12.10.2014 Views

คำอธิบายรายวิชาคณะพยาบาลศาสตร์

คำอธิบายรายวิชาคณะพยาบาลศาสตร์

คำอธิบายรายวิชาคณะพยาบาลศาสตร์

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ค ำอธิบำยรำยวิชำ<br />

คณะพยำบำลศำสตร์<br />

หมวดวิชำเฉพำะ<br />

1. กลุ่มพื้นฐำนวิชำชีพ<br />

1801 101 จิตวิทยำส ำหรับพยำบำล (Psychology for Nurses) 2(2–0–4)<br />

Pre.: ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

แนวคิด ทฤษฏีทางจิตวิทยา พัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์<br />

สังคมและจริยธรรมของบุคคลแต่ละวัย วุฒิภาวะ การรับรู้และการเรียนรู้ การคิด<br />

การจ า เชาวน์ปัญญา อารมณ์ บุคลิกภาพ ภาวะเครียดและการปรับตัว<br />

พฤติกรรม การปรับพฤติกรรม พฤติกรรมสังคมและจิตวิทยากลุ่ม<br />

1801 102 สถิติเบื้องต้นส ำหรับพยำบำล (Statistics for Nurses) 2(2–0–4)<br />

Pre. : ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

ความรู้พื้นฐานทางสถิติ ระเบียบวิธีทางสถิติ สถิติพรรณนา สถิติ<br />

อนุมาน การใช้ประโยชน์ข้อมูลทางสถิติและการประยุกต์ใช้เพื่อการวิจัยทางการ<br />

พยาบาล<br />

1801 203 โภชนำกำรและโภชนบ ำบัด 2(2–0–4)<br />

(Nutrition and Diet Therapy)<br />

Pre. : ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

แนวคิดด้านโภชนาการและโภชนบ าบัดต่อภาวะสุขภาพ ความ<br />

ต้องการพลังงานและสารอาหาร การประเมินภาวะโภชนาการ หลักโภชนบ าบัด<br />

แนวคิดร่วมสมัยในด้านโภชนาการ<br />

1801 204 วิทยำกำรระบำดส ำหรับพยำบำล 2(2–0–4)<br />

(Epidemiology for Nurses)<br />

Pre.: ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาการระบาด สาเหตุ และองค์ประกอบของ<br />

การเกิดโรค การวัดการเกิดโรค สถิติชีพ วิธีการศึกษาทางวิทยาการระบาด การ<br />

เฝ้าระวัง การสอบสวนทางวิทยาการระบาด การประยุกต์วิทยาการระบาดในการ<br />

พยาบาล<br />

1904 101 จุลชีววิทยำและปรสิตวิทยำส ำหรับพยำบำล 3(2–2-5)<br />

(Microbiology and Parasitology for Nurses)<br />

Pre. : ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

รูปร่าง โครงสร้าง วงจรชีวิต การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ เม<br />

แทบอลิสม วิทยาการระบาดของจุลินทรีย์ และปรสิตที่ส าคัญทางการแพทย์<br />

การท าลายเชื้อ และท าให้ปลอดเชื้อ การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการจุล<br />

ชีววิทยาและปรสิตวิทยา ระบบภูมิคุ้มกันและกลไกการตอบสนองของ<br />

ร่างกาย<br />

1904 102 กำยวิภำคศำสตร์ของมนุษย์ (Human Anatomy) 3(2–2–5)<br />

Pre. : ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

มหกายวิภาคศาสตร์ คัพภวิทยา จุลกายวิภาคศาสตร์ โครงสร้าง<br />

และหน้าที่ระดับเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะและระบบต่างๆ ของร่างกายมนุษย์<br />

1904 103 ชีวเคมีส ำหรับพยำบำล (Biochemistry for Nurses) 3(2-2 -5)<br />

Pre.: ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

องค์ประกอบเคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต คุณสมบัติทางกายภาพและ<br />

ชีวภาพของชีวโมเลกุล เมแทบอลิซึมพื้นฐานของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน<br />

กรดนิวคลิอิก วิตามิน ฮอร์โมน เอนไซม์และโคเอนไซม์ พลังงานของเซลล์<br />

ปฏิบัติการเทคนิคพื้นฐานทางชีวเคมี<br />

1904 201 สรีรวิทยำของมนุษย์ (Human Physiology) 3(2–2–5)<br />

Pre. : ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

หน้าที่การท างานของเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะและระบบต่างๆ<br />

