11.01.2015 Views

ฉบับสมบูรณ์ - สถาบันพระปกเกล้า

ฉบับสมบูรณ์ - สถาบันพระปกเกล้า

ฉบับสมบูรณ์ - สถาบันพระปกเกล้า

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

สถาบันพระปกเกลา : การศึกษาเพื่อเสริมสรางความซื่อตรงในสังคมไทย<br />

เสนอ : ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม<br />

2.4 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการขัดเกลาทางสังคม (Socialization)<br />

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒ (2542) ไดใหความหมายของ<br />

การขัดเกลาทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมกับจิตวิทยาซึ่งมีผลทําใหบุคคลมี<br />

บุคลิกภาพตามแนวทางที่สังคมตองการ เด็กที่เกิดมาจะตองไดรับการอบรมสั่งสอนใหมีความ<br />

เปนคนโดยแทจริง สามารถอยูรวมและมีความสัมพันธกับคนอื่นไดอยางราบรื่น<br />

สวน Popenoe (อางถึงในคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา,<br />

2551) กลาววา การขัดเกลาทางสังคม หมายถึง กระบวนการของคนในสังคมในการกระทํา<br />

ระหวางกันทางสังคม การไดรับรูปแบบของบุคลิกภาพ (Personality) และการเรียนรู<br />

(Learning) การดําเนินวิถีชีวิตในรูปแบบตางๆ จากสังคมและกลุม สอดคลองกับ Theodrson<br />

(อางถึงในคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 2551) การขัดเกลาทาง<br />

สังคม หมายถึง กระบวนการเรียนรูวัฒนธรรมและวัฒนธรรมยอยของคนในสังคมหรือกลุม<br />

สังคม รวมถึงพฤติกรรมและการกระทําที่จะตองแสดงตามสถานภาพและบทบาทที่เปลี่ยนไป<br />

ทั้งนี้ คลังปญญาไทย (2552) กลาววา การขัดเกลาทางสังคม คือ กระบวนการ<br />

ที่สังคมหรือกลุมสั่งสอนโดยตรงหรือโดยออมใหผูที่จะเปนสมาชิกของกลุมไดเรียนรูและ<br />

รับเอาระเบียบวิธีกฎเกณฑ ความประพฤติ และคานิยมตางๆ ที่กลุมไดกําหนดไวเปนระเบียบ<br />

ของความประพฤติและความสัมพันธของสมาชิกของสังคมนั้น ซึ่งสมาชิกของสังคมจะตอง<br />

ผานกระบวนการขัดเกลาทางสังคมตลอดชีวิต ทั้งโดยตรงและโดยออม (อางถึงใน<br />

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 2551)<br />

โดยสรุปแลว การขัดเกลาทางสังคม คือ การเรียนรูของสมาชิกในสังคมทั้งรูปแบบ<br />

ที่เปนทางการและไมเปนทางการ เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพตามความตองการของสังคม<br />

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา (2551) อธิบายวาแนวคิด<br />

เกี่ยวกับการขัดเกลาทางสังคม ที่สําคัญมี 3 แนวคิดดังนี้<br />

1) การขัดเกลาทางสังคมเปนการสืบทอดวัฒนธรรมระหวางคนรุนหนึ่งกับคน<br />

อีกรุนหนึ่ง (Socialization as enculturation)<br />

แนวคิดนี้มองวา บุคคลรับเอาวัฒนธรรมเขามาเปนสวนหนึ่งของบุคลิกเขา<br />

อยางตรงไปตรงมา โดยอัตโนมัติ เพราะเกิดขึ้นจากการรับรูซ้ําๆ ซากๆ เปนเวลานานจน<br />

ซึมซาบเขาไปโดยที่เกือบจะไมมีการแปรสภาพวัฒนธรรมนั้นๆ เลย<br />

นัยยะสําคัญของแนวคิดนี้ อธิบายไดใน 3 ลักษณะ คือ<br />

58

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!