตองสูญเสียทรัพยากรมหาศาล<br />

กําลังนําจีนไปสูหายนะ<br />

(ง) ความขัดแยงระหวางการเพิ่มขยายอุปสงคภายในประเทศ กับ ความจําเปนในการ<br />

พึ่งพาตางประเทศที่เพิ่มขึ้น<br />

ในชวง 4 ป คือ ป 2002-2005 การเพิ่มขยายดานอุปสงคภายในประเทศลด<br />

ต่ําลงตามลําดับ 2002 = 11.4% 2003 = 08.4% 2004 = 07.9% 2005 = 07.2%<br />

อัตราการเพิ่มขยายดานอุปสงคภายในประเทศต่ํากวาอัตราการเพิ่มขยาย<br />

ของ GDP การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจจากปจจัยกระตุนของอํานาจบริโภค<br />

ภายในประเทศลดนอยลงจาก 73% ในป 2000 เหลือ 38% ในป 2003 แตการพึ่งพา<br />

ภาคผนวก - 15


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ตางประเทศกลับสูงขึ้นตามลําดับโดยป 2003 = 60% ป 2004 = 70% และป 2005 =<br />

55.48 เฉลี่ยสูงกวามาตรฐานที่ WTO,IMF กําหนดไว คือ 45% เมื่อเทียบกับการ<br />

เจริญเติบโตของเศรษฐกิจของญี่ปุน พึ่งพาตางประเทศเพียง 1.1% การเจริญเติบโต<br />

ของเศรษฐกิจของเกาหลี พึ่งพาตางประเทศเพียง 15% การเจริญเติบโตของ<br />

เศรษฐกิจของสิงคโปร พึ่งพาตางประเทศเพียง 38% การเจริญเติบโตของ<br />

เศรษฐกิจของมาเลเซีย พึ่งพาตางประเทศเพียง 45%<br />

ป 2005 สงออกเสื้อผา 17,700 ลานชุด มูลคาเพียงชุดละ 3.51 US$ สงออก<br />

รองเทา 6,000 ลานคู มูลคาเพียงคูละ 2.50 US$ การที่จีนสงออกสินคาราคาถูกไป<br />

ขายยังสหรัฐอเมริกาทําใหสหรัฐอเมริกาประหยัดเงิน (เฉพาะคาเสื้อผาเด็ก) ปละ<br />

400 ลาน US$ ตอป<br />

ป 1998-2003 จีนสงออกตะเกียบ (ประเภทใชแลวทิ้ง) ไปญี่ปุน 2.243<br />

แสนลานคู กระทรวงปาไมจีนสํารวจพบวาอุตสาหกรรมดังกลาวไดทําลายพื้นที่ปา<br />

ของจีนไปถึง 20 % ในขณะที่พื้นที่ปาของญี่ปุนยังคงสามารถรักษาไวไดในระดับ<br />

65 % แตพื้นที่ปาของจีนกลับรักษาไวไดในระดับ 14 %<br />

การพึ่งพาทรัพยากรจากตางประเทศเพื่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของจีน<br />

กลับเปนอานิสงสอยางมหาศาลกับประเทศอื่น ชวยใหอุตสาหกรรมเหล็กกลา<br />

กระดาษ กระจก ปูน และเครื่องใชไฟฟาที่ขาดทุนตลอดมาเกือบทศวรรษของ<br />

ญี่ปุนกลับฟนคืนชีพขึ้นมาเปนอุตสาหกรรมที่มีกําไรและอยูในฐานะเปนฝาย<br />

กําหนดราคาอีกครั้ง ตั้งแตป 2002 เปนตนมา อัตราการสงออกของญี่ปุนไปจีน<br />

รักษาอยูที่ตัวเลขสองหลัก และเปนสัดสวน 67.6% ของอัตราสวนการสงออกที่<br />

เพิ่มขึ้นของญี่ปุน<br />

การเจริญเติบโตเศรษฐกิจของจีนเปน “เศรษฐกิจแรงงาน” ไมมี<br />

ประสิทธิภาพในการสรางมูลคาเพิ่ม<br />

(จ) ความขัดแยงระหวาง การขยายตัวเชิงปริมาณ กับ การขยายตัวเชิงมูลคา<br />

ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ จากเชิงปริมาณสูเชิงมูลคา การพัฒนาเชิง<br />

ปริมาณ เนน ความเร็วและจํานวน การพัฒนาเชิงมูลคา เนน คุณภาพและ<br />

ประสิทธิภาพ การพัฒนาเศรษฐกิจของจีนจัดอยูในชวงพัฒนาเชิงปริมาณ การผลิต<br />

ยังอยูในสภาพที่สูญเสียพลังงานและทรัพยากรมาก มลภาวะทําลายสิ่งแวดลอมสูง<br />

แตประสิทธิภาพและคาตอบแทนต่ํา<br />

ภาคผนวก - 16


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สถาบันวิจัยสังคมวิทยาศาสตรของสํานักนายกฯ จีน ระบุวา รายไดเฉลี่ย<br />

ของชาวจีน 960 US$ ตอป เมื่อเทียบกับประชากรของประเทศที่มีรายไดสูงซึ่ง<br />

เฉลี่ย 26,490 US$ ตอป หางกัน 26 เทา รายไดเฉลี่ยการผลิตของภาคแรงงานจีน =<br />

1,646 US$ เมื่อเทียบกับรายไดเฉลี่ยการผลิตของภาคแรงงานของประเทศที่มี<br />

รายไดสูง = 55,355 US$ หางกัน 332 เทา รายไดเฉลี่ยการผลิตของภาคการเกษตร<br />

จีน = 506 US$ เมื่อเทียบกับรายไดเฉลี่ยการผลิตของภาคการเกษตรของประเทศที่<br />

มีรายไดสูง = 33,798 US$ หางกัน 46 เทา<br />

รายงานของ World Bank ระบุวา จีนตองใชงบในการเยียวยาสิ่งแวดลอม<br />

8-12 % ของ GDP จีนไดบทสรุปวา การเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนเกิดจาก<br />

ตางชาติมายืมใชพื้นที่ ใชแรงงานถูกและผลาญทรัพยากรของจีนในการสรางความ<br />

ร่ํารวยและขนถายเงินทองกลับไปฝากไวแตตัวเลข GDP ที่สวยหรูใหชาวจีนหลง<br />

ชื่นชมตนเองบนสภาพสิ่งแวดลอมที่เปนพิษและทรัพยากรที่รอยหรอโดยที่ชาวจีน<br />

สวนใหญหาไดร่ํารวยเพิ่มขึ้นดังเชนการเพิ่มขึ้นของตัวเลข GDP แตอยางใด<br />

(ฉ) ความขัดแยงที่เพิ่มขึ้นระหวางการขยายตัวทางเศรษฐกิจกับความเหลื่อมล้ําดาน<br />

รายได<br />

จีนไดใชนโยบายสงเสริมใหคนในพื้นที่บางสวน (ภาคตะวันออก) ร่ํารวย<br />

กอน แลวใหคนในพื้นที่บางสวน (ภาคตะวันตก) คอยร่ํารวยตาม แมจะเปน<br />

ยุทธศาสตรที่ใชไดผลในการพัฒนาประเทศจีนภายใตเงื่อนไขที่จํากัดมาเปน<br />

ระยะเวลากวา 20 ป แตในระยะยาวไดกอใหเกิดปญหา การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่<br />