ของร่างกายมนุษย์ การควบคุมการท างานและการประสานหน้าที่การท างาน<br />

ของระบบต่างๆ เพื่อรักษาร่างกายให้อยู่ในภาวะธ ารงดุลทั้งในภาวะปกติและ<br />

พยาธิสภาพในบางสภาวะ<br />

1904 202 พยำธิวิทยำของมนุษย์ (Human Pathology) 3(2–2–5)<br />

Pre. : 1904 102 กำยวิภำคศำสตร์ของมนุษย์<br />

1904 201 สรีรวิทยำของมนุษย์<br />

Co.: ไม่มี<br />

แนวคิด หลักการพื้นฐานการเกิดโรค พยาธิก าเนิด กระบวนการเกิด<br />

โรค อาการ อาการแสดงของโรค พยาธิวิทยาของระบบต่างๆ ในร่างกาย การน า<br />

ความรู้พยาธิวิทยามาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล<br />

1505 201 เภสัชวิทยำส ำหรับพยำบำล 3(3–0–6)<br />

(Pharmacology for Nurses)<br />

Pre.: 1904 201 สรีรวิทยำของมนุษย์<br />

1904 202 พยำธิวิทยำของมนุษย์<br />

Co.: ไม่มี<br />

หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร์และเภสัช<br />

พลศาสตร์ กลุ่มยา กลไกการออกฤทธิ์ สมุนไพร วัคซีน วิตามิน เกลือ<br />

แร่ รูปแบบยา และการบริหารยา<br />

1801 305 เศรษฐศำสตร์สุขภำพ (Health Economics) 2(2–0–4)<br />

Pre. : ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

แนวคิดและหลักการทางเศรษฐศาสตร์ในระบบบริการสุขภาพ การ<br />

วิเคราะห์ต้นทุนของการบริการสุขภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ<br />

จัดการทางการพยาบาล วิเคราะห์ผลกระทบจากประเด็นปัญหาทาง<br />

เศรษฐศาสตร์ต่อคุณภาพการบริการ<br />

2. กลุ่มวิชำชีพบังคับ<br />

1801 206 กำรส่งเสริมสุขภำพ (Health Promotion) 2(2-0-4)<br />

Pre. : ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

แนวคิด ทฤษฏีเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ กลยุทธ์ในการส่งเสริม<br />

สุขภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของบุคคลทุกช่วงวัย การเสริมสร้างพลังอ านาจใน<br />

การดูแลสุขภาพตนเองของบุคคล และครอบครัว การจัดโครงการสร้างเสริม<br />

สุขภาพ และป้องกันการเจ็บป่วยในชุมชน การประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพ<br />

และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยี นวัตกรรม บนพื้นฐานความ<br />

พอเพียงเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ<br />

1801 207 กฎหมำยและจริยธรรมในกำรประกอบวิชำชีพกำรพยำบำล<br />

(Law and Ethics in Nursing Profession) 2(2-0-4)<br />

Pre. : ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

หลักทั่วไปทางกฎหมาย และจริยธรรมกฎหมายวิชาชีพการ<br />

พยาบาลและการผดุงครรภ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพทาง<br />

สุขภาพ องค์กรวิชาชีพ หลักจริยธรรมและคุณธรรมส าหรับผู้ประกอบวิชาชีพการ<br />

พยาบาลและการผดุงครรภ์ หลักการตัดสินใจทางจริยธรรม ประเด็นจริยธรรม<br />

ทางการพยาบาล


1801 208 แนวคิดพื้นฐำนและทฤษฎีทำงกำรพยำบำล 3(3-0-6)<br />

(Basic Concepts and Nursing Theories)<br />

Pre. : ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

ประวัติและวิวัฒนาการของศาสตร์ทางการพยาบาล แนวคิด<br />

เกี่ยวกับภาวะสุขภาพ การเจ็บป่วย ปรัชญาและแนวคิดการดูแลแบบองค์รวม<br />

ทฤษฎีทางพยาบาลและการน าทฤษฎีทางการพยาบาลมาประยุกต์ใช้<br />

กระบวนการพยาบาล การบันทึกทางการพยาบาล บทบาทหน้าที่และขอบเขต<br />

ความรับผิดชอบของพยาบาลในการดูแลแบบองค์รวม ภูมิปัญญาไทยเพื่อการดูแล<br />

แบบองค์รวม การดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ศักยภาพเพื่อการดูแลแบบองค์<br />