ไมสมดุล ความไมเสมอภาคในการกระจายรายได ความไมยุติธรรมในการใช<br />

ทรัพยากรกอใหเกิดความเหลื่อมล้ําดานรายไดระหวางภูมิภาค<br />

(ช) ความขัดแยงระหวาง การพัฒนาที่มีลักษณะโนมเอียง กับ การพัฒนาที่มีความ<br />

สมดุล<br />

จีนไดยุทธศาสตรการใชทรัพยากรและเงินทุนที่จํากัดไปเนนลงทุนใน<br />

พื้นที่และภาคอุตสาหกรรมที่สําคัญเฉพาะดานตามทฤษฎีเติ้งเสี่ยวผิงแทน<br />

ยุทธศาสตรการลงทุนในทุกพื้นที่และทุกดานเทาๆกันตามลัทธิเฉลี่ยนิยมแบบเดิม<br />

ที่เคยปฏิบัติในยุคสมัย แนวคิดเศรษฐกิจแบบคอมมูนประชาชน เฟองฟู ถือเปน<br />

สิ่งจําเปนในชวงตนของการปฏิรูปเศรษฐกิจการตลาดของจีน แตการพัฒนาที่มี<br />

ภาคผนวก - 17


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ลักษณะโนมเอียงอยางตอเนื่องเปนเวลายาวนานสงผลใหพื้นที่และ<br />

ภาคอุตสาหกรรมที่ไดรับการสงเสริมไดเปรียบพื้นที่และภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่<br />

ยังไมไดรับการสงเสริมมากขึ้นเรื่อยๆ การกําหนดใหพื้นที่หรืออุตสาหกรรมที่<br />

ไมไดรับการสงเสริมตองเปนฝายเสียสละกอน ทําใหการพัฒนาประเทศเปนไป<br />

อยางไมสมดุล ไมยั่งยืนและไมบูรณาการ และเปนการใชทรัพยากรอยางไม<br />

ยุติธรรมอีกดวย กอใหเกิดชองวางดานรายไดของประชากรในพื้นที่ที่ตางกันนํามา<br />

ซึ่งความขัดแยงของประชากรระหวางภูมิภาคและสรางปญหาความแตกแยกใน<br />

สังคม<br />

(ซ) ความขัดแยงระหวางการนําเขาเทคโนโลยี กับ ความสามารถในการสรางสรรค<br />

นวัตกรรมใหมดวยตนเอง<br />

ป 1999 ถึง 2003 จีนนําเขาเทคโนโลยีมีมูลคาสูงถึง 7.52 หมื่นลาน US$<br />

แตในชวงเวลาเดียวกัน การสรางสรรคนวัตกรรมใหมดวยตนเอง กลับมิไดมีการ<br />

ยกระดับใหสูงขึ้นในอัตราที่ใกลเคียงกัน การพึ่งพาเทคโนโลยีจากตางประเทศใน<br />

การพัฒนาประเทศยังอยูในอัตราที่สูง แตขีดความสามารถการแขงขันของวิสาหกิจ<br />

ของจีนยังอยูในระดับที่ต่ํา สภาพการทางเศรษฐกิจของประเทศจึงอยูฐานะเปนฝาย<br />

ที่ถูกกระทําและเปนฝายตั้งรับเปนสวนใหญ<br />

(ฌ) ความขัดแยงระหวางนโยบายชวนเขามา กับ นโยบายเดินออกไป<br />

ตั้งแตเริ่มนโยบาย เดินออกไป รัฐวิสาหกิจจีนไดไปลงทุนในตางประเทศ<br />

แลว คิดเปนสินทรัพยมีมูลคา 6,299 แสนลานUS$ และบุคลากร 2.1 แสนคน แต<br />

การแขงขันของรัฐวิสาหกิจจีนในเวทีโลกยังไมเปนเอกภาพและไมมีระเบียบ เกิด<br />

การแกรงแยงชิงดีชิงเดนกันกอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนที่ประเทศชาติจะ<br />

พึงไดรับและทําใหภาพพจนของประเทศชาติเสียหาย<br />

(ญ) ความขัดแยงระหวาง อัตราการขยายตัวสูง กับ อัตราการจัดหางานต่ํา<br />

การเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนเปนไปอยางเร็วในขณะที่การจางงานกลับ<br />

เพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ํากวา อัตราการจางงานของหนวยงานรัฐวิสาหกิจและวิสาหกิจ<br />

ชุมชนกลับมีสถิติลดต่ําลงอยางตอเนื่องในยุคเริ่มการปฏิรูป การเติบโตของ<br />

เศรษฐกิจ 1% จะเพิ่มการจางงาน 0.4 % แตในป 2000 อัตราการจางงานกลับ<br />

ภาคผนวก - 18


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

เพิ่มขึ้นในลักษณะลดลง คือ 0.1% คาดวาในป 2001-2010 ประชากรชนบทจะยาย<br />

ถิ่นฐานเขาสูเมือง 160-180 ลานคน เฉลี่ยปละ 14.93-16.62 ลานคน ซึ่งตกประมาณ<br />

30% ของแรงงานชนบท ในแตละปความตองการตําแหนงงาน 24 ลานตําแหนง<br />

แตตามโครงสรางเศรษฐกิจในปจจุบันสามารถจัดหาไดเพียง 12 ลานตําแหนง<br />

เฉพาะในป 2004 มีชาวนาที่ไรที ่ทํากินมากถึง 40 ลานคน สิ่งเหลานี้คือปญหาใน<br />

ทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 21 ที่ทาทายความสามารถของผูนําจีนรุนที่ 4 ในการ<br />

นํารัฐนาวาฝาคลื่นลมสูสังคมที่ประชาชนพออยูพอกินอยางทั่วถึง<br />

เปาหมายในการสรางสรรค สังคมที่ประชาชนมีฐานะพออยูพอกินอยาง<br />

ทั่วถึงใหบรรลุภายในทศวรรษที่ 2 ของศตวรรษที่ 21 กําลังถูกทาทาย ปจจัยสําคัญ<br />

ที่จะทําใหยุทธศาสตรสรางชาติของจีนบรรลุผลในตนศตวรรษที่ 21 คือ<br />

สภาพแวดลอมทางการเมืองภายในประเทศตองมีเสถียรภาพและสถานการณ<br />

ทางการเมืองภายนอกประเทศตองมีสันติภาพเทานั้น จึงจะทําใหประเทศจีน<br />

สามารถพัฒนาประเทศใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวในแผน 11 ได<br />

(2.2) สาระสําคัญของขอเสนอแนะของพรรคคอมมิวนิสตจีนเกี่ยวกับการยกรางแผนพัฒนา<br />

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (2006-2010)<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 สรุปเปนหลักการไดวา<br />

หนึ่งเจตนารมณ เพื่อบรรลุสังคมที่ประชาชนพออยูพอกินอยางทั่วถึง<br />

หกหลักการ เพื่อปูทางสูสังคมที่ประชาชนพออยูพอกินอยางทั่วถึง<br />

หกมาตรการ เพื่อการพัฒนาแบบบูรณาการอยางยั่งยืน<br />

หกยุทธศาสตร เพื่อสรางสรรคสังคมนิยมที่ทันสมัย<br />

หาปฏิรูป เพื่อการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ<br />

หานโยบาย เพื่อการเปดเสรีภายใตกระแสโลกาภิวัฒน<br />

สองยุทธวิธี เพื่อสรางขีดความสามารถการแขงขัน<br />

หลักการดังกลาวขางตน ประกอบดวยเนื้อหาโดยยอวา<br />

(ก) หนึ่งเจตนารมณ สังคมที่ประชาชนพออยูพอกินอยางทั่วถึง<br />

(ข) ปจจัยที่ทําใหจีนบรรลุเจตนารมณดังกลาวไดคือสภาพแวดลอมทางการเมือง<br />

ภายในประเทศมีเสถียรภาพ สถานการณทางการเมืองภายนอกประเทศมีสันติภาพ<br />

(ค) หกหลักการเพื่อปูทางสูสังคมที่ประชาชนพออยูพอกินอยางทั่วถึง<br />

ภาคผนวก - 19


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

(1) ยืนหยัดในหลักการ “การพัฒนาเปนสิ่งที่ปฏิเสธไมได”<br />

(2) ยืนหยัดในหลักการ “การพัฒนาพรรคเพื่อบริหารประเทศชาติใหเจริญรุงเรือง”<br />

(3) ยืนหยัดในหลักการ “การสรางสรรคพัฒนาเศรษฐกิจเปนศูนยกลาง”<br />

(4) ยืนหยัดในหลักการ “การแกปญหาดวยวิธีการพัฒนาและปฏิรูป”<br />

(5) ยืนหยัดในหลักการ “วิสัยทัศนการพัฒนาอยางเปน วิทยาศาสตร” เปนแกนนํา<br />

ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอยางรอบดาน<br />

(6) ยืนหยัดในหลักการ “หลักการใหความสําคัญกับคนเปนรากฐาน” ปรับเปลี่ยน<br />

แนวคิดการพัฒนาและเนนรูปแบบการพัฒนาที่สรางสรรคสิ่งใหมๆ<br />

(ง) หกมาตรการเพื่อการพัฒนาแบบบูรณาการอยางยั่งยืน<br />

(1) ตองรักษาระดับการพัฒนาเศรษฐกิจที่เร็วและมั่นคง<br />

(2) ตองเรงปรับเปลี่ยนรูปแบบการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ<br />

(3) ตองยกระดับความสามารถในการคิดสรางสรรคดวยตนเอง<br />

(4) ตองสงเสริมการพัฒนาระหวางภูมิภาคและระหวางเมืองกับชนบทอยางสมดุล<br />

(5) ตองเพิ่มประสิทธิภาพในการสรางสรรคใหสังคมเกิดความสมดุลและ<br />

สมานฉันท<br />

(6) ตองยืนหยัดในการปฏิรูปเปดเสรีอยางตอเนื่อง<br />

(จ) หกยุทธศาสตรเพื่อสรางสรรคสังคมนิยมที่ทันสมัย<br />

(1) สรางสรรคสังคมนิยมชุมชนเกษตรที่ทันสมัย การแกไขปญหา “สามเกษตร”<br />

เปนยุทธศาสตรอันดับแรกเพื่อใหเปนไปตามนโยบายการพัฒนาการผลิตที่<br />

กาวหนาเพื่อใหสังคมเกษตรเปนสังคมเกษตรที่มีอารยธรรมเพื่อใหสังคม<br />

ชนบทมีสภาพแวดลอมที่ถูกสุขอนามัยและมีการบริหารจัดการที่เปน<br />

ประชาธิปไตย<br />

(2) พัฒนาสังคมเศรษฐกิจของเมืองและชนบทอยางบูรณาการ โดย ปฏิรูปชนบท<br />

อยางรอบดานและถึงแกน ผลักดันการสรางสรรคระบบการเกษตรแผนใหม<br />

ใหบรรลุผล พัฒนาระบบสาธารณูปโภคของชนบทอยางจริงจัง ดําเนินทุก<br />

วิถีทางเพื่อเพิ่มรายไดแกเกษตรกร<br />

(3) ปรับโครงสรางการผลิตและเปลี่ยนรูปแบบการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดวย<br />

พลังสรางสรรคของตนเองเพื่อยกระดับเทคโนโลยีในการเรงพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมการผลิตใหกาวหนาเนนพัฒนาอุตสาหกรรมดานบริการ<br />

ภาคผนวก - 20


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ยกระดับอุตสาหกรรมดานสาธารณูปโภคพื้นฐานใหมีความเขมแข็งยิ่งขึ้น<br />

ผลักดันใหโครงสรางอุตสาหกรรมอยูในระดับที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น<br />

(4) ผลักดันนโยบายการบุกเบิกพัฒนาภาคตะวันตกอยางตอเนื่อง ฟนฟูเขต<br />

อุตสาหกรรมดั้งเดิมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือยกระดับอุตสาหกรรมของ<br />

ภาคกลางใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นสงเสริมภาคตะวันออกเปนตัวนําการพัฒนา<br />

ของภาคอื่น เพื่อใหการพัฒนาของภาคตางๆ เกื้อหนุนซึ่งกันสูสภาพการพัฒนา<br />

ที่สมดุล<br />

(5) พัฒนาเขตเมืองในระดับตางๆ ใหเปนไปอยางสมดุล จัดระบบการใชที่ดิน<br />

อยางมีประสิทธิภาพตามผังเมืองที่กําหนดไวเพื่อใหการพัฒนาสังคมเปนไป<br />

อยางมั่นคง<br />

(6) เรงสรางสรรครูปแบบการประหยัดทรัพยากรและสังคมที่เปนมิตรกับ<br />

สิ่งแวดลอมเพื่อใหการคุมครองสิ่งแวดลอมและรักษาระบบนิเวศนบรรลุอยาง<br />

แทจริง สรางระบบเตือนภัย ระบบปองกันภัย และระบบขจัดภัยที่อาจเกิดแก<br />

ประชาชนอันเนื่องมาจากการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่รอนแรงเพื่อสราง<br />

สังคมใหมในรูปแบบที่ประหยัดทรัพยากรและการบริโภคที่มีอารยธรรม<br />

(ฉ) หาปฏิรูปเพื่อการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ<br />

(1) ปฏิรูประบบควบคุมการบริหารรัฐกิจ<br />

(2) ปฏิรูประบบเศรษฐกิจพื้นฐานใหสมบูรณ<br />

(3) ปฏิรูประบบเก็บภาษีและการคลัง<br />

(4) ปฏิรูประบบการเงิน<br />

(5) ปฏิรูปโครงสรางตลาดใหทันสมัย<br />

(ช) หานโยบายเพื่อการเปดเสรีภายใตกระแสโลกาภิวัตน<br />

(1) นโยบายยกระดับการเปดเสรีใหมากขึ้น<br />

(2) นโยบายปรับเปลี่ยนรูปแบบการเพิ่มมูลคาเพิ่มแกการคาตางประเทศ<br />

(3) นโยบายสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศอยางตอเนื่อง<br />

(4) นโยบายสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมที่มีขีดความสามารถออกไปแขงขันใน<br />

ตลาดโลก<br />

(5) นโยบายดําเนินยุทธศาสตรการเปดเสรีที่ทุกฝายไดประโยชนรวมกัน<br />

(ซ) สองยุทธวิธีเพื่อสรางขีดความสามารถการแขงขัน<br />

(1) ยุทธวิธี การใชวิทยาศาสตรและการศึกษาเพื่อสรางชาติใหรุงเรือง<br />

ภาคผนวก - 21


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

(2) ยุทธวิธี การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อสรางชาติใหเขมแข็ง<br />

(2.3) ดัชนีชี้วัดความสัมฤทธิ์ผลของแผนฯ 11<br />

ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 ไดกําหนดดัชนีชี้ขาดความ<br />