รวม ศิลปะกับการดูแลองค์รวม การพยาบาลในความหลากหลายทางวัฒนธรรม<br />

1801 209 กำรพยำบำลพื้นฐำน (Fundamental Nursing) 4(3–2–7)<br />

Pre. : 1904 102 กำยวิภำคศำสตร์ของมนุษย์<br />

1904 201 สรีรวิทยำของมนุษย์<br />

Co.: ไม่มี<br />

หลักการ แนวคิด เทคนิคทางการพยาบาลขั้นพื้นฐานเพื่อการ<br />

ส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟูสภาพ เทคนิคการช่วย<br />

ฟื้นคืนชีพเบื้องต้นและการปฐมพยาบาล และการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย<br />

1801 210 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลพื้นฐำน 2(0-8-0)<br />

(Fundamental Nursing Practicum)<br />

Pre.: 1801 209 การพยาบาลพื้นฐาน<br />

Co.: ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติเทคนิคการพยาบาลขั้นพื้นฐานเพื่อการส่งเสริม<br />

สุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟูสภาพ โดยใช้กระบวนการ<br />

พยาบาล ทฤษฎีทางการพยาบาลและการพยาบาลองค์รวม<br />

1801 211 กำรประเมินภำวะสุขภำพ (Health Assessment) 2(1-2-3)<br />

Pre.: 1904 102 กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์<br />

1904 201 สรีรวิทยาของมนุษย์<br />

Co.: ไม่มี<br />

การประเมินภาวะสุขภาพ การซักประวัติ การตรวจร่างกาย<br />

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการประเมินสุขภาพองค์รวม<br />

1801 212 เทคโนโลยีสำรสนเทศทำงกำรพยำบำล 1(1-0-2)<br />

(Nursing Information Technology)<br />

Pre. : ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

แนวคิดเทคโนโลยีสารสนเทศ ฐานข้อมูลและการใช้ข้อมูล<br />

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการ<br />

สารสนเทศ การพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพยาบาล โปรแกรมสารสนเทศ<br />

ทางการพยาบาล<br />

1801 213 กำรพยำบำลครอบครัวและชุมชน 1 2(2-0-4)<br />

(Family and Community Nursing I)<br />

Pre. : 1801 209 กำรพยำบำลพื้นฐำน<br />

1801 210 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลพื้นฐำน<br />

Co. : ไม่มี<br />

แนวคิด ทฤษฏีเกี่ยวกับการสาธารณสุข การพยาบาลครอบครัวและ<br />

ชุมชน ระบบบริการสุขภาพของประเทศ กลวิธีและนวัตกรรมการพัฒนางาน<br />

สาธารณสุขในประเทศไทย การใช้กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลครอบครัว<br />

และกลุ่มเสี่ยงในชุมชน งานอนามัยโรงเรียน งานอนามัยสิ่งแวดล้อม งานอาชีวอ<br />

นามัย การใช้กลวิธีทางวิทยาการระบาดในการควบคุมโรคก่อนและหลังการเกิด<br />

สาธารณภัย ประยุกต์ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยี นวัตกรรม บน<br />

พื้นฐานความพอเพียงเพื่อการดูแลครอบครัวและชุมชน<br />

1801 214 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลครอบครัวและชุมชน 1 2(0-8-0)<br />

(Family and Community Nursing Practicum I)<br />

Pre.: 1801 213 การพยาบาลครอบครัวและชุมชน 1<br />

Co.: ไม่มี<br />

ฝึกทักษะการพยาบาลครอบครัวและชุมชนในการส่งเสริม<br />

สุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยในครอบครัวและกลุ่มเสี่ยง การจัดการโครงการ<br />

งานอนามัยโรงเรียน งานอนามัยสิ่งแวดล้อม งานอาชีวอนามัยและงานบรรเทาสา<br />

ธารณภัย ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยี นวัตกรรม บนพื้นฐานความ<br />

พอเพียงเพื่อการดูแลครอบครัวและชุมชน<br />

1801 215 สุขภำพจิตและกำรพยำบำลจิตเวช 1 2(2-0-4)<br />

(Mental Health and Psychiatric Nursing I)<br />

Pre.: ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

แนวคิด ทฤษฎีพื้นฐานทางการพยาบาลจิตเวช ปัจจัยที่มีผลกระทบ<br />

ต่อสุขภาพจิต บทบาทหน้าที่ของพยาบาลจิตเวช การส่งเสริม การป้องกัน ดูแล<br />

สุขภาพจิตของบุคคล ครอบครัว และชุมชน การสร้างสัมพันธภาพและแนวทางใน<br />

การช่วยเหลือ เพื่อการบ าบัดบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิต<br />