สัมฤทธิ์ผลของการปฏิบัติตามแผนไวดังนี้<br />

(ก) ปรับโครงสรางการผลิตใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นบนพื้นฐานที่ประหยัดทรัพยากร<br />

และพลังงานเพื่อให GDP ในป 2010 เพิ่มเปนสองเทาของ GDP ในป 2000<br />

(ข) ยกระดับการใชทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดระดับการสูญเสียของ<br />

พลังงานใหนอยลงเพื่อใหระดับการสูญเสียพลังงานลดนอยลงอีก 20% ในสิ้นป<br />

ของแผนฯ 11<br />

(ค) บรรลุถึงขั้นมีทรัพยสินทางปญญาที่มีชื่อเสียงแพรหลายระดับโลกจํานวนหนึ่งเปน<br />

ของตนเอง มีวิสาหกิจที่มีขีดความสามารถการแขงขันในตลาดโลกจํานวนหนึ่ง<br />

เปนของตนเอง<br />

(ง) โครงสรางเศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยมตองสมบูรณยิ่งขึ้น รูปแบบการเปด<br />

เสรีทางเศรษฐกิจตองไดรับการยกระดับสูงยิ่งขึ้น ดุลการชําระเงินระหวางประเทศ<br />

ตองอยูในระดับที่สมดุล<br />

(จ) การประกันการศึกษาเกาปตองบรรลุผลอยางทั่วถึง อัตราตําแหนงงานในเมืองตอง<br />

เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ระบบการประกันสังคมตองสมบูรณยิ่งขึ้น ประชากรที่<br />

ยากจนตองลดนอยลง<br />

(ฉ) รายไดและคุณภาพความเปนอยูของชาวเมืองตองไดรับการยกระดับขึ้นอยางทั่วถึง<br />

อัตราคาครองชีพตองมีความมั่นคง พื้นฐานสภาพแวดลอมดานที่อยูอาศัย การ<br />

คมนาคม การศึกษา วัฒนธรรม และสุขอนามัยของประชาชนตองดีขึ้น<br />

(ช) ระบอบประชาธิปไตย ระบบกฎหมาย และอารยธรรมของสังคมตองไดรับการ<br />

พัฒนาใหกาวหนายิ่งขึ้น ความปลอดภัยในสังคมและความปลอดภัยในการผลิต<br />

ตองไดรับการแกไขไปในทางที่ดีขึ้น การสรางสรรคสังคมใหเกิดความสมดุลและ<br />

สมานฉันทตองไดรับการพัฒนาสูระดับใหมที่สูงขึ้น<br />

ภาคผนวก - 22


่<br />

ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

(3) สรุปสาระสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (ค.ศ. 2006-2010)<br />

(1) หกยุทธศาสตรหลักของการพัฒนาตามแผนฯ 11<br />

(ก) สรางสรรคสังคมนิยมชุมชนเกษตรที่ทันสมัย<br />

(ข) เรงปรับโครงสรางและเปลี่ยนรูปแบบการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ<br />

(ค) สงเสริมการพัฒนาภูมิภาคอยางประสานซึ่งกันและกัน<br />

(ง) เพิ่มความสามารถในการสรางสรรคนวัตกรรมใหมดวยตนเอง<br />

(จ) ปฏิรูปอยางถึงแกนและเปดเสรีใหมากขึ้น<br />

(ฉ) สรางสรรคสังคมที่สมดุลและสมานฉันทอยางจริงจัง<br />

(2) หกยุทธศาสตรหลักของการพัฒนาตามแผนฯ 11<br />

(ก) สรางสรรคสังคมนิยมชุมชนเกษตรที่ทันสมัย<br />

- จัดใหยุทธศาสตรการแกไขปญหา”สามเกษตร”เปนพันธกิจแรก<br />

(ข) เรงปรับโครงสรางและเปลี่ยนรูปแบบการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ<br />

- เดินแนวทางอุตสาหกรรมรูปแบบใหม<br />

- พัฒนาบนพื้นฐานแหงโครงสรางที่มีประสิทธิภาพ<br />

- พัฒนาบนพื้นฐานแหงการประหยัดทรัพยากรและคุมครองสิ่งแวดลอม<br />

(ค) สงเสริมการพัฒนาภูมิภาคอยางประสานซึ่งกันและกัน<br />

- พัฒนาตามสภาพทรัพยากรและสิ่งแวดลอมของแตละพื้นที<br />

- ตามศักยภาพที่จะสามารถรองรับไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

- กําหนดนโยบายพัฒนาที่แตกตาง แตเหมาะสมกับพื้นที่แตละแหง<br />

(ง) เพิ่มความสามารถในการสรางสรรคนวัตกรรมใหมดวยตนเอง<br />

- เรงสรางสรรคประเทศเขาสูรูปแบบใหม<br />

- ยกระดับความสามารถในการสรางสรรคสิ่งใหมอยางรอบดาน<br />

- รวมศูนยความสามารถการสรางสรรคเพื่อพัฒนาตอยอดสิ่งใหมๆ<br />

(จ) ปฏิรูปอยางถึงแกนและเปดเสรีใหมากขึ้น<br />

- ตองสอดคลอง กับการพัฒนาภายในอยางบูรณาการและ<br />

- ความจําเปนในการเปดเสรีสูภายนอก<br />

- กําหนดยุทธศาสตรการเปดเสรีที่ทุกฝายไดประโยชนรวมกัน<br />

- การเปดเสรีตองเปนไปเพื่อการปฏิรูปและการพัฒนาที่ดีขึ้น<br />

(ฉ) สรางสรรคสังคมที่สมดุลและสมานฉันทอยางจริงจัง<br />

- จัดการปญหาเรื่องประชากรวางงานและเพิ่มขยายตําแหนงงาน<br />

ภาคผนวก - 23


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

- สรางระบบประกันสังคมใหเขมแข็ง<br />

- ยกระดับคุณภาพชีวิตและสุขอนามัยของประชาชนใหดีขึ้น<br />

- สรางสรรควัฒนธรรมและการเมืองประชาธิปไตยแบบสังคมนิยม<br />

(3) หกเปาหมายหลักของการพัฒนาตามแผนฯ 11<br />

(ก) ผลผลิตมวลรวมเพิ่มขึ้นประมาณ 8 %<br />

(ข) อัตราการใชพลังงานลดลงประมาณ 4 %<br />

(ค) ระดับราคาสินคาเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยไมเกิน 3 %<br />

(ง) จํานวนตําแหนงงานในเมืองเพิ่มขึ้น 9 ลานตําแหนง<br />

(จ) อัตราคนวางงานในเมืองที่ลงทะเบียนยูในระดับต่ํากวา 4.6%<br />

(ฉ) ดุลการชําระเงินระหวางประเทศสมดุล<br />

(4) ดัชนีชี้วัดความสัมฤทธิ์ผลตามแผนฯ 11 ของจีน<br />

(ก) การพัฒนาดานเศรษฐกิจยังตองเปนไปอยางมีเสถียรภาพและรวดเร็วมูลคาผลผลิต<br />

มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ในป 2010 จะเปน 2 เทาของป 2000 รายไดเฉลี่ยตอ<br />

หัวจะเพิ่มขึ้นมากกวา US$ 160<br />

(ข) อัตราการขยายตัวของชุมชนเมืองยังคงเปนไปอยางมีเสถียรภาพและสูงดวย<br />

อัตราการขยายตัวที่ 47 % การกระจายประชากรเปนไปอยางมีระบบที่เหมาะสม<br />

ชุมชนเมืองและชุมชนชนบทมีความสมดุลยิ่งขึ้น<br />

(ค) ปญหาการวางงานลดลงกวาเดิม คุณภาพชีวิตของประชากรทั้งในเมืองและ<br />

ชนบทดีขึ้น<br />

(ง) ระบบประกันสังคมครอบคลุมอยางนอย 50 % ของประชากรทั้งหมดทั้งใน<br />

เมืองและชนบท<br />

(จ) ชองวางในการกระจายรายไดของคนในภูมิภาคตางๆ ลดนอยลง คุณภาพชีวิต<br />

ของประชากรระหวางภูมิภาคดีขึ้น<br />

(ฉ) อัตราการรับรูขอมูลขาวสารของประชากรในประเทศ (NIQ) เพิ่มเปน 25 % ตอป<br />

(ช) ความสัมพันธระหวางมนุษยและธรรมชาติเกื้อหนุนเปนมิตรตอกันมากยิ่งขึ้น<br />

ดัชนีตานสิ่งแวดลอมมากกวา 1.45<br />

(ซ) การศึกษาขั้นพื้นฐานไดรับการยกระดับสูงขึ้น อัตราการรูหนังสือของผูใหญ<br />

เพิ่มขึ้นถึง 95 %<br />

(ฌ) สาธารณสุขแหงชาติเพิ่มขยายทั้งปริมาณและคุณภาพ อัตราแพทยเพิ่มเปน 2.5<br />

คนตอประชากร 1,000 คน<br />

ภาคผนวก - 24


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

(ญ) การเพิ่มของประชากรอยูในอัตราที่ต่ํากวา 0.7 % ปญหาดานที่อยูอาศัยและ<br />

สิ่งแวดลอมอยูในอัตราที่ต่ํากวาเดิม<br />

(5) จุดเดนของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11<br />

- ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ<br />

- ปรับปรุงโครงสรางอุตสาหกรรมใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

- แกไขปญหา “สามเกษตร” อยางตอเนื่อง<br />

- พัฒนาความเขมแข็งของสังคมเมือง<br />

- พัฒนาความสมดุลระหวางภูมิภาค<br />

- สรางสรรคสังคมที่สมดุลและสมานฉันทยิ่งขึ้น<br />

(6) เปาหมายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11<br />

- ผลผลิตมวลรวมภายในประเทศในป 2010 อยูที่ 2.3 ลานลานเหรียญสหรัฐ<br />

- รายไดเฉลี่ยตอหัวในป 2010 เฉลี่ยอยูที่ 1,700 เหรียญสหรัฐ<br />

ภาคผนวก - 25


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาคผนวก (6)<br />

การสํารวจขอมูล ณ เมืองเซี่ยงไฮ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน<br />

การสํารวจขอมูลอุตสาหกรรมยานยนต ณ เมืองเซี่ยงไฮ สาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อ<br />

ประกอบการศึกษาในครั้งนี้ คณะเดินทางประกอบดวยผูแทนทางจากสํานักงานเศรษฐกิจ<br />

อุตสาหกรรมและสถาบันยานยนต รวม 7 ทาน โดยเดินทางวันที่ 9 – 13 สิงหาคม 2010 โดยมี<br />

รายละเอียดการสํารวจขอมูล ดังนี้<br />

10 สิงหาคม 2010 สํารวจขอมูลที่งาน Shanghai World Expo 2010<br />

11 สิงหาคม 2010 สํารวจขอมูลที่งานนิทรรศการ Shanghai International <strong>Automotive</strong><br />

Manufacturing Technology & Material Show<br />

12 สิงหาคม 2010 สํารวจขอมูลและเยี่ยมชมโรงงาน ณ บริษัท Shanghai General Motor<br />

โดยการสํารวจขอมูลในแตละสถานที่ มีรายละเอียด ดังนี้<br />

6.1 การสํารวจขอมูลที่งาน Shanghai World Expo 2010<br />

การสํารวจขอมูลที่งาน Shanghai World Expo 2010 นี้ คณะเดินทางไดเขาศึกษาขอมูล<br />

สํารวจศาลาของบริษัท GM-SAIC (GM-SAIC Pavilion) รวมถึงสภาพตลาดดานอุปสงคของจีนพบ<br />

ขอสังเกตที่สําคัญดังตอไปนี้<br />

1. เทคโนโลยีในอนาคตของอุตสาหกรรมยานยนตโลก<br />

บริษัท GM-SAIC มีมุมมองการพัฒนาเทคโนโลยียานยนตในระดับโลก โดยเนนถึงการใช<br />

เทคโนโลยีที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เชน รถยนตไฟฟา รวมถึงการพัฒนาดานระบบความปลอดภัย<br />

ของตัวยานยนต ตลอดจนระบบที่มีความสามารถเชื่อมโยงการจราจรบนทองถนน ที่ชวยลด<br />

อุบัติเหตุบนทองถนน ที่ปจจุบันประเทศตางๆ ตางใหความสําคัญในเทคโนโลยีนี้เปนจํานวนมาก<br />

ซึ่งประเทศไทยเอง ไดเริ่มมีการพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนสงอัจฉริยะในชวง 2 -3 ปที่ผานมา โดย<br />

ITS (Intelligent Transport System) หรือ ระบบขนสงอัจฉริยะ เปนการนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />

และการสื่อสาร (ICT) มาพัฒนาเพื่อใชใน e-Government ตัวอยางของระบบ ITS ในประเทศไทยที่<br />

มีอยู และใชงานอยางเห็นไดในชีวิตประจําวันของคนกทม. คือ ปายจราจรอัจฉริยะ เครื่องนับเวลา<br />

ถอยหลังสัญญาณไฟจราจร ปายรถแท็กซี่อัจฉริยะ ซึ่งปายจราจรอัจฉริยะ เปนระบบแสดงขอมูล<br />

ขาวสารใหแกผูขับขี่ (Traveler Information System) เพื่อบอกสภาพการจราจร ณ เวลานั้น (Real<br />

ภาคผนวก - 26


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

time) ใหแกผูที่กําลังเดินทาง โดยจัดเปนระบบแสดงสภาพการจราจรในเสนทางสายหลักใน<br />

กรุงเทพฯ เพื่อใชเปนขอมูลในการเลือกเสนทางแกผูขับขี่บนทองถนน<br />

ระบบ ITS ที่ GM-SAIC นํามาแสดงในงานนั้น เปนระบบที่พัฒนาขึ้นสําหรับการบริหาร<br />

จัดการระบบการจราจรและการขนสง โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบนี้<br />

เกี่ยวของกับ ถนน คน และยานยนต โดยเปนระบบการจัดการจราจร ระบบการใหขอมูลและ<br />

ขาวสาร และระบบควบคุมยวดยานและความปลอดภัย ที่มีการนําระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเขามา<br />

ชวยในงานของระบบขนสงอัจฉริยะเพื่อเปนขอมูลในขณะขับขี่ยานยนต เชน มีการเตือนภัยเมื่อมีสิ่ง<br />

กีดขวางการจราจรตางๆ นอกจากนี้ยานยนตที่นํามาแสดงนั้นเนนขนาดเล็ก กะทัดรัด เพื่อการ<br />

ประหยัดพลังงาน มีเสียงรบกวนที่เกิดจากการทํางานของเครื่องยนตนอยมาก ตลอดจนการใช<br />