1801 216 กำรพยำบำลผู้ใหญ่ 1 (Adult Nursing I) 3(3-0-6)<br />

Pre. : 1801 209 กำรพยำบำลพื้นฐำน<br />

1801 210 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลพื้นฐำน<br />

Co. : ไม่มี<br />

แนวคิดการพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยเรื้อรังในระบบหัวใจและ<br />

ไหลเวียน ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบกระดูกและ<br />

กล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบประสาท ระบบหายใจ ระบบผิวหนัง เลือดและ<br />

ระบบภูมิคุ้มกัน โรคที่พบบ่อยในท้องถิ่น เพื่อตอบสนองความต้องการของร่างกาย<br />

จิตใจ อารมณ์ สังคมและจิตวิญญาณ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และ<br />

การฟื้นฟูสภาพในผู้ใหญ่<br />

1801 217 กำรพยำบำลผู้สูงอำยุ (Gerontological Nursing) 2(2-0-4)<br />

Pre.: ไม่มี Co.: ไม่มี<br />

ทฤษฎีสูงอายุ การประเมินภาวะสุขภาพ ปัญหาและความต้องการ<br />

ของผู้สูงอายุ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ และการดูแล<br />

รักษาพยาบาลผู้สูงอายุ บทบาทของครอบครัว และสังคม แนวคิดร่วมสมัยการ<br />

พยาบาลผู้สูงอายุ<br />

1801 318 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลผู้ใหญ่ 1 2(0-8-0)<br />

(Adult Nursing Practicum I)<br />

Pre. : 1801 217 กำรพยำบำลผู้ใหญ่ 1<br />

Co. : ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติการใช้กระบวนพยาบาลในการให้การพยาบาลผู้ใหญ่ที่<br />

เจ็บป่วยเรื้อรังในระบบไหลเวียน ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ<br />

ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบประสาท ระบบหายใจ โรคที่<br />

พบบ่อยในท้องถิ่น เพื่อตอบสนองทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จิต<br />

วิญญาณ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสภาพในผู้ใหญ่<br />

1801 319 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลผู้สูงอำยุ 1(0-4-0)<br />

Gerontological Nursing Practicum)<br />

Pre.: 1801 218 กำรพยำบำลผู้สูงอำยุ<br />

Co.: ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติการใช้กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ การ<br />

ป้องกันโรค และการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพ ฝึกการดูแล


เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุ และครอบครัว อย่างเป็นองค์รวม<br />

ค านึงถึงจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน<br />

1801 320 กำรพยำบำลผู้ใหญ่ 2 (Adult Nursing II) 3(3-0-6)<br />

Pre. : 1801 217 กำรพยำบำลผู้ใหญ่ 1<br />

1801 319 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลผู้ใหญ่ 1<br />

Co. : ไม่มี<br />

แนวคิดการพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยวิกฤตและเฉียบพลันที่มี<br />

ปัญหาสุขภาพในระบบหัวใจและไหลเวียน ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดิน<br />

ปัสสาวะ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบประสาท ระบบ<br />

หายใจ ผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับ ตา หู คอ จมูก โรคทางนรีเวช ผู้ป่วยวาระ<br />

สุดท้าย เพื่อตอบสนองความต้องการของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและจิต<br />

วิญญาณ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสภาพในผู้ใหญ่<br />

1801 321 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลผู้ใหญ่ 2 3(0-12-0)<br />

(Adult Nursing Practicum II)<br />

Pre.: 1801 217 กำรพยำบำลผู้ใหญ่ 1<br />

1801 319 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลผู้ใหญ่ 1<br />

1801 321 กำรพยำบำลผู้ใหญ่ 2<br />

Co.: ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติการใช้กระบวนพยาบาลในการให้การพยาบาลผู้ใหญ่ที่<br />

เจ็บป่วยวิกฤตและเฉียบพลันที่มีปัญหาสุขภาพในระบบหัวใจและไหลเวียน ระบบ<br />

ทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้<br />

ท่อ ระบบประสาท ระบบหายใจ ผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับ ตา หู คอ จมูก การ<br />

พยาบาล โรคทางนรีเวช ผู้ป่วยวาระสุดท้าย เพื่อตอบสนองความต้องการของ<br />

ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและจิตวิญญาณ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกัน<br />