เทคโนโลยีการขับขี่อัตโนมัติที่แมวาผูขับขี่อาจมีความพิการทางรางกายก็สามารถขับขี่ยานยนตโดย<br />

ไมเกิดอุบัติเหตุได การนําเสนอมุมมองดานความกาวหนาทางเทคโนโลยีของ GM-SAIC แสดงให<br />

เห็นถึงการเชื่อมโยงระบบตางๆ ที่มีความสําคัญในการดํารงชีวิตประจําวันในอนาคตเขามาสูระบบ<br />

เดียวกัน เพื่อสามารถบริหารระบบการคมนาคมขนสงใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเนน<br />

ที่การใหขอมูลแกผูเดินทาง เชน ปริมาณการจราจร การแนะนําเสนทาง การอํานวยความสะดวก<br />

สําหรับผูโดยสารระบบขนสงสาธารณะดวยการใชตั๋ว อิเล็กทรอนิกสหรือตั๋วรวม การจัดเก็บคาผาน<br />

ทางแบบอัตโนมัติ เปนตน เพื่อผูเดินทางสามารถนําขอมูลที่ไดรับไปวางแผนการเดินทางหรือ<br />

ตัดสินใจเลือกเสนทางไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

ภาพที่ 1 แสดงรถยนตในอนาคต ตามแนวคิดของ GM<br />

ภาคผนวก - 27


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาพที่ 2 แสดงระบบขนสงอัจฉริยะในอนาคตของ GM-SAIC Pavilion<br />

2. สภาพตลาด สังคม และวัฒนธรรมของชาวจีน<br />

การสํารวจพฤติกรรมการบริโภครถยนตของชาวจีน พบวา มีความแตกตางและหลากหลาย<br />

ตามขอจํากัดของผูบริโภคแตละราย สังเกตจากยี่หอรถยนตที่ชาวจีนใชนั้น มีทั้งแบรนดระดับโลก<br />

ที่ราคาหลายลานบาท ตลอดจนแบรนดรถยนตทองถิ่นของจีนที่มีราคาเพียง 2-3 แสนบาท และใน<br />

การใชรถยนตของชาวจีนนั้น แมในชวงเวลาที่สํารวจดูงานนั้น อยูในฤดูรอน ที่มีอุณหภูมิสูงถึง 40<br />

องศาเซลเซียส ชาวจีนที่ใชรถยนตสวนใหญ ไมนิยมเปดเครื่องปรับอากาศในรถยนต และไมนิยม<br />

ติดฟลมกรองแสง<br />

ภาคผนวก - 28


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

นอกจากนี้ ปจจุบัน รัฐบาลกลางของจีนไดมีการบริหารดานพื้นที่ ผังเมือง ดานความ<br />

ปลอดภัย การใชทรัพยากรในของเมืองเซี่ยงไฮ ในฐานะที่เปนเมืองเศรษฐกิจที่สําคัญอยางเขมงวด<br />

สังเกตไดจาก การกําหนดใหมีการตั้งปมน้ํามันใหอยูนอกเมือง ทําใหผูขับขี่รถยนตตองมีการ<br />

วางแผนดานเสนทาง และการใชรถยนตอยางระมัดระวัง รวมทั้งการเสียภาษีในการเลี้ยงสุนัขของ<br />

ชาวเซี่ยงไฮ โดยผูที่ตองการเลี้ยงสุนัขจะตองเสียภาษีถึง 10,000 หยวน หรือ ประมาณ 50,000 บาท<br />

ตอตัวตอป<br />

ในดานพฤติกรรม สวนใหญชาวจีนยังไมสามารถพูดภาษาอังกฤษได ตลอดจนพฤติกรรม<br />

ดานการแยงชิงการใชสาธารณูปโภคพื้นฐานของชาวจีน ยังคงมีอยางเห็นไดชัด เชน การแซงคิว การ<br />

แยงกันขึ้นรถโดยสาร นอกจากนี้ พฤติกรรมการขับขี่รถยนตบนทองถนนของชาวจีน ยังไมคอย<br />

รักษากฎระเบียบจราจรเทาที่ควร เนื่องจาก บนทองถนนชาวจีนมีการทั้งการเดินเทา การขับขี่<br />

รถจักรยาน รถจักรยานยนต และรถยนตประเภทตางๆ ทําใหเปนยากตอการรักษากฎระเบียบ<br />

แมวาปจจุบัน เมืองเซี่ยงไฮจะมีความเจริญ และถือเปนเมืองที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจและ<br />

เทคโนโลยีสูงของจีน แตชาวเซี่ยงไฮยังมีพฤติกรรมการดํารงชีวิตประจําวัน โดยรักษาวัฒนธรรม<br />

และความเชื่อแบบเดิมของจีน เห็นไดจาก พฤติกรรมการนอนหลังอาหารกลางวันของชาวจีน ที่มี<br />

ความเชื่อวา การนอนตอนกลางวันจะมีสวนชวยเสริมความจํา และฟนฟูสมรรถนะของรางกาย ซึ่ง<br />

ยอมเปนผลดีตอสุขภาพและเสริมพลังสําหรับการทํางานในชวงบายตอไป<br />

ดานความเชื่อเกี่ยวศาสตรดานฮวงจุยของจีนที่มีชื่อเสียงในระดับโลก ยังคงปรากฏใหเห็น<br />

ไดตามสถานที่ตางๆ เชน การวางสัตวนําโชควางไวหนาราน เพื่อความเปนสิริมงคลในการดําเนิน<br />

ธุรกิจ รวมถึงศาสตรดานตัวเลขที่ ชาวจีนมีความเชื่อวา เลข 8 คือ เลขนําโชค จะเห็นไดจากการตั้ง<br />

ราคาสินคาอุปโภคบริโภคของชาวจีน ที่มักจะลงทายดวยเลข 8<br />

ดานความเปนชาตินิยมของชาวจีนนั้น คอนขางอยูในระดับสูง โดยสังเกตจากจํานวนคนที่<br />

เขาแถวรอเขาชม งาน World Expo ในแตละวันมีเปนจํานวนมาก และมักจะมากันเปนครอบครัว<br />

จากตางเมือง นอกจากนี้ ศาลาของประเทศจีน ยังมีจํานวนผูเขาชมที่ตองรอคิวเปนจํานวนมาก ทําให<br />

ใชระยะเวลานานสูงถึง 5 ชั่วโมง<br />

ภาคผนวก - 29


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

6.2 การสํารวจขอมูลที่งานนิทรรศการ Shanghai International <strong>Automotive</strong><br />

Manufacturing Technology & Material Show 2010<br />

งานนิทรรศการ Shanghai International <strong>Automotive</strong> Manufacturing Technology &<br />

Material Show ประจําป ค.ศ. 2010 จัดขึ้นที่ Shanghai New International Expo Center ฝงผูตงใหม<br />

(Pu Dong New) เมืองเซี่ยงไฮ ประเทศจีน เปนการออกรานของผูประกอบการเพื่อแสดงสินคาที่<br />

เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต เพื่อจับคูทางธุรกิจ โดยแบงเปน 5 ประเภท คือ<br />

(1) Automobile Design and Development<br />

(2) Automobile Material<br />

(3) Manufacture Technology and Equipment of Automobile Parts and Components<br />

(4) Bodywork Manufacture Process and Equipment<br />

(5) Assembly and Quality<br />

ผูประกอบการที่เขารวมงานในครั้งนี้ เปนผูผลิตชิ้นสวนยานยนตระดับนานาชาติซึ่งเปนที่รูจัก<br />

โดยทั่วไป อาทิ ABB, Schneider, Lincoln, Yamada, Germany SICK, Fali Lai เปนตน และ<br />

ผูประกอบการในประเทศจีน<br />

ภาพที่ 3 แสดงตัวอยางผูประกอบการที่เขารวมงานนิทรรศการ<br />

จากการเก็บขอมูลในงานนิทรรศการดังกลาว พบวา มีการแสดงเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับ<br />

การขนสงหนึ่งซึ่งนาสนใจ เปนเทคโนโลยีที่คิดคนโดยมหาวิทยาลัยจากประเทศญี่ปุน เพื่อชวยใหผู<br />

ขับขี่รถบรรทุกสามารถควบคุมการทรงตัวของรถไมใหพลิกคว่ําได<br />

ในอดีตการขนสงสินคาจํานวนมากโดยรถบรรทุก มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากผูขับขี่<br />

ไมสามารถควบคุมการทรงตัวของรถ โดยเฉพาะเมื่อรถตองเลี้ยวโคงได แสดงดังภาพที่ 4<br />

ภาคผนวก - 30


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาพที่ 4 แสดงการทรงตัวของรถบรรทุกที่บรรทุกสิ่งของจํานวนมากเมื่อตองเลี้ยวโคง<br />

(1/6) (2/6) (3/6)<br />

(4/6) (5/6) (6/6)<br />

ผูวิจัยจากประเทศญี่ปุนจึงคิดคนเทคโนโลยีเพื่อชวยผูขับขี่แกปญหาดังกลาวได โดยการ<br />

ติดตั้งเครื่องมือและจอมอนิเตอร เพื่อแสดงผลการจัดวางสิ่งของบริเวณสวนบรรทุกวาสมดุลแลว<br />

หรือไม เพื่อใหผูขับขี่ทราบและสามารถแกไขกอนการขับขี่จริง ปองกันปญหารถพลิกคว่ําได<br />

(แสดงดังภาพที่ 5) นอกจากนี้เทคโนโลยีดังกลาว ยังสามารถนําไปใชกับการขนสงทางเรือ เพื่อ<br />

ปองกันปญหาความไมสมดุลของการจัดวางสิ่งของ ปองกันไมใหเกิดปญหาเรือลมไดอีกดวย<br />

ภาคผนวก - 31


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

ภาพที่ 5 แสดงการติดตั้งเครื่องมือ เพื่อปองกันปญหาการทรงตัวขณะขับขี่ของรถบรรทุก<br />

ภาคผนวก - 32


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

6.3 สํารวจขอมูลและเยี่ยมชมโรงงาน ณ บริษัท Shanghai General Motor<br />

การถือกําเนิดของ GM ในเซี่ยงไฮ<br />

กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1997 โดยเปนการรวมทุนระหวาง General Motors:<br />

GM และ Shanghai Automobile Industry Cooperation: SAIC ดวยสัดสวนการถือหุน 49:51<br />

วิสัยทัศน<br />

เปาหมายคือ การเปนบริษัทรถยนตชั้นนําทั้งในและตางประเทศ ดวยหลักการบริหาร<br />

จัดการแบบ Lean จากการอบรมและทีมงานที่มีการเรียนรู พัฒนานวัตกรรมและการทํางานเปนทีม<br />

อยางตอเนื่อง เพื่อการบริหารและผลิตสินคาที่มีคุณภาพสูงสนองตอบความพึงพอใจของลูกคาดวย<br />

ประสบการณระดับโลก<br />

หลักการในการดําเนินธุรกิจ<br />

SAIC-GM (SGM) ถือหลักการในการดําเนินธุรกิจ คือ Chinese Industry’s “Firsts” ซึ่ง<br />

ประกอบดวยความหมายในหลักการดังกลาว ดังนี้<br />

First รวมทุนกับผูประกอบรถยนตเพื่อกําไรสูงสุดภายในปแรกของการดําเนินกิจการ<br />

First รวมทุนกับผูประกอบรถยนตเพื่อเปาหมายการใชชิ้นสวนในประเทศรอยละ 40<br />

First เปาหมายการผลิตและจําหนายมากกวา 100,000 คันตอปภายใน 4 ปแรกของการเริ่ม<br />

กิจการ<br />

First เปนผูประกอบรถยนตที่มีการเปดตัวรถรุนใหม 3 โมเดล ภายใน 2 ป<br />

First สามารถใชกําลังการผลิตเต็มที่ดวย 3 กะ<br />

First เปนผูประกอบรถยนตที่สามารถผลิตเกียรออโต<br />

First เปนผูประกอบรถยนตที่สามารถผลิตเพื่อสงออกเครื่องยนตขนาดใหญจํานวนมากสู<br />

ประเทศพัฒนาแลว<br />

ฐานการผลิตของกลุม SGM ในประเทศจีน<br />

ปจจุบันมีฐานการผลิตอยู 3 แหง ไดแก<br />

1. Shenyang ผลิต Chevrolet และ Buick<br />

2. Yantai ผลิต Chevrolet<br />

3. Shanghai ผลิต Chevrolet Cadillac และ Buick<br />

ภาคผนวก - 33


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

สําหรับโรงงานที่ GM มีการรวมทุนในจีนมีอยูหลายแหง โดยแตละแหงมีการรวมทุนและ<br />

การผลิตทั้งรถยนตและชิ้นสวนยานยนตปอนใหกับ SGM เปนหลัก ดังนี้<br />

1. โรงงานผลิตของ GM ที่ตั้งอยูทางเหนือ<br />

โรงงานแหงแรกของ GM และ SAIC ดวยสัดสวนการถือหุน 50:50 ตั้งอยูทางเหนือ ซึ่งมี<br />

การผลิตทางการปมขึ้นรูปตัวถัง พนสี ตลอดจนการผลิตเครื่องยนต มีพื้นที่ 550,000 ตารางเมตร<br />

ปจจุบันทําการผลิตรถยนต Buick รุน Excelle (J200 MCE) Excelle XT (D06) Excelle GT (D16)<br />

และ Park Avenue (SGM711) โดยมีกําลังการผลิต 225,000 คันตอป เครื่องยนตรุน L860 และ V6<br />

จํานวน 650,000 เครื่องตอป และเกียรรุน 4T65E จํานวน 100,000 ชิ้นตอป<br />

2. โรงงานผลิตของ GM ที่ตั้งอยูทางใต<br />

สถานที่ตั้งอยูถัดไปจากโรงงานที่ตั้งอยูทางเหนือไมไกล มีการผลิตตัวถัง พนสี ดวยพื้นที่<br />

246,000 ตารางเมต ไมมีกระบวนการผลิตปมและการผลิตเครื่องยนต เริ่มการผลิตเมื่อมิถุนายน<br />

2548 ดวยกําลังการผลิต 225,000 คันตอป ปจจุบันผลิตรถ Buick รุน Excelle (J200 MCE) New<br />

Regal (Epsilon SWB/E10) New LaCrosse (Epsilon LWB/E11) และ Cadillac SLS (SGM985)<br />

3. โรงงาน SGM Dongyue ที่ตั้งอยูที่ผูตง<br />

ตั้งขึ้นเมื่อเดือนกุมภาพันธ 2546 จากการปรับปรุงโครงสรางการผลิตของ Yantai Body<br />