โรค และการฟื้นฟูสภาพในผู้ใหญ่<br />

1801 322 กำรพยำบำลเด็กและวัยรุ่น 1 2(2-0-4)<br />

(Child and Adolescent Nursing I)<br />

Pre. : 1801 209 กำรพยำบำลพื้นฐำน<br />

1801 210 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลพื้นฐำน<br />

Co.: ไม่มี<br />

แนวคิด หลักการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น บทบาท หน้าที่ และความ<br />

รับผิดชอบของพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษาและฟื้นฟู<br />

สภาพ การประเมินและส่งเสริมการเจริญเติบโต พัฒนาการและภาวะโภชนาการ<br />

การส่งเสริมบทบาทของครอบครัวในการดูแลสุขภาพเด็ก ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ<br />

ของเด็ก การน ากระบวนการพยาบาลมาใช้ในการดูแลสุขภาพเด็กและวัยรุ่นทุก<br />

ระยะ ประเด็นทางจริยธรรมการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น<br />

1801 323 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลเด็กและวัยรุ่น 1 1(0-4-0)<br />

(Child and Adolescent Nursing Practicum I)<br />

Pre.: 1801 322 กำรพยำบำลเด็กและวัยรุ่น 1<br />

Co. : ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขภาพเด็กและ<br />

วัยรุ่นทุกระยะอย่างเป็นองค์รวม โดยค านึงถึงจริยธรรมและสิทธิเด็กและ<br />

มนุษยชน การประเมินและส่งเสริมการเจริญเติบโตพัฒนาการ และภาวะ<br />

โภชนาการการส่งเสริมบทบาทของครอบครัวในการดูแลสุขภาพเด็ก ปฏิบัติการ<br />

เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค การป้องกันอุบัติเหตุและสารพิษ<br />

1801 324 กำรพยำบำลเด็กและวัยรุ่น 2 2(2-0-4)<br />

(Child and Adolescent Nursing II)<br />

Pre.: 1801 322 กำรพยำบำลเด็กและวัยรุ่น 1<br />

1801 323 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลเด็กและวัยรุ่น 1<br />

Co. : ไม่มี<br />

แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นในภาวะเจ็บป่วย<br />

เฉียบพลัน วิกฤต เรื้อรังและระยะสุดท้ายของชีวิต เน้นการพยาบาลแบบองค์รวม<br />

โดยใช้กระบวนการพยาบาล การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแล<br />

เด็กและวัยรุ่นที่เจ็บป่วย<br />

1801 325 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลเด็กและวัยรุ่น 2 2(0-8-0)<br />

(Child and Adolescent Nursing Practicum II)<br />

Pre.: 1801 324 กำรพยำบำลเด็กและวัยรุ่น 2<br />

Co.: ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติการใช้กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วย<br />

เด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะการเจ็บป่วยเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรังและระยะสุดท้าย<br />

ของชีวิตโดยเน้นการพยาบาลแบบองค์รวม และค านึงถึงหลักจริยธรรมและสิทธิ<br />

เด็กและมนุษยชน ฝึกปฏิบัติการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแล<br />

เด็กและวัยรุ่นที่เจ็บป่วย<br />

1801 326 สุขภำพจิตและกำรพยำบำลจิตเวช 2 2(2-0-4)<br />

(Mental Health and Psychiatric Nursing II)<br />

Pre.: 1801 215 สุขภำพจิตและกำรพยำบำลจิตเวช 1<br />

Co.: ไม่มี<br />

การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมแก่<br />

บุคคลทุกช่วงวัยของชีวิตที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาทางจิต อารมณ์ พฤติกรรม<br />

ในระยะเฉียบพลัน วิกฤติ และเรื้อรัง การบ าบัดทางจิตในบุคคล กลุ่มคน<br />

ครอบครัวและชุมชน หลักจิตเวชชุมชน แหล่งทรัพยากรในชุมชนเพื่อการส่งเสริม<br />

สุขภาพจิต<br />

1801 327 ฝึกปฏิบัติสุขภำพจิตและกำรพยำบำลจิตเวช 3(0-12-0)<br />

(Mental Health and Psychiatric Nursing Practicum)<br />

Pre. : 1801 215 สุขภำพจิตและกำรพยำบำลจิตเวช 1<br />

: 1801 326 สุขภำพจิตและกำรพยำบำลจิตเวช 2<br />

Co. : ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแล<br />

สุขภาพแบบองค์รวมแก่บุคคลทุกช่วงวัยของชีวิตที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาทาง<br />

จิต อารมณ์ พฤติกรรม ในระยะเฉียบพลัน วิกฤติ และเรื้อรัง ฝึกทักษะการ<br />

สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย การบ าบัดทางจิตในบุคคล กลุ่มคน ครอบครัวและ<br />

ชุมชน ฝึกจิตเวชชุมชน<br />

1801 328 กำรวิจัยทำงกำรพยำบำล (Nursing Research) 3(2-2-5)<br />

Pre.: ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

แนวคิดการวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ ระเบียบวิธีวิจัย<br />

การน าเสนอผลงาน การเขียนโครงร่างและรายงานการวิจัย การน าผลการวิจัยไป<br />

ใช้ในการพยาบาล<br />

1801 329 กำรพยำบำลมำรดำ ทำรกและผดุงครรภ์ 1 2(2-0-4)<br />

(Maternal Newborn Nursing and Midwifery I)<br />

Pre. : ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

แนวคิดการพยาบาลมารดา ทารก การให้ค าปรึกษาก่อนสมรส การ<br />

วางแผนครอบครัว การดูแลก่อนตั้งครรภ์ การวินิจฉัยการตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์


ปกติ การตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ การประเมินทารกในครรภ์ และการ<br />

ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์<br />

1801 330 กำรพยำบำลมำรดำ ทำรกและผดุงครรภ์ 2 2(2-0-4)<br />

(Maternal Newborn Nursing and Midwifery II)<br />

Pre.: 1801 329 กำรพยำบำลมำรดำ ทำรกและผดุงครรภ์ 1<br />

Co.: ไม่มี<br />

กลไกการคลอด การพยาบาลในระยะคลอด ขณะคลอด และหลัง<br />

คลอด การพยาบาลเพื่อลดปวดในระยะคลอด การพยาบาลทารกแรกเกิด การ<br />

ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดา มารดาและทารก การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วย<br />

นมแม่ และการประยุกต์ใช้มิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลมารดา ทารกใน ระยะหลัง<br />

คลอด<br />

1801 331 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลมำรดำ ทำรกและผดุงครรภ์ 1 2(0-8-0)<br />

(Maternal Newborn Nursing and Midwifery Practicum I)<br />

Pre.: 1801 330 กำรพยำบำลมำรดำ ทำรกและผดุงครรภ์ 2<br />

Co.: ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติการใช้กระบวนการพยาบาลในการให้ค าปรึกษาก่อน<br />

สมรส การวางแผนครอบครัว การดูแลก่อนตั้งครรภ์ การวินิจฉัยการตั้งครรภ์ การ<br />

ตั้งครรภ์ปกติ การตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ การประเมินทารกในครรภ์ และการ<br />

ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์<br />

1801 432 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลมำรดำ ทำรกและผดุงครรภ์ 2 2(0-8-0)<br />

(Maternal Newborn Nursing and Midwifery Practicum II)<br />

Pre.: 1801 331 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลมำรดำ<br />

ทำรกและผดุงครรภ์ 1<br />

Co.: ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติการใช้กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลในระยะคลอด<br />

ขณะคลอด และหลังคลอด การพยาบาลเพื่อลดปวดในระยะคลอด การพยาบาล<br />

ทารกแรกเกิด การส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดา มารดาและทารก การ<br />

ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการประยุกต์ใช้มิปัญญาท้องถิ่นในการดูแล<br />

มารดา ทารกในระยะหลังคลอด<br />

1801 433 กำรพยำบำลมำรดำ ทำรกและผดุงครรภ์ 3 2(0-8-0)<br />

(Maternal Newborn Nursing and Midwifery III)<br />

Pre. : 1801 432 กำรพยำบำลมำรดำ ทำรกและผดุงครรภ์ 2<br />

Co.: ไม่มี<br />

การพยาบาลมารดาที่มีภาวะเสี่ยง หรือภาวะแทรกซ้อนในระยะ<br />

คลอด ระยะหลังคลอด การช่วยเหลือในการท าสูติศาสตร์หัตถการ และการ<br />

พยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน<br />

1801 434 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลมำรดำ ทำรกและผดุงครรภ์ 3 2(0-8-0)<br />

(Maternal Newborn Nursing and Midwifery Practicum III)<br />

Pre. : 1801 433 กำรพยำบำลมำรดำ ทำรกและผดุงครรภ์ 3<br />

Co.: ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลการพยาบาลมารดาที่<br />

มีภาวะเสี่ยง หรือภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด ระยะหลังคลอด การช่วยเหลือ<br />

ในการท าสูติศาสตร์หัตถการ และการพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน<br />

1801 435 กำรพยำบำลครอบครัวและชุมชน 2 3(3-0-6)<br />

(Family and Community Nursing II)<br />

Pre. : 1801 214 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลครอบครัวและชุมชน 1<br />

Co. : ไม่มี<br />

ปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น แผนพัฒนาสุขภาพ<br />

แห่งชาติ ทฤษฎีการพยาบาลครอบครัวและการประยุกต์ใช้ การให้บริการสุขภาพ<br />

ที่บ้านและบทบาทพยาบาลในงานเวชปฏิบัติครอบครัว กลวิธีการเสริมสร้างความ<br />

เข้มแข็งในชุมชน เทคนิคที่คัดสรรส าหรับการปฏิบัติงานในชุมชน การพัฒนา<br />

ชุมชน และ การมีส่วนร่วมของชุมชน การใช้กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน<br />

ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยี<br />

นวัตกรรม บนพื้นฐานความพอเพียงเพื่อการดูแลครอบครัวและชุมชน<br />

1801 436 ฝึกปฏิบัติกำรกำรพยำบำลครอบครัวและชุมชน 2 2(0-8-0)<br />

(Family and Community Nursing Practicum II)<br />

Pre.: 1801 435 กำรพยำบำลครอบครัวและชุมชน 2<br />

Co.: ไม่มี<br />

การฝึกปฏิบัติการให้บริการสุขภาพที่บ้าน การใช้กระบวนการ<br />

พยาบาลชุมชน ในการศึกษาสุขภาพชุมชน การใช้ประโยชน์เกี่ยวกับ<br />

ประชากรศาสตร์ วิทยาการระบาด และการควบคุมโรคในการศึกษาภาวะ<br />

สุขภาพชุมชนและการเจ็บป่วยในครอบครัวและชุมชน เทคนิคที่คัดสรรส าหรับ<br />

การปฏิบัติงาน การพัฒนาชุมชนและการมีส่วนร่วมของชุมชน ประยุกต์ใช้ภูมิ<br />

ปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยี นวัตกรรม บนพื้นฐานความพอเพียงเพื่อการดูแล<br />

ครอบครัวและชุมชน<br />

1801 437 กำรบริหำรกำรพยำบำล (Nursing Administration) 2(2-0-4)<br />

Pre.: ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

แนวคิด และทฤษฏีการบริหารทางการพยาบาล การบริหารองค์กร<br />

สุขภาพในทุกระดับยึดหลักจริยธรรมและมนุษยธรรมในการบริหาร มาตรฐานการ<br />

พยาบาล การประกันคุณภาพทางการพยาบาล การบริหารความเสี่ยง การบริหาร<br />

โครงการ การสร้างทีม การนิเทศทางการพยาบาล ภาวะผู้น า แนวคิดร่วมสมัยใน<br />

การบริหาร<br />

1801 438 ฝึกปฏิบัติกำรบริหำรกำรพยำบำล 1(0-4-0)<br />

(Nursing Administration Practicum)<br />

Pre.: 1801 437 กำรบริหำรกำรพยำบำล<br />

Co.: ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติบทบาทหัวหน้าทีม หัวหน้าเวร หัวหน้าโครงการ ในสถาน<br />

บริการสุขภาพ โดยยึดหลักจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน<br />

1801 439 กำรรักษำโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care) 3(3-0-6)<br />

Pre. : ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของพยาบาล ในการรักษาพยาบาลเบื้องต้น การ<br />

ซักประวัติ การตรวจร่างกาย การคัดกรอง การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรค<br />

เบื้องต้น การส่งต่อ การพยาบาลสาธารณภัย ภายใต้บทบาทและความรับผิดชอบ<br />

ของพยาบาลตามขอบเขตของกฎหมายและกฎหมายวิชาชีพ<br />

1801 440 ฝึกปฏิบัติกำรรักษำโรคเบื้องต้น 2(0-8-0)<br />

(Primary Medical Care Practicum)<br />

Pre.: 1801 439 กำรรักษำโรคเบื้องต้น<br />

Co.: ไม่มี<br />

ฝึกปฏิบัติ การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การคัดกรอง การ<br />

วินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้น การส่งต่อ การพยาบาลสาธารณภัย