Company จากการรวมทุนของ SGM SAIC และ GM (China) ดวยสัดสวน 50 : 25 : 25 โดยมี<br />

กระบวนการผลิตทั้งระบบปมขึ้นรูปตัวถัง พนสี ปจจุบันผลิตรถ Chevrolet Aveo NB (T250) Aveo<br />

HB (T255) New Sail (SGM308) New Epica (V268) ดวยกําลังการผลิตตอป 338,000 คันตอป<br />

4. โรงงานผลิตเครื่องยนตของ SGM<br />

โรงงานผลิตเครื่องยนตของ SGM คือ Shandong Daewoo <strong>Automotive</strong> Engine Co., Ltd.<br />

กอตั้งเมื่อ มีนาคม 2547 โดยการถือหุนของ SGM GMChina และ SAIC ดวยสัดสวน 50:25:25 ซึ่ง<br />

ทําการผลิตเครื่องยนตสงใหกับ GM และ SAIC ในรุน GenI/Gen II/Gen III และ GF6 กําลังการผลิต<br />

ตอป 300,000 คันตอป<br />

5. โรงงานผลิตของ SGM ที่ตั้งอยูที่ Norsom<br />

เปนโรงงานรวมทุน ผลิต Chevrolet Blazer SUV กอนป 2547 ตอมามีการปรับโครงสราง<br />

การถือหุน โดยมีสัดสวนการถือหุนระหวาง sGM GM และ SAIC ดวยสัดสวน 50:25:25 มีการผลิต<br />

ตัวถังและพนสี และตอมาไดขยายโรงงาน Norsom เปนแหงที่สองเมื่อเดือนมิถุนายน 2551<br />

Norsom I ปจจุบันผลิตรถ Buick รุน Firstlander (SGM201) ดวยกําลังการผลิต 40,000 คัน<br />

ตอป<br />

Norsom II ปจจุบันผลิตรถ Chevrolet รุน Cruze (D11) ดวยกําลังการผลิต 150,000 คันตอป<br />

ภาคผนวก - 34


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

6. ศูนยการวิจัยและพัฒนาของ SGM<br />

SGM มีศูนยวิจัยและพัฒนา ชื่อวา Pan Asia Technical <strong>Automotive</strong> Center ซึ่งเปนสวน<br />

หนึ่งของ GM Global Engineering ถือหุนระหวาง SAIC และ GM ดวยสัดสวนผูถือหุน 50:50 ศูนย<br />

นี้จะทําหนาที่พัฒนารถรุนใหมของ SGM ออกสูตลาดในจีน ดวยหลักการการผลิตรถยนตและ<br />

เครื่องยนตที่มีคุณภาพสูงและตนทุนการผลิตต่ําสุด<br />

การผลิตของ SGM ยึดถือหลักการสําคัญ 5 ประการ ไดแก<br />

1. Continuous Improvement การปรับปรุงอยางตอเนื่อง<br />

2. Standardization ไดระดับมาตรฐาน<br />

3. Short Lead Time ระยะเวลาการผลิตจนถึงการสงมอบถึงมือลูกคาดวย<br />

ระยะเวลาสั้นที่สุด<br />

4. People Involvement ใสใจความตองการของผูใชรถ<br />

5. Built-in-Quality สินคามีคุณภาพ<br />

รถยนตรุนตาง ๆ ของ SGM ในปจจุบัน ไดแก<br />

Chevrolet ประกอบดวยรุน Captiva Lova New Epica Aveo Cruze และ New Sail<br />

Buick ประกอบดวยรุน Enclave Firstland New LaCROSSE Park Avenue New Regal<br />

Excelle Excelle GT และ Excelle XT<br />

Cadillac ประกอบดวยรุน Escalade New SRX SLS New CTS และ XLR<br />

ภาพที่ 6 แสดงรถยนตยี่หอตางๆที่ประกอบที่โรงงาน GM ที่เซี่ยงไฮ<br />

ยี่หอ Chevrolet ยี่หอ Buick ยี่หอ Cadillac<br />

ภาคผนวก - 35


ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน<br />

เปาหมายการสงออก<br />

SGM มีเปาหมายการผลิตเพื่อสงออกรถยนตและชิ้นสวนยานยนต ดังนี้<br />

รถยนต ไดแก GL10 MPV และ Regal ไปฟลิปปนส T200 ไปรัสเซีย (สงแบบ SKD)<br />

T250 ไปยูเครน และเวเนซูเอลา Sail ไป ชิลี SLS ไปตะวันออกกลางและเร็ว ๆ<br />

นี้ กําลังจะสงออก New Sail ไปชิลี ตะวันออกกลาง และ อาฟริกา<br />

ชิ้นสวนยานยนต ไดแก เครื่องยนต 3.4L LNJ ไป แคนาดา เครื่องยนต 2.4L L850 ไปเม็กซิโก<br />

เกียร GF6 ไป ตะวันออกกลาง และ ชิ้นสวนรถยนตรุน Sail ไปเยอรมนีและ<br />

อเมริกา<br />

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจในโรงงานผลิต<br />

ในชวงระหวางมิถุนายน ถึง กรกฎาคม ป ค.ศ. 2010 GM-SAIC มีปริมาณการจําหนาย<br />

รถยนตทั้งสิ้น 560,270 คัน เพิ่มขึ้น 62.2% เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป ค.ศ. 2009 หากแตยอด<br />

จําหนายลดลงในป ค.ศ. 2008 เนื่องจากอยูในชวงของการเปดตัวรถรุนใหมหลายรุนดวยกัน ซึ่งป<br />

ค.ศ. 2010 นี้ คาดวาปริมาณการจําหนายรวมของ GM-SAIC จะสามารถจําหนายไดถึง 6.7 ลานคัน<br />

จากปริมาณการจําหนายรวมของทุกยี่หอในจีน 12 ลานคัน ตามที่คาดการณไว<br />

สําหรับตลาดสงออกรถยนตที่สําคัญของ GM-SAIC ไดแก ชิลี ตะวันออกกลาง อาฟริกา<br />

และตลาดสงออกชิ้นสวนยานยนตที่สําคัญไดแก แคนาดา และอารเจนตินา<br />

โรงงานที่ไดเขาไปทําการสํารวจดูงานของ GM-SAIC เปนการผลิตรถยนต Buick และ<br />

Cadillac โดยสามารถผลิตได 60 คัน : ชั่วโมง :วัน ใน 3 กะ หากลดเหลือ 2 กะ จะผลิตได 40 คัน ซึ่ง<br />

ภายในโรงงานจะมีการเนนถึงการรักษาคุณภาพผลิตภัณฑใหกับลูกคา ดวยคําขวัญที่ติดเตือน<br />

พนักงานในโรงงานวา “Customer in My heart, Quality in my hand”<br />

โรงงานดังกลาวมีพื้นที่ทั้งสิ้น 21,000 ตารางเมตร และในสายการผลิตประกอบดวยการใช<br />

Welding Robot จํานวนมาก และเครื่องจักรอุปกรณจับยึดที่มีความทันสมัย<br />

ในสวนสุดทายของสายการผลิต คือ กระบวนการตรวจสอบ ทดสอบ คุณภาพของสินคา<br />

ในดาน เสียงเบรก แตรรถยนต การขับเคลื่อน ตามมาตรฐานของสายการผลิตรถยนตที่จําเปนตองมี<br />

กอนจะนําสินคาสงมอบใหกับลูกคาตอไป<br />

ภาคผนวก - 36

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!