ภายใต้บทบาทและความรับผิดชอบของพยาบาลตามขอบเขตของกฎหมายและ<br />

กฎหมายวิชาชีพ<br />

1801 441 ประเด็นและแนวโน้มพัฒนำกำรของวิชำชีพพยำบำล 2(2-0-4)<br />

(Issues and Trends Development of Nursing<br />

Profession)<br />

Pre. : ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

ระบบการพยาบาล ปัจจัยที่มีผลต่อวิชาชีพการพยาบาล ระบบ<br />

การศึกษาทางการพยาบาล การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการพยาบาล การจัดการ<br />

ความรู้ทางการพยาบาล ประเด็นร่วมสมัยและแนวโน้มของวิชาชีพพยาบาล<br />

1801 346 วิถีกำรท ำงำนสุขภำพในชุมชน 3(3-0-6)<br />

(Community Health Approach)<br />

Pre.: ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

แนวคิดการท างานในชุมชน กระบวนการ เทคนิคและเครื่องมือ<br />

ท างานสุขภาพในชุมชน ระบบสุขภาพในระดับท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริม<br />

สุขภาพต าบล ทุนทางสังคมกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น<br />

1801 442 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลวิชำชีพ 2(0-8-0)<br />

(Professional Nursing Practicum)<br />

Pre.: 1801 319 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลผู้สูงอำยุ<br />

1801 321 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลผู้ใหญ่ 2<br />

1801 325 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลเด็กและวัยรุ่น 2<br />

1801 327 ฝึกปฏิบัติสุขภำพจิตและกำรพยำบำลจิตเวช<br />

1801 434 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลมำรดำ<br />

ทำรกและผดุงครรภ์ 3<br />

1801 436 ฝึกปฏิบัติกำรพยำบำลครอบครัวและชุมชน 2<br />

1801 438 ฝึกปฏิบัติกำรบริหำรกำรพยำบำล<br />

1801 439 ฝึกปฏิบัติกำรรักษำโรคเบื้องต้น<br />

Co.: ไม่มี<br />

ฝึกประสบการณ์การพยาบาล ปฏิบัติบทบาทพยาบาลในขอบเขต<br />

การประกอบวิชาชีพการพยาบาล ภายใต้การดูแลของพยาบาลวิชาชีพในสถาน<br />

บริการสุขภาพ<br />

ค. หมวดวิชำเลือกเสรี<br />

1801 143 ศำสตร์และศิลป์เพื่อกำรดูแลสุขภำพ 3(3-0-6)<br />

(Science and Art for Health Care)<br />

Pre.: ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

แนวคิดการดูแลสุขภาพองค์รวม ศักยภาพการดูแลสุขภาพ การ<br />

ป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพท้องถิ่น โรคเรื้อรังที่พบบ่อย การเป็นวัยรุ่นที่มี<br />

สุขภาพดี การเตรียมตัวเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดี การเตรียมตัวเป็นผู้สูงอายุที่มี<br />

สุขภาพดี การเตรียมตัวเพื่อครอบครัวสุขภาพดี จิตอาสาเพื่อชุมชนสุขภาพดี<br />

ศิลปะกับสุขภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี ทักษะพื้นฐานเพื่อ<br />

สุขภาพองค์รวม<br />

1801 244 กำรดูแลข้ำมวัฒนธรรม (Transcultural Care) 3(3-0-6)<br />

Pre.: ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

หลักการและแนวคิด การดูแลทางวัฒนธรรม ความไวทาง<br />

วัฒนธรรม การพัฒนาศักยภาพ บุคคลให้มีความไวทางวัฒนธรรม การประเมิน<br />

ทางวัฒนธรรม การส่งเสริมวิถีชีวิตที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม การประยุกต์ใช้<br />

แนวคิดการดูแลข้ามวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาวะบุคคล ชุมชน<br />

1801 245 กำรดูแลระยะสุดท้ำยของชีวิต (End of Life Care) 3(3-0-6)<br />

Pre.: ไม่มี<br />

Co.: ไม่มี<br />

หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการตามธรรมชาติในระยะ<br />

สุดท้ายของชีวิต การประเมินความต้องการของบุคคลและครอบครัว ทักษะการ<br />

ฟัง การให้ค าปรึกษาครอบครัว วัฒนธรรมเกี่ยวกับความตาย การให้การดูแลแบบ<br />

องค์รวม เพื่อการตายอย่างสมศักดิ์ศรี

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